ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 183:
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 รัฐบาลไทยได้เสนอคณะกรรมการมรดกโลก ในการประชุมครั้งที่ 40 ที่เมือง[[อิสตันบูล]] [[ประเทศตุรกี]] ให้พิจารณาการขึ้นทะเบียนกลุ่มป่าแก่งกระจานขึ้นเป็นแหล่งมรดกโลก สืบเนื่องจากที่[[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]] (ไอยูซีเอ็น) และคณะกรรมการมรดกโลกได้ให้การการยอมรับคุณค่าสากลที่โดดเด่น (outstanding universal value) ของผืนป่า อย่างไรก็ตามคณะกรรมการมรดกโลกตัดสินใจที่จะเลื่อนการขึ้นทะเบียนออกไป เนื่องด้วยวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นระหว่างการประชุมมรดกโลก และปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน[[ชาวกะเหรี่ยง]]ที่อาศัยอยู่ในผืนป่า รวมถึงข้อพิพาทเกี่ยวกับการปักปันเขตแดนกับประเทศพม่า
 
ทั้งนี้ [[สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี]] (ไอโคมอส) ได้แจ้งให้ทางการไทยทราบเกี่ยวกับการเสนออุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกของทางการไทย โดยมีข้อเสนอแนะให้ดำเนินการศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมของเสมาหินกับพุทธศาสนา เพื่อนำไปสู่ศักยภาพที่โดดเด่นของอุทยานฯ รวมทั้งหากเป็นไปได้ เสนอให้พิจารณาเกณฑ์และขอบเขตการขึ้นทะเบียนอุทยานฯ ที่ทางการไทยเสนอ<ref> ICOMOS (2016a), Evaluations of Nominations of Cultural and Mixed Properties to the World Heritage List (WHC-16/40.COM/INF.8B1), http://whc.unesco.org/document/141702 </ref><!-- เผื่อไว้
 
ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ ภ- ที่กรุงบากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน รัฐบาลไทยได้นำเสนอพพื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจานเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกอีกครั้ง แต่ผลปรากฎว่ามีเสียงแบ่งออก
<!-- เผื่อไว้
== สถานที่ที่เตรียมเสนอขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น ==
{|class="wikitable sortable"