ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
wow
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8391045 สร้างโดย 203.172.101.130 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 6:
ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึง[[ลัทธิมากซ์]]-[[อนาธิปไตย]] ([[ลัทธิอนาธิปไตย-คอมมิวนิสต์]]​) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบ[[ทุนนิยม]] ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "[[ชนกรรมาชีพ|ชนชั้นแรงงาน]]" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "[[ชนชั้นกระฎุมพี|ชนชั้นนายทุน]]" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่ง[[การต่อสู้ระหว่างชนชั้น|ความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้น]]นี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับ[[ลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ]] (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "[[ความหวาดกลัวแดง]]" (Red Scare) หรือ [[ลัทธิแม็คคาร์ธี]] ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น
 
== ประวัติศาสตร์ history na kaaaa ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์ลัทธิคอมมิวนิสต์}}
 
บรรทัด 13:
[[ไฟล์:Marx et Engels à Shanghai.jpg|thumbnail|200px|อนุสาวรีย์ที่อุทิศแด่[[คาร์ล มากซ์]] (ซ้าย) และ[[ฟรีดริช เองเงิลส์]] (ขวา) ในนคร[[เซี่ยงไฮ้]] [[สาธารณรัฐประชาชนจีน|ประเทศจีน]]]]
 
ตามคำกล่าวของริชาร์ด ไปป์ แนวคิดเกี่ยวกับสังคมที่เท่าเทียมเสมอภาคและปราศจากชนชั้นถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกใน[[กรีซโบราณ]]<ref name="Pipes">[[วิกิพีเดียwikipedia:Richard Pipes|Richard Pipes]] ''Communism: A History'' (2001) ISBN 978-0-8129-6864-4, pp. 3–5.</ref> นอกจากนี้ยังมีขบวนการมัสดาก (Mazdak) ใน[[เปอร์เซีย]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ที่ถือว่า "มีลักษณะเป็นคอมมิวนิสต์" (communistic) เนื่องจากท้าทายต่ออภิสิทธิ์ที่มีอยู่อย่างมากมายของชนชั้นนำและนักบวช วิพากษ์วิจารณ์การถือครองทรัพย์สินส่วนบุคคล และมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมที่เสมอภาคขึ้นมา<ref>''The Cambridge History of Iran'' Volume 3, [https://web.archive.org/web/20080611075040/http://www.derafsh-kaviyani.com/english/mazdak.html The Seleucid, Parthian and Sasanian Period], edited by [[:en:Ehsan Yarshater|Ehsan Yarshater]], Parts 1 and 2, p. 1019, [[:en:Cambridge University Press|Cambridge University Press]] (1983)</ref><ref>{{Cite book|title=Communism: The Great Misunderstanding|last=Ermak|first=Gennady|publisher=|year=2016|isbn=1533082898|location=|pages=|via=}}</ref>
 
บางช่วงในประวัติศาสตร์ยังปรากฏว่ามีสังคมคอมมิวนิสต์ขนาดเล็กอยู่อย่างหลากหลาย ซึ่งโดยทั่วไปมีแรงบันดาลใจมากจาก[[คัมภีร์]]ทางศาสนา<ref name="Lansford_pp24–25">{{harvnb|Lansford|2007|pp=24–25}}</ref> เช่น [[คริสตจักร]]ใน[[สมัยกลาง]]ที่ปรากฏว่ามี[[ชีวิตอารามวาสี|อารามวาสี]]และกลุ่มก้อนทางศาสนาบางแห่งร่วมแบ่งปันที่ดินและทรัพย์สินในหมู่สมาชิกด้วยกันเอง (ดูเพิ่มที่ [[:en:Religious communism|ลัทธิคอมมิวนิสต์ทางศาสนา]] และ[[:en:Christian communism|ลัทธิคอมมิวนิสต์คริสเตียน]])