ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]] (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่ง'''[[แหล่งมรดกโลก]]'''ของประเทศไทยทั้งสิ้น 5 แหล่ง<ref name="UNESCO-Thailand">{{Cite web|title=World Heritage Properties in Thailand|url=http://whc.unesco.org/en/statesparties/th|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=1 July 2012}}</ref> ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ 2 แห่ง
 
== ที่ตั้ง ==
บรรทัด 28:
}}
 
== สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก ==
===แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม===
: ''*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก''
 
{|class="wikitable sortable"
บรรทัด 36:
! class="unsortable" scope="col" | ภาพ
! scope="col" | ที่ตั้ง
! scope="col" | [[แหล่งมรดกโลก#ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นมรดกโลก|ประเภท]]
! scope="col"| พื้นที่<br />([[เฮกตาร์]] ([[เอเคอร์]])
! scope="col"| ปีขึ้นทะเบียน <br> (พ.ศ. (/ค.ศ.)
! scope="col" class="unsortable" | หมายเหตุ
! scope="col" class="unsortable" | อ้างอิง
|-
! scope="row" | [[อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา| นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา]]
| [[ไฟล์:WatChaiwatthanaram 2295b.JPG|150x150px|alt=Ruins of stupas of various sizes.]]
| {{sort|Thailand|[[พระนครศรีอยุธยา]] <br/><small>{{coord|14|20|52|N|100|33|38|E|region:TH_type:landmark|name=Historic City of Ayutthaya}}</small>}}
| วัฒนธรรม :<br /> (iii)
| 289 (710)
| align = "center" | 2534 (/1991)
| [[กรุงศรีอยุธยา]]เป็นเมืองหลวงแห่งที่สองของ[[ชาวสยาม]]ต่อจากสุโขทัย ถูกทำลายโดยกองทัพพม่าในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซากปรักหักพังสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ อาทิ ปรางค์ และอารามขนาดใหญ่แสดงถึงความงดงามและความเจริญรุ่งเรืองในอดีต
|576<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/576|title=Historic City of Ayutthaya|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
! scope="row" | [[เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร]]
| {{center|[[ไฟล์:วัดมหาธาตุ 003.jpg|150x150px|alt=Large white seated Buddha statue.]]}}
| {{sort|Thailand|[[สุโขทัย]]และ[[กำแพงเพชร]] <br/><small>{{coord|17|0|26|N|99|47|23|E|region:TH_type:landmark|name=Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns}}</small>}}
| วัฒนธรรม :<br /> (i), (iii)
| 11,852 (29,290)
| align = "center" | 2534 (/1991)
| สุโขทัยเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของชาวสยามในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 สิ่งก่อสร้างจำนวนมากแสดงถึงจุดเริ่มต้นของ[[สถาปัตยกรรมไทย]] ประกอบด้วยอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชร
|574<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/574|title=Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
! scope="row" | [[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง]]
| {{center|[[ไฟล์:Museum für Indische Kunst Dahlem Berlin Mai 2006 056.jpg|150x150px|alt=Vase with red and white design.]]}}
| {{sort|Thailand|[[อุดรธานี]] <br/><small>{{coord|17|32|55|N|103|47|23|E|region:TH_type:landmark|name=Ban Chiang Archaeological Site}}</small>}}
| วัฒนธรรม :<br /> (iii)
| 64 (160)
| align = "center" | 2535 (/1992)
| เป็นที่ตั้งถิ่นฐาน[[ยุคก่อนประวัติศาสตร์]]ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงให้เห็นถึงก้าวสำคัญของวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมสังคมและเทคโนโลยีของมนุษย์ อาทิ การเกษตร การผลิต และการใช้โลหะ
|575<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/575|title=Ban Chiang Archaeological Site|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
|}
บรรทัด 78:
! scope="col" | ที่ตั้ง
! scope="col" | [[มรดกโลก#ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นมรดกโลก|ประเภท]]
! scope="col"| พื้นที่<br />([[เฮกตาร์]] ([[เอเคอร์]])
! scope="col"| ปีขึ้นทะเบียน <br> (พ.ศ. (/ค.ศ.)
! scope="col" class="unsortable" | หมายเหตุ
! scope="col" class="unsortable" | อ้างอิง
บรรทัด 86:
| {{center|[[ไฟล์:Thung Yai Ramit-River.JPG|150x150px|alt=A river flowing through a forested mountain landscape.]]}}
| {{sort|Thailand|[[กาญจนบุรี]] [[ตาก]] และ[[อุทัยธานี]] <br/><small>{{coord|15|20|N|98|55|E|region:TH_type:landmark|name=Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries}}</small>}}
| ธรรมชาติ :<br /> (vii), (ix), (x)
| 622,200 (1,537,000)
| align = "center" | 2534 (/1991)
| ประกอบด้วยผืนป่าเกือบทุกประเภทที่มีในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] เป็นบ้านของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ขนาดใหญ่ 77% (โดยเฉพาะช้างและเสือ) 50% ของนกขนาดใหญ่ และ 33% ของสัตว์มีกระดูกสันหลังบกที่พบในภูมิภาคนี้
|591<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/591|title=Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
! scope="row" | [[ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่]]
| {{center|[[ไฟล์:Haeo Suwat waterfall.JPG|150x150px|alt=Medium sized waterfall in a tropical forest.]]}}
| {{sort|Thailand|[[สระบุรี]] [[นครราชสีมา]] [[นครนายก]] [[ปราจีนบุรี]] [[สระแก้ว]] และ[[บุรีรัมย์]] <br/><small>{{coord|14|20|N|102|3|E|region:TH_type:landmark|name=Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex}}</small>}}
| ธรรมชาติ :<br /> (x)
| 615,500 (1,521,000)
| align = "center" | 2548 (/2005)
| เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์กว่า 800 ชนิด ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำนวน 112 สายพันธุ์ (รวมทั้งสัตว์น้ำสองสายพันธุ์) สัตว์ชนิดนก 392 สายพันธุ์ และสัตว์เลื้อยคลานกว่า 200 สายพันธุ์ มีระบบนิเวศ[[ป่าเขตร้อน]]ที่สำคัญซึ่งสามารถเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อการอยู่รอดในระยะยาวของสัตว์สายพันธุ์เหล่านี้
|590<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/590|title=Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|}
 
== สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น ==
ปัจจุบัน ประเทศไทยมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคต ทั้งสิ้น 7 แห่ง ดังนี้<ref>{{cite web|url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/state=th |title=Tentative Lists: Thailand|publisher=[[UNESCO]]|accessdate=3 May 2019}}</ref>
 
{|class="wikitable sortable"
บรรทัด 110:
! scope="col" | ที่ตั้ง
! scope="col" | ประเภท
! scope="col"| พื้นที่ <br />เฮกตาร์ (เอเคอร์เฮกตาร์)
! scope="col"| ปี พ.ศ. (/ค.ศ.)
! scope="col" class="unsortable" | หมายเหตุ
! scope="col" | อ้างอิง
บรรทัด 118:
| {{center|[[ไฟล์:Rock formation in Phu Phra Bat.jpg|150x150px|alt= Tham Khon prehistoric rock painting.]]}}
| {{sort|Thailand|[[อุดรธานี]] <br/><small>{{coord|17|42|N|102|22|E|region:TH_type:landmark|name= Phu Phra Bat Historical Park}}</small>}}
| วัฒนธรรม :<br /> (iii), (iv), (v), (vi)
| 500 (1,200)
| align = "center" | 2547 (/2004)
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/1920/|title=Phuphrabat Historical Park|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 August 2012}}</ref>
บรรทัด 127:
| {{center|[[ไฟล์:Kaeng Krachan (2).jpg|150x150px|alt= Kaeng Krachan National Park.]]}}
| {{sort|Thailand|[[ราชบุรี]] [[เพชรบุรี]] และ[[ประจวบคีรีขันธ์]] <br/><small>{{coord|13|14|N|5|5|E|region:TH_type:landmark|name= Kaeng Krachan Forest Complex }}</small>}}
| ธรรมชาติ :<br /> (x)
| 482,225 (1,191,600)
| align = "center" | 2554 (/2011)
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/5593/|title=Kaeng Krachan Forest Complex|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 August 2012}}</ref>
บรรทัด 136:
| {{center|[[ไฟล์:WatPraTaat.jpg|150x150px|alt= Chedi Phra Baromathat.]]}}
| {{sort|Thailand|[[นครศรีธรรมราช]] <br/><small>{{coord|24|47|N|99|57|E|region:TH_type:landmark|name= Phra Baromathat}}</small>}}
| วัฒนธรรม :<br /> (i), (ii), (vi)
| 137 (340)
| align = "center" | 2555 (/2012)
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/5752/|title=Wat Phra Mahathat Woramahawihan, Nakhon Si Thammarat|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 August 2012}}</ref>
บรรทัด 145:
| {{center|[[ไฟล์:Phra-Singh Temple Chiang Mai..jpg|150x150px|alt=Wat Phra Singh]]}}
| {{sort|Thailand|[[เชียงใหม่]] <br/><small>{{coord|18|47|43|N|98|59|55|E|region:TH_type:landmark|name=Monuments, Sites and Cultural Landscape of Chiang Mai, Capital of Lanna}}</small>}}
| วัฒนธรรม :<br /> (i), (ii), (iii), (vi)
| ''ไม่มีข้อมูล''
| align = "center" | 2558 (/2015)
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/6003/|title=Monuments, Sites and Cultural Landscape of Chiang Mai, Capital of Lanna|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=10 April 2015}}</ref>
บรรทัด 154:
| {{center|[[ไฟล์:พระธาตุพนม01.2.JPG|150x150px|alt=]]}}
| {{sort|Thailand|[[นครพนม]] <br/><small>{{coord|16|56|33|N|104|43|26|E|region:TH_type:landmark|name=Phra That Phanom, its related historic buildings and associated landscape}}}}
| วัฒนธรรม :<br /> (i), (ii), (iv)
| ''ไม่มีข้อมูล''
| align = "center" | 2560 (/2017)
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/6183/|title=Phra That Phanom, its related historic buildings and associated landscape|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=18 March 2017}}</ref>
บรรทัด 163:
| {{center|[[ไฟล์:Phanomrung.jpg|150x150px|alt= ]]}}
| [[บุรีรัมย์]]
| วัฒนธรรม :<br /> (iii) (iv) (v)
| ''ไม่มีข้อมูล''
| align = "center" | 2562 (/2019)
| เสนอแยกต่างหากจากปราสาทหินพิมาย
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/6401/|title=Ensemble of Phanom Rung, Muang Tam and Plai Bat Sanctuaries|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=15 April 2019}}</ref>
บรรทัด 172:
| {{center|[[ไฟล์:Prang Si Thep - Si Thep.jpg|150x150px|alt= Si Thep]]}}
| [[เพชรบูรณ์]]
| วัฒนธรรม :<br /> (ii) (iii)
| ''ไม่มีข้อมูล''
| align = "center" | 2562 (/2019)
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/6402/|title=The Ancient Town of Si Thep|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=15 April 2019}}</ref>
บรรทัด 180:
 
=== ความคืบหน้า ===
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 รัฐบาลไทยได้เสนอคณะกรรมการมรดกโลก ในการประชุมครั้งที่ 40 ที่เมือง[[อิสตันบูล]] [[ประเทศตุรกี]] ให้พิจารณาการขึ้นทะเบียนกลุ่มป่าแก่งกระจานขึ้นเป็นแหล่งมรดกโลก สืบเนื่องจากที่ [[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]] (IUCNไอยูซีเอ็น) และคณะกรรมการมรดกโลกได้ให้การการยอมรับคุณค่าสากลที่โดดเด่น (outstanding universal value) ของผืนป่า อย่างไรก็ตามคณะกรรมการมรดกโลกตัดสินใจที่จะเลื่อนการขึ้นทะเบียนออกไป เนื่องด้วยวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นระหว่างการประชุมมรดกโลก และปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน[[ชาวกะเหรี่ยง]]ที่อาศัยอยู่ในผืนป่า รวมถึงข้อพิพาทเกี่ยวกับการปักปันเขตแดนกับประเทศพม่า
 
ทั้งนี้ [[สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี]] (ICOMOS) ได้แจ้งให้ทางการไทยทราบเกี่ยวกับการเสนออุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของทางการไทย โดยมีข้อเสนอแนะให้ดำเนินการศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมของเสมาหินกับพุทธศาสนา เพื่อนำไปสู่ศักยภาพที่โดดเด่นของอุทยานฯ รวมทั้งหากเป็นไปได้ เสนอให้พิจารณาเกณฑ์และขอบเขตการขึ้นทะเบียนอุทยานฯ ที่ทางการไทยเสนอ<ref> ICOMOS (2016a), Evaluations of Nominations of Cultural and Mixed Properties to the World Heritage List (WHC-16/40.COM/INF.8B1), http://whc.unesco.org/document/141702  </ref>
 
ทั้งนี้ [[สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี]] (ICOMOSไอโคมอส) ได้แจ้งให้ทางการไทยทราบเกี่ยวกับการเสนออุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกของทางการไทย โดยมีข้อเสนอแนะให้ดำเนินการศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมของเสมาหินกับพุทธศาสนา เพื่อนำไปสู่ศักยภาพที่โดดเด่นของอุทยานฯ รวมทั้งหากเป็นไปได้ เสนอให้พิจารณาเกณฑ์และขอบเขตการขึ้นทะเบียนอุทยานฯ ที่ทางการไทยเสนอ<ref>  ICOMOS (2016a), Evaluations of Nominations of Cultural and Mixed Properties to the World Heritage List (WHC-16/40.COM/INF.8B1), http://whc.unesco.org/document/141702  </ref>
<!-- เผื่อไว้
== สถานที่ที่เตรียมเสนอขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น ==
เส้น 194 ⟶ 193:
|}
-->
 
== สถานที่ที่อาจเสนอขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น ==
{|class="wikitable sortable"
เส้น 289 ⟶ 287:
| {{center|[[ไฟล์:Entrance-phimai.jpg|150x150px|alt= Phimai historical park.]]}}
| {{sort|Thailand|[[บุรีรัมย์]] [[นครราชสีมา]] และ[[สุรินทร์]] <br/><small>{{coord|15|13|N|102|29|E|region:TH_type:landmark|name= Angkor Roads}}</small>}}
| วัฒนธรรม :<br /> (i), (ii), (iii), (iv), (vi)
| พ.ศ. 2547
| พ.ศ. 2562
เส้น 321 ⟶ 319:
{{ประเทศไทย}}
 
[[หมวดหมู่:มรดกโลกแบ่งตามประเทศ|ทยไทย]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศไทย|*]]
[[หมวดหมู่:รายชื่อเกี่ยวกับประเทศไทย]]