ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาโปเอย์รา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox intangible heritage
[[ไฟล์:Rugendasroda.jpg|thumb|thumb|250px|ภาพวาด ''Capoeira or the Dance of War'' โดย Johann Moritz Rugendas, ตีพิมพ์ ค.ศ. 1835]]
| ICH = วงกาโปเอย์รา
 
| Image = [[ไฟล์:Capoeira no Parque Memorial Quilombo dos Palmares.jpg|270px]]
| Caption = วงกาโปเอย์ราใน[[รัฐอาลาโกอัส]] พ.ศ. 2543
| Region = ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน
| State Party = {{flagcountry|บราซิล}}
| Domains = ธรรมเนียมและการแสดงออกทางมุขปาฐะ, ศิลปะการแสดง, แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล, ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล, งานช่างฝีมือดั้งเดิม
| Criteria = R.1, R.2, R.3, R.4, R.5
| ID = 892
| Link = https://ich.unesco.org/en/RL/capoeira-circle-00892
| Year = 2014/2557
| Session = 9
| List = ตัวแทนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ
}}
'''กาโปเอย์รา''' ({{lang-pt|capoeira}}) เป็นศิลปะป้องกันตัวแขนงหนึ่ง มีต้นกำเนิดจาก[[ประเทศบราซิล]] เกิดจากการผสมผสานระหว่างการต่อสู้ การเต้น ดนตรี กายกรรม ปรัชญา กาโปเอย์ราเกิดโดยทาสชาวแอฟริกาในบราซิล เริ่มในช่วงประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15 ซึ่งมีข้อถกเถียงกันว่า กาโปเอย์รานั้นอาจเกิดขึ้นครั้งแรกในแอฟริกา
 
เส้น 13 ⟶ 25:
ในกลุ่มชุมชนเล็ก ๆ นี้ กาโปเอย์ราได้เริ่มก่อตัวและพัฒนาเพื่อใช้ในการต่อสู้และป้องกันตัวจากทหารชาว[[โปรตุเกส]] และเริ่มมีการสอนกาโปเอย์ราให้กับคนอื่น ๆ โดยที่จะฝึกหัดกันในวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันหยุดพักของทาส แต่เนื่องจากทาสนั้นไม่ได้รับอนุญาตให้ฝึกศิลปะป้องกันตัว การฝึกจึงถูกแต่งเติมไปด้วยการเต้นและร้องเพลงซึ่งเป็นวัฒนธรรมของชาวแอฟริกาอยู่แล้ว เพื่อที่จะใช้บังหน้าจากการฝึกกาโปเอย์รา
 
ต่อมาหลังจากมีการเลิก[[ทาส]] ในช่วง ค.ศ. 1888 ชาวแอฟริกาบางส่วนเดินทางกลับ แต่บางส่วนยังคงอาศัยอยู่ในบราซิล แต่เนื่องด้วยไม่มีงานทำมากนัก จึงทำให้หลายกลุ่มกลายเป็นอันธพาล พวกเขายังคงฝึกกาโปเอย์ราอยู่และกลายเป็นพวกต่อต้านรัฐบาลก่ออาชญากรรม เมื่อมีการนำกาโปเอย์ราไปใช้ในทางที่ผิด ทางรัฐบาลของบราซิลจึงมีคำสั่งให้กาโปเอย์รานั้นเป็นสิ่งผิดกฎหมาย (ช่วงปี ค.ศ. 1890) ผู้ฝ่าฝืนจะถูกจับ แต่ก็มีบางส่วนที่ขัดขืนก็จะถูกยิง โดยที่ตำรวจในสมัยนั้นก็ฝึกฝนกาโปเอย์ราด้วยเช่นกัน เพื่อที่จะใช้ต่อสู้กับผู้ฝ่าฝืนได้
 
จนกระทั่งถึงช่วงที่บราซิลทำสงครามกับ[[ปารากวัย]] รัฐบาลบราซิลได้จัดตั้งกลุ่มนักรบขึ้นมากลุ่มหนึ่งซึ่งเป็นนักสู้กาโปเอย์รา โดยเรียกว่า "กองทหารดำ" (Black Military) จะส่งไปรบกับปารากวัย โดยสามารถนำชัยชนะมาให้กับบราซิลได้ นั่นทำให้เหล่านักสู้กาโปเอย์ราได้รับการยกย่องอีกครั้ง
เส้น 60 ⟶ 72:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Capoeira_movementsCapoeira|กาโปเอย์รา}}
* [http://www.capoeira4all.com/ Capoeira4all.com]
* [http://www.capoeirista.com/ Capoeirista.com]
เส้น 72 ⟶ 84:
 
[[หมวดหมู่:ศิลปะการต่อสู้ของบราซิล]]
[[หมวดหมู่:มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ]]
{{โครงกีฬา}}