ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาฮินดู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 60:
 
=== แนวคิดเรื่องพระเป็นเจ้า ===
{{Main|อิศวร (แนวคิด)|พระเป็นเจ้าในศาสนาฮินดู}}
{{โครงส่วน}}
ศาสนาฮินดูนั้นมีหลายความเชื่อ มีตั้งแต่ [[เอกเทวนิยม]], [[พหุเทวนิยม]], [[สรรพันตรเทวนิยม]], [[สรรพเทวนิยม]], [[สรรพเทวัสนิยม]], [[เอกนิยม]] ไปจนถึง [[อเทวนิยมในศาสนาฮินดู|อเทวนิยม]]<ref>[[Julius J. Lipner]] (2010), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, {{ISBN|978-0-415-45677-7}}, page 8; Quote: "[...] one need not be religious in the minimal sense described to be accepted as a Hindu by Hindus, or describe oneself perfectly validly as Hindu. One may be polytheistic or monotheistic, monistic or pantheistic, even an agnostic, humanist or atheist, and still be considered a Hindu."</ref><ref>{{Citation | last = Chakravarti| first = Sitansu| title = Hinduism, a way of life| publisher = Motilal Banarsidass Publ.| year = 1991| page = 71| url = https://books.google.com/?id=J_-rASTgw8wC&pg=PA71| isbn = 978-81-208-0899-7}}</ref><ref group=web name="EBpolytheism">{{cite web |url=http://www.britannica.com/eb/article-38143/polytheism |title=Polytheism|accessdate= 5 July 2007 |year=2007 |author =Ninian Smart | work= Encyclopædia Britannica |publisher= Encyclopædia Britannica Online}}</ref>
 
== นิกายหลัก ==
{{Main|นิกายในศาสนาฮินดู}}
 
ศาสนาฮินดูไม่มีหลักคำสอนหลักกลาง ในขณะเดียวกันชาวฮินดูเองจำนวนมากก็ไม่ได้อ้างว่าเป็นของนิกายหรือประเพณีใด ๆ <ref>{{Harvnb|Werner|2005|pp=13, 45}}</ref> อย่างไรก็ตาม ในงานศึกษาเชิงวิชาการนิยมแบ่งออกเป็น 4 นิกายหลัก ได้แก่ ลัทธิไวษณพ, ลัทธิไศวะ, ลัทธิศักติ และ ลัทธิสมารตะ<ref name=lancenelson>Lance Nelson (2007), An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies (Editors: Orlando O. Espín, James B. Nickoloff), Liturgical Press, {{ISBN|978-0814658567}}, pages 562–563</ref>{{Sfn|Flood|1996|p=113, 134, 155–161, 167–168}} นิกายต่าง ๆ นี้แตกต่างกันหลัก ๆ ที่เทพเจ้าองค์กลางที่บูชา, ธรรมเนียมและมุมมองต่อการ[[Soteriology|หลุดพ้น]]<ref name=sskumar>SS Kumar (2010), Bhakti – the Yoga of Love, LIT Verlag Münster, {{ISBN|978-3643501301}}, pages 35–36</ref> [[Julius J. Lipner]] ได้ระบุไว้ว่าการแบ่งนิกายของศาสนาฮินดูนั้นแตกต่างจากในศาสนาหลักอื่น ๆ ของโลก เพราะนิกายของศาสนาฮินดูนั้นคลุมเครือกับการฝึกฝนของบุคคลมากกว่า เป็นที่มาของคำว่า "Hindu polycentrism" (หลากหลายนิยมฮินดู, ฮินดูตามท้องถิ่น)<ref>[[Julius J. Lipner]] (2009), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, {{ISBN|978-0-415-45677-7}}, pages 371–375</ref>
 
[[ลัทธิไวษณพ]] บูชา[[พระวิษณุ]]<ref>sometimes with [[Lakshmi]], the spouse of Vishnu; or, as Narayana and Sri; see: Guy Beck (2006), Alternative Krishnas: Regional and Vernacular Variations on a Hindu Deity, State University of New York Press, {{ISBN|978-0791464168}}, page 65 and Chapter 5</ref> และปางอวตารของพระองค์ โดยเฉพาะ [[พระกฤษณะ]] และ [[พระราม]]<ref>{{cite book|author1=Edwin Francis Bryant|author2=Maria Ekstrand|title=The Hare Krishna Movement: The Postcharismatic Fate of a Religious Transplant|url=https://books.google.com/books?id=mBMxPdgrBhoC |year= 2013|publisher=Columbia University Press|isbn=978-0231508438|pages=15–17}}</ref> ลักษณะของนิกายนี้โดยทั่วไป ไม่ใช่ลักษณะนักพรตติดอาราม แต่มุ่งเน้นไปที่กิจกรรมชุมชนและการปฏิบัติที่นับถือศรัทธา ความรักสนุกนี้มีที่มาจากการสื่อนัย ๆ ถึงลักษณะอัน "ขี้เล่น ร่าเริง และสนุกสนาน" ของพระกฤษณะรวมถึงอวตารองค์อื่น ๆ<ref name=sskumar/> พิธีกรรมและการปฏิบัติจึงมักเต็มไปด้วยการระบำในชุมชน, ขับร้องดนตรี ทั้ง [[กีรตัน]] (Kirtan) และ [[ภชัน]] (Bhajan) โดยเชื่อกันว่าเสียงและดนตรีเหล่านี้จะมีพลังในการช่วยทำสมาธิและมีพลังอำนาจเชิงความเชื่อ<ref name=edwinb>Edwin Bryant and Maria Ekstrand (2004), The Hare Krishna Movement, Columbia University Press, {{ISBN|978-0231122566}}, pages 38–43</ref> การเฉลิมฉลองและพิธีกรรมในศาสนสถานของไวษณพมักมีความประณีต ละเอียดลออ<ref>{{cite book|author1=Bruno Nettl|author2=Ruth M. Stone|author3=James Porter |author4=Timothy Rice |title=The Garland Encyclopedia of World Music: South Asia : the Indian subcontinent|url=https://books.google.com/books?id=ZOlNv8MAXIEC |year=1998|publisher=Routledge |isbn=978-0824049461 |pages=246–247}}</ref> ส่วนรากฐานเชิงศาสนศาสตร์ของไวษณพนั้นมาจากภควัทคีตา, รามายณะ และปุราณะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระวิษณุ<ref>Lance Nelson (2007), An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies (Editors: Orlando O. Espín, James B. Nickoloff), Liturgical Press, {{ISBN|978-0814658567}}, pages 1441, 376</ref>
 
[[ลัทธิไศวะ]] มุ่งเน้นที่[[พระศิวะ]] ศาสนิกชนไศวะมีแนวโน้มไปทางปัจเจกพรตนิยม (ascetic individualism) และแตกออกเป็นนิกายแยกย่อยได้อีก<ref name=sskumar/> แนวทางปฏิบัติของไศวะรวมถึงการศรัทธาแบบภักติ แต่ความเชื่อโน้มเอียงมาทางนิกายแบบ nondual, monistic อย่าง Advaita และ [[ราชโยคะ]]<ref name=lancenelson/><ref name=edwinb/> Some Shaivas worship in temples, while others emphasize yoga, striving to be one with Shiva within.<ref>{{cite book|author=Roshen Dalal|title=The Religions of India: A Concise Guide to Nine Major Faiths|url=https://books.google.com/books?id=pNmfdAKFpkQC |year=2010|publisher=Penguin Books |isbn=978-0-14-341517-6|page=209}}</ref> องค์อวาตารนั้นไม่ค่อยพบ และไศวะบางกลุ่มมองพระเป็นเจ้าในลักษณะของครึ่งบุรุษ-ครึึ่งสตรี ([[อรธนารีศวร]]) ไศวะนั้นมีความเกี่ยวพันกับศักติ โดยมักมองว่าองค์ศักติเป็นพระสวามีของพระศิวะ<ref name=lancenelson/> การเฉลิมฉลองประกอบด้วยเทศกาลต่าง ๆ และการมีส่วนร่วมในศาสนพิธีและเดินทางไปแสวงบุญยังสถานที่แสวงบุญเช่น [[Kumbh Mela]] ร่วมกับไวษณพ<ref>James Lochtefeld (2010), God's Gateway: Identity and Meaning in a Hindu Pilgrimage Place, Oxford University Press, {{ISBN|978-0195386141}}</ref> Shaivism has been more commonly practiced in the Himalayan north from Kashmir to Nepal, and in south India.<ref>Natalia Isaeva (1995), From Early Vedanta to Kashmir Shaivism, State University of New York Press, {{ISBN|978-0791424490}}, pages 141–145</ref>
 
[[ลัทธิศักติ]] บูชาเทวีหรือ[[ศักติ]]เป็นพระมารดาของจักรวาล<ref name=sskumar/> พบมากเปนพิเศษในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกของอินเดีย เช่น [[รัฐอัสสัม]]และ [[เบงคอลตะวันตก]] เทวีีที่บูชานั้นมีรูปลักษณ์ตั้งแต่[[พระปารวตี|พระแม่ปราวตี]] ซึ่งทรงอ่อนโยนไปจนถึงองค์ที่มีพระลักษณะดุดันเช่น [[พระแม่ทุรคา]] และ [[พระแม่กาลี]] ศาสนิกชนเชื่อว่า[[ศักติ]]เป็นพลังอำนาจที่คอยรองรับความเป็นบุรุษ ระเบียบการปฏิบัติของศักติเกี่ยวข้องกับแนวทางแบบ[[ตันตระ]]<ref>Massimo Scaligero (1955), [https://www.jstor.org/stable/29753633 The Tantra and the Spirit of the West], East and West, Vol. 5, No. 4, pages 291–296</ref> การเฉลิมฉลองมีทั้งเทศกาล ซึ่งบางส่วนมีพิธีกรรมที่นำเทวรูปดินเหนียวแช่ลงให้ละลายไปในแม่น้ำ<ref>'''History:''' Hans Koester (1929), The Indian Religion of the Goddess Shakti, Journal of the Siam Society, Vol 23, Part 1, pages 1–18;<br />'''Modern practices:''' June McDaniel (2010), Goddesses in World Culture, Volume 1 (Editor: Patricia Monaghan), {{ISBN|978-0313354656}}, Chapter 2</ref>
 
[[ลัทธิสมารตะ]] บูชาเทพเจ้าฮินดูองค์หลัก ๆ ไปพร้อม ๆ กัน ได้แก่ พระศิวะ, พระวิษณุ, องค์ศักติ, [[พระพิฆเนศ|พระคเนศ]], [[พระสุริยะ]] และ [[พระขันธกุมาร|พระการติเกยะ]]{{Sfn|Flood|1996|p=113}} ธรรมเนียมแบบสมารตะนั้นเกิดขึ้นราวหลังยุคคาสสิกของฮินดูตอนต้น ราวเริ่มต้นคริสต์กาล หลังศาสนาฮินดูเริ่มรวมเข้ากับการปฏิบัติแบบพราหมณ์และความเชื่อพื้นมือง<ref>{{Citation |last=Hiltebeitel |first=Alf |authorlink=Alf Hiltebeitel |year=2013 |chapter=Hinduism|editor-last=Kitagawa|editor-first=Joseph|title=The Religious Traditions of Asia: Religion, History, and Culture|publisher=Routledge |chapter-url=https://books.google.com/books?id=kfyzAAAAQBAJ}}</ref>{{sfn|Flood|1996}}
 
== ประวัติ ==