ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถจักรไอน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GuJemoeder51 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8:
ต่อมา จอร์จ สตีเฟนสัน ได้นำรถจักรนี้ไปพัฒนาให้มีความเร็วมากยิ่งขึ้นในเดือน[[กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1814]] รถจักรของสตีเฟนสันมีตัวถึงเป็นไม้ มีล้อเหล็ก 4 ล้อ วิ่งได้ 4 ไมล์ต่อชั่วโมงสามารถลากรถถ่านหินได้ถึง 30 ตัน สตีเฟนสันตั้งชื่อรถของเขาว่า[[บลูเซอร์]] (Blueser) ระหว่างนั้นเอง[[เอ็ดเวิร์ด พิส]] (Edward Piss) ได้สร้างทางรถไฟจากเมือง[[สตอกตัน]] (Stockton) ไปยังเมือง[[ดาร์ลิงตัน]] (Darlington) สตีเฟนสันจึงได้นำรถจักรของเขาไปเสนอแก่พิสเพื่อหวังให้พิสเห็นดีกับรถของเขาและให้การสนับสนุน ซึ่งมันก็เป็นอย่างที่เขาคิด พิสสนับสนุนเขาในการสร้างหัวรถจักรด้วยเงินเดือนปีละ 300 ปอนด์และรถจักรไอน้ำก็เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นจนทำให้บรรดาเจ้าของ[[รถม้า]]ที่เสียผลประโยชน์ไม่พอใจ และทำการขัดขวางการทำงานของสตีเฟนสันอยู่บ่อยครั้ง จนกระทั่งรัฐบาล[[อังกฤษ]]เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาระบบการขนส่งด้วยรถจักร จึงประกาศใช้กฤษฎีกาใช้สร้างทางรถไฟขึ้นในปี [[ค.ศ. 1826]] ระหว่าง[[แมนเชสเตอร์]]และ[[ลิเวอร์พูล]] ซึ่งการสร้างทาง[[รถไฟ]]สายนี้มีความยากลำบากมากแต่ในที่สุดสตีเฟนสันก็สามารถสร้างทางรถไฟจากแมนเชสเตอร์ไปถึงลิเวอร์พูลได้สำเร็จ กิจการรถไฟจึงเป็นที่นิยมมากขึ้น และเริ่มแพร่ขยายตัวไปยังเมืองต่าง ๆ ในอังกฤษ ในขณะเดียวกันก็เริ่มแพร่กระจายไปยังประเทศต่าง ๆ รวมถึง[[ประเทศไทย]]ด้วย
 
==รถจักรไอน้ำที่เข้ามาใช้งานในระเทศประเทศไทย==
 
*[[ไฟล์:WheelArrangement 2-6-0.svg|thumb|แบบล้อของรถจักรไอน้ำโมุกลที่ใช้งานในประเทศไทย (ใช้งานบน[[ทางรถไฟสายมรณะ]])|alt=]][[ไฟล์:WheelArrangement 4-6-2.svg|thumb|แบบล้อของรถจักรไอน้ำแปซิฟิกที่ใช้งานในประเทศไทย]][[ไฟล์:WheelArrangement 2-8-2+2-8-2.svg|thumb|แบบล้อของรถจักรไอน้ำกาแร็ตที่ใช้ในประเทศไทย (ดับเบิลมิกาโด) (ใช้งานบน[[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ]])|alt=]]รถจักรไอน้ำดู๊บส์