ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเย่ๆ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8375233 สร้างโดย 2001:44C8:4343:C3E0:9870:2DAD:DD69:ECB3 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 31:
}}
 
'''ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ''' (ชื่อเล่น: เอก) เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25]] [[นักธุรกิจ]] นักเคลื่อนไหวทาง[[การเมือง]]และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย อดีตรองประธานกรรมการบริหาร[[กลุ่มบริษัทไทยซัมมิท]]ตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งต่อมากลายเป็นบริษัทผู้ผลิตและส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์รายใหญ่อันดับต้นๆ ของประเทศ แต่ภายหลังตัดสินใจเข้าสู่การเมืองเมื่อปี 2561<ref>https://www.bbc.com/thai/thailand-43251942</ref> เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง[[พรรคอนาคตใหม่]] และต่อมาได้รับเลือกจากที่ประชุมใหญ่ผู้จดจัดตั้งพรรค ให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคคนแรก เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 เย่ๆ
 
== ปฐมวัยและครอบครัว ==
บรรทัด 47:
 
== การเคลื่อนไหวทางสังคมและความสนใจทางการเมือง ==
ระหว่างที่เรียนอยู่ ณ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] นายธนาธรได้เข้าร่วมเรียกร้องสิทธิเพื่อปกป้อง[[สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย|สิทธิมนุษยชน]] เรียกร้องความเป็นธรรม และยืนหยัดเพื่อความถูกต้องกับผู้คนหลากหลายกลุ่มในหลายสถานการณ์ ในปี พ.ศ. 2543 ขณะร่วมเรียกร้องสิทธิกับกลุ่มสมัชชาคนจน เขาอยู่ร่วมชาวบ้านสมัชชาคนจนตอนที่ปะทะกับเจ้าหน้าที่[[ตำรวจ]]บริเวณหน้า[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|ทำเนียบรัฐบาล]]สมัยนายกรัฐมนตรี [[ชวน หลีกภัย]] จนตัวเองได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย<ref name="force" /> เมื่อขึ้นชั้นปีที่ 3 นายธนาธรไปศึกษาต่อที่[[มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม]] [[ประเทศอังกฤษ]] เขาเริ่มศึกษาทฤษฎีของ[[คาร์ล มากซ์]] และ[[วลาดีมีร์ เลนิน]] เขาได้เข้าร่วมกลุ่ม Socialist Worker Student Society ซึ่งเป็นองค์กรจัดตั้งระดับนักศึกษาในอังกฤษ หลังจากธนาธรสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีจาก [[วิศวกรรมศาสตร์|คณะวิศวกรรมศาสตร์]] หลักสูตรนานาชาติ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [[มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม|มหาวิทยาลัยนอตติงแฮม]] เขาได้กลับมาทำงานกับ[[องค์การนอกภาครัฐ]]ใน[[ประเทศไทย]]ได้ราวครึ่งปี<ref name="force" /> ต่อมาบิดาของเขาเสียชีวิตจากโรคมะเร็งในปี พ.ศ. 2545 ธนาธรวัย 23 ปี ในฐานะลูกชายคนโตของครอบครัวจึงรุ่งเรืองกิจซึ่งเป็นครอบครัวคนจีน เขาจึงจำเป็นต้องกลับมารับช่วงการบริหารธุรกิจต่อจากบิดา แม้จะอยากทำงานกับองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานเพื่อสังคมและประชาชนมากกว่า
 
เขามีศักดิ์เป็นหลานอาของ[[สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ]] อดีต[[รองนายกรัฐมนตรี]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม]] ธนาธรและสุริยะให้สัมภาษณ์หลายครั้งว่าทั้งสองมีความเห็นทางการเมืองต่างกันตั้งแต่สมัยธนาธรยังเป็นนักศึกษา เพราะธนาธรไม่เห็นด้วยกับโครงการท่อส่งก๊าซไทย-มาเลย์ เป็นอย่างมากเพราะจะทำให้ประเทศไทยเสียผลประโยชน์อย่างมหาศาล นำไปสู่ความขัดแย้งกับสุริยะ ซึ่งเป็นรัฐมนตรีในรัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]]ขณะนั้น<ref>https://isaanrecord.com/2018/06/08/isaans-future-thanathorn-on-moving-the-region-forward/</ref> ในปี 2561 สุริยะที่ไปเข้า[[พรรคพลังประชารัฐ]] กล่าวถึงธนาธรว่า “ถ้าคุณพ่อเขาไม่เสีย ทุกวันนี้เขาคงไปเดินสาย[[องค์การนอกภาครัฐ|เอ็นจีโอ]] สมัยที่เขายังเรียนอยู่ บางที [[CNN]] ออกข่าวเรื่องการต่อต้านอะไร คุณจะได้เห็นธนาธรโผล่ไปหมดแหละครับ ต่างประเทศก็ด้วย เพราะจริง ๆ เขาอยากจะเห็นโลกที่สมบูรณ์แบบ”ในแบบที่เค้าคิด<ref>https://www.matichon.co.th/politics/news_1077860</ref>
 
== การทำงานทางธุรกิจ ==
หลังเรียนจบนายธนาธรเกือบจะได้เดินทางไปเริ่มทำงานด้านการพัฒนาเยาวชนของ[[สหประชาชาติ|องค์การสหประชาชาติ]]ที่[[ประเทศแอลจีเรีย]]อยู่แล้ว<ref>https://isaanrecord.com/2018/06/08/isaans-future-thanathorn-on-moving-the-region-forward/</ref> แต่แม่ของเขาโทรศัพท์มาแจ้งอาการป่วยหนักของพ่อซึ่งกำลังจะเข้ารับการผ่าตัดใหญ่เสียก่อน แผนชีวิตที่วางไว้ทั้งหมดพลิกกลับไปอีกขั้วหลังการจากไปของนายพัฒนา จึงรุ่งเรืองกิจ จากที่ไม่เคยคิดและไม่เคยสนใจจะเป็นนักธุรกิจมาก่อนเลยในชีวิต ธนาธรกลับต้องเข้ารับตำแหน่งรองประธานกรรมการบริหารกลุ่มบริษัทไทยซัมมิททันทีด้วยอายุเพียง 23 ปีในขณะนั้น<ref>https://isaanrecord.com/2018/06/08/isaans-future-thanathorn-on-moving-the-region-forward/</ref>
 
ตั้งแต่ที่ธนาธรเริ่มเข้าไปบริหารธุรกิจ กลุ่มบริษัทไทยซัมมิทได้เติบโตขึ้นอย่างมาก จากรายได้ 16,000 ล้านบาท<ref name="liferevo">[http://www.liferevo.org/index.php?option=com_content&task=view&id=210&Itemid=73 คุณ ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ] LifeRevo 8 ตุลาคม 2552</ref> เพิ่มขึ้นเป็นรายได้ 80,000 ล้านบาท เขาทำให้ธุรกิจครอบครัวกลายเป็นกลุ่มบริษัทระดับโลกที่มีโรงงานผลิตใน 7 ประเทศยักษ์ใหญ่ทั่วโลก รวมจำนวนพนักงานมากถึงราว 16,000 คน<ref>https://www.bbc.com/thai/thailand-44001760</ref><ref>https://www.prachachat.net/motoring/news-54183</ref>
บรรทัด 77:
 
== ภาพลักษณ์ ==
สื่อต่างประเทศหลายสำนักมักจะเปรียบเทียบธนาธรกับ[[นายกรัฐมนตรีแคนาดาจัสติน ทรูโด]] [[จัสติน ทรูโดนายกรัฐมนตรีแคนาดา]] ด้วยความที่ทั้งคู่มีพื้นฐานของการเป็นนักธุรกิจ เป็นคนรุ่นใหม่ และมีมุมมองทางการเมืองใกล้เคียงกัน<ref>https://www.theguardian.com/world/2018/apr/01/thanathorn-juangroongruangkit-thai-tycoon-trying-to-take-on-the-junta</ref>
 
บางทีสื่อไทยเรียกเขาว่า "ไพร่หมื่นล้าน" ซึ่งแสดงถึงการต่อสู้ระหว่างชนชั้นทางสังคมในประเทศไทย<ref>{{cite web |title=ไพร่หมื่นล้าน! 10 รู้จัก 'เอก ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ' เขาคือใคร?|url=https://www.thairath.co.th/content/1219182 |website=Thairath |accessdate=10 September 2018}}</ref> ผู้สนับสนุนเขาที่เป็นหญิงอายุน้อยบางส่วนยังเรียกเขาว่า "พ่อ"<ref>{{cite news|url=https://www.scmp.com/week-asia/politics/article/2187362/everyone-loves-daddy-forget-thaksin-heres-thai-juntas-new|title=Everyone loves ‘Daddy’: forget Thaksin, Thanathorn Juangroongruangkit is the Thai junta’s new billionaire rival|first1=Jitsiree|last1=Thongnoi |first2=Bhavan|last2=Jaipragas|date=24 Feb 2019|accessdate=2 April 2019|publisher=South China Morning Post}}</ref><ref>{{cite news|url=https://www.washingtonpost.com/world/asia_pacific/a-new-political-party-in-thailand-led-by-an-athletic-billionaire-rattles-ruling-junta/2019/03/18/49f71a24-4276-11e9-85ad-779ef05fd9d8_story.html?utm_term=.fe2ea260885b|title=A new political party in Thailand, led by an athletic billionaire, rattles ruling junta|publisher=Washington Post|first=Shibani|last=Mahtani|date=19 March 2019|accessdate=2 April 2019}}</ref><ref>{{cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-election-thanathorn/thailands-rising-political-star-under-fire-as-election-nears-idUSKCN1QF10H|title=Thailand's rising political star under fire as election nears|publisher=Reuters|first=Patpicha|last=Tanakasempipat|date=26 February 2019|accessdate=2 April 2019}}</ref>