ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไมถิลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cyrus noto3at bulaga (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
}}
{{interWiki|code=mai}}
'''ภาษาไมถิลี''' จัดอยู่ในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน มีผู้พูดในรัฐ[[พิหาร]]ของ[[อินเดีย]] และเตรายตะวันตกใน[[เนปาล]] คำว่าไมถิลีมาจากมิถิลาซึ่งเป็นรัฐอิสระในสมัยโบราณ มีกลุ่มผู้พูดภาษาไมถิลีเป็นจำนวนมาก ภาษานี้อยู่ในกลุ่มอินเดียตะวันออก ที่มีพัฒนาการเป็นอิสระจาก[[ภาษาฮินดี]] เขียนด้วย[[อักษรไมถิลี]]ซึ่งคล้ายกับ[[อักษรเบงกาลีเบงกอล]]หรือเขียนด้วย[[อักษรเทวนาครี]] เคยเขียนด้วย[[อักษรตีราหุตี]] แต่เปลี่ยนมาใช้อักษรเทวนาครีในพุทธศตวรรษที่ 25-25–26 อักษรตีราหุตีเป็นต้นแบบของอักษรไมถิลี อักษรเบงกาลีเบงกอลและ[[อักษรโอริยา]]
== ประวัติ ==
คำว่าไมถิลีมาจากคำว่า[[มิถิลา]] อณาจักรโปราณที่ปกครองโดยกษัตริย์ชนกะหรือท้าวชนกในเรื่อง[[รามเกียรติ์]] ไมถิลีนี้เป็นอีกชื่อหนึ่งของนาง[[สีดา]] มเหสีของ[[พระราม]] และเป็นธิดาของท้าวชนก นักวิชาการในมิถิลาใช้[[ภาษาสันสกฤต]]เป็นภาษาในวรรณคดีและใช้ภาษาไมถิลีเป็นภาษาสำหรับวรรณกรรมพื้นบ้าน งานที่ใช้ภาษาไมถิลีชิ้นแรกๆ พบเมื่อราว พ.ศ. 1867
 
เมื่อการปกครองของ[[อาณาจักรปาละ]]เสื่อมลง ศาสนาพุทธได้สาบสูญไป ในขณะที่มีการสถาปนา[[ราชวงศ์กรณาฏกะ]]ในสมัยของหรสิมหเทวะ (พ.ศ. 1769 - 1769–1867) กวีชื่อชโยติริสวระ ฐากูร (พ.ศ. 1823 – 1883) ได้เขียนเรื่องวรรณรัตนากรโดยใช้ภาษาไมถิลีล้วนๆล้วน ๆ ใน พ.ศ. 1867 ฆยาซุดดิน ตุฆลัก จักรพรรดิแห่งเดลฮีรุกรานมิถิลาขับไล่กษัตริย์หรสิมหเทวะ ในช่วงนี้ ไม่มีการสร้างวรรณกรรมใดๆ จนกระทั่ง วิทยาปติ ฐากูร (พ.ศ. 1903 – 1903–1993) ได้เขียนบทกวีจำนวนมากด้วยภาษาไมถิลีเกี่ยวกับ[[พระกฤษณะ]] [[พระศิวะ]] และพระปรวตี ซึ่งได้แพร่หลายไปทั่ว หลังจากการรุกรานมิถิลาโดยสุลต่านโชห์ปุร เดลฮี และการหายสาบสูญของศิวสิมหะ ใน พ.ศ. 1972 วรรณคดีของภาษานี้เปลี่ยนไปปรากฏที่เนปาล
 
การกล่าวถึงภาษาไมถิลีครั้งแรกปรากฏในหนังสือของอมาดุซซี ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2314 ในหนังสือรายชื่อภาษาสันสกฤตและปรากฤตของ Colebrooke ตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2344 ได้อธิบายภาษาไมถิลีเป็นอีกสำเนียงหนึ่งต่างหาก การใช้ภาษาไมถิลีส่วนมากเกี่ยวข้องกับระบำ ละคร และดนตรี อุมาปาตี อุปัธยะเขียนบทละครเรื่องปาริชาตัลด้วยภาษาไมถิลี
ภาษาแม่ของ[[ราชวงศ์มัลละ]]คือภาษาไมถิลี ซึ่งแพร่กระจายไปทั่ว[[เนปาล]]ในพุทธศตวรรษที่ 21 – 21–22 ในช่วงนี้ มีละครอย่างน้อย 70 เรื่องที่เขียนด้วยภาษาไมถิลี ในละครเรื่องหริศจันทรันนิยัมที่เขียนโดยสิทธินรยัณเทวะ (พ.ศ. 2163 – 2163–2200) ตัวละครบางตัวพูดภาษาไมถิลี ในขณะที่ตัวละครอื่นๆอื่น ๆ พูด[[ภาษาเบงกาลีเบงกอล]] สันสกฤตหรือปรากฤต
 
องค์กรเกี่ยวกับภาษาไมถิลีแห่งแรกคือไมถิลี มหสภา จัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2453 เพื่อพัฒนาภาษาไมถิลี ไมถิลี มหสภาได้เรียกร้องให้มีการยอมรับภาษาไมถิลีเป็นภาษาประจำถิ่น [[มหาวิทยาลัยกัลกัตตา]]ยอมรับภาษาไมถิลีใน พ.ศ. 2460 และมีมหาวิทยาลัยอื่นยอมรับตามมา ใน พ.ศ. 2508 ภาษาไมถิลีได้รับการยอมรับจากสถาบันวิชาการสหิตยซึ่งเป็นสถาบันที่สนับสนุนวรรณคดีอินเดีย ใน พ.ศ. 2546 ภาษาไมถิลีได้รับการยอมรับจากสถาบันอินเดียให้เป็นภาษาหลักของอินเดีย ปัจจุบันเป็นหนึ่งในภาษาประจำชาติ 22 ภาษาของอินเดีย
บรรทัด 36:
{{โครงภาษา}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินเดีย|มไถิลีไมถิลี]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเนปาล|มไถิลีไมถิลี]]