ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีสนามไชย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการแหล่งอ้างอิง}}
{{BMCL infobox
|thaname=สนามไชย
เส้น 33 ⟶ 32:
== การออกแบบ ==
[[File:MRT Sanamchai inside.jpg|thumb|ภายในสถานี]]
[[File:MRT Sanamchai platform Thonburi side.jpg|thumb|ชานชลาชานชาลาไปฝั่งธนบุรี (สถานีหลักสอง)]]
 
ที่ตั้งของสถานีสนามไชยเป็นสถานีแห่งเดียวในโครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีตัวสถานีอยู่ใจกลางพื้นที่ชั้นในของ[[เกาะกรุงรัตนโกสินทร์]] ภายในขอบเขตระหว่าง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[คลองคูเมืองเดิม]] (นอกเหนือจาก[[สถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)|สถานีสนามหลวง]] ของส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้ามหานคร]] ซึ่งมีทางเข้า-ออกสถานีที่เชื่อมต่อกับท้องสนามหลวงอยู่ในขอบเขตพื้นที่ดังกล่าว) จึงทำให้การวางแผนก่อสร้างเส้นทางและตัวสถานีสนามไชยเป็นที่จับตามองจากคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากหลายฝ่ายกังวลว่าโครงสร้างระบบรถไฟฟ้าจะส่งผลกระทบต่อชั้นน้ำใต้ดินและความมั่นคงของโครงสร้างโบราณสถานที่สำคัญใกล้เคียง โดยเฉพาะวัดพระเชตุพนฯ และ[[พระบรมมหาราชวัง]] นอกจากนี้เพื่อรักษาทัศนียภาพของเมืองและเพื่อลดผลกระทบในระหว่างการก่อสร้าง จึงจำเป็นต้องเลือกวิธีการก่อสร้างเส้นทางแบบไม่เปิดหน้าดิน
 
เส้น 41 ⟶ 42:
ระบบปรับอากาศ ไว้ด้านข้างแทนการวางด้านบน ทำให้สถานีนี้มีเพดานสูงกว่าสถานีอื่น<ref>[https://www.pf.co.th/blog/home-discovery/2018/04/27/didyouknow-sanamchai-station/ เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “สถานีสนามไชย” สถานีรถไฟใต้ดินที่สวยที่สุดในประเทศไทย]</ref>
 
== การขุดพบโบราณวัตถุ ==
ในช่วงการก่อสร้างสถานี ผู้รับเหมาก่อสร้างตามสัญญาที่ 2 (โครงสร้างใต้ดินช่วงสนามไชย - ท่าพระ) คือ [[ช.การช่าง|บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน)]] ได้มีการขุดเจอ[[วัตถุโบราณ]]ระหว่างการก่อสร้างกำแพงกันดิน (Retaining Wall) ในชั้นดินเป็นจำนวนมาก อาทิ ตุ๊กตาดินเผา ถ้วย ชาม กระเบื้องดินเผา สมัยพุทธศตวรรษที่ 24–25 ทั้งภาษาไทยและภาษาจีน ปืนโลหะ ความยาว 14.5 ซม. สลักวลีว่า MEMENTO MORI ซึ่งมีความหมายว่า Remember you will die นอกจากนั้นยังพบเหรียญโลหะสมัยรัชกาลที่ 4-5 เช่น เหรียญโลหะวงกลม มีตราจักร มูลค่า 1 สตางค์ เหรียญโลหะวงกลม พิมพ์อักษรสยามรัฐ มูลค่า 1 สตางค์ เหรียญโลหะ มีตรามหามงกุฎ อีกด้านพิมพ์ลายจักรภายในมีช้าง เป็นต้น ยังขุดพบ คลองราก หรือฐานรากโครงสร้างพระราชวังโบราณ ทำให้ทราบวิธีการก่อสร้างพระราชวังโบราณ<ref>[https://www.thairath.co.th/content/305390 ขุดรถไฟฟ้าพบประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุสมัยรัชกาลที่ 4–5] ไทยรัฐออนไลน์</ref> การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและผู้รับเหมาจึงได้ดำเนินการส่งมอบวัตถุโบราณให้[[กรมศิลปากร]] และ[[มิวเซียมสยาม]] นำไปเก็บรักษาและสืบหาที่มาของวัตถุ พร้อมทั้งปรับแบบของสถานีสนามไชยให้มีพื้นที่จัดแสดงวัตถุโบราณก่อนลงไปยังพื้นที่ของสถานี<ref>[http://www.baanlaesuan.com/49590/design/museumsiam-mrt-sanam-chai/ MRT สนามไชย “พิพิธภัณฑ์ใต้ดิน” แห่งแรกของไทย! - บ้านและสวน]</ref>
 
== แผนผังสถานี ==
เส้น 74 ⟶ 75:
== รายละเอียดสถานี ==
==== รูปแบบของสถานี ====
[[File:MRT Sanamchai platform Thonburi side.jpg|thumb|ชานชลาไปฝั่งธนบุรี (สถานีหลักสอง)]]
เป็นชานชาลาแบบเกาะกลาง (Station with Central Platform) โดยชั้นออกบัตรโดยสารตกแต่งโดยใช้สถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ตอนต้น ออกแบบโดย[[ภิญโญ สุวรรณคีรี|รองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี]]
 
==== ทางเข้า-ออกสถานี ====
[[File:Museum Siam building (View from MRT Sanamchai train station entrance).jpg|thumb|อาคาร[[มิวเซียมสยาม]]: มองจากทางเข้าสถานีรถไฟฟ้า MRT สนามไชย]]
[[File:MRT Sanamchai entrance 2.jpg|thumb|ทางเข้า 2]]
[[File:MRT Sanamchai entrance 3.jpg|thumb|ทางเข้า 3]]
[[File:MRT Sanamchai exit sign for entrance 4 and 5.jpg|thumb|ป้ายทางออกไปทางเข้า 4 และ 5]]
[[File:MRT Sanamchai roof pattern.jpg|thumb|ลายไทยบนหลังคาทางเข้าที่ 2]]
* '''1''' มิวเซียม สยาม (บริเวณพระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และวัดโพธิ์)
* '''2''' โรงเรียนวัดราชบพิธ
เส้น 88 ⟶ 83:
* '''4''' ปากคลองตลาด
* '''5''' ท่าเรือราชินี, [[โรงเรียนราชินี]]
 
<gallery mode="packed">
[[File:Museum Siam building (View from MRT Sanamchai train station entrance).jpg|thumb|อาคาร[[ทางออกที่ 1 มิวเซียมสยาม]]: มองจากทางเข้าสถานีรถไฟฟ้า MRT สนามไชย]]
File:MRT Sanamchai entrance 2.jpg|ทางออกที่ 2 บริเวณด้านหน้าโรงเรียนวัดราชบพิธ
[[File:MRT Sanamchai entranceroof 2pattern.jpg|thumb|ลายไทยบนหลังคาทางเข้าที่ 2]]
File:MRT Sanamchai entrance 3.jpg|ทางออกที่ 3 บริเวณสถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง
[[File:MRT Sanamchai exit sign for entrance 4 and 5.jpg|thumb|ป้ายทางออกไปทางเข้า 4 และ 5]]ภายในสถานี
</gallery>
 
==== การจัดพื้นที่ในตัวสถานี ====
[[File:MRT Sanamchai vending machines.jpg|thumb|เครื่องจำหน่ายตั๋ว]]
แบ่งเป็น 4 ชั้น ประกอบด้วย
* '''1''' ชั้นระหว่างระดับถนน กับ ชั้นออกบัตรโดยสาร