ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาฮินดู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 6:
* Kurien: "There are almost a billion Hindus living on Earth. They practice the world's oldest religion..." <ref>{{cite journal |last=Kurien |first=Prema |title= Multiculturalism and American Religion: The Case of Hindu Indian Americans |journal=Social Forces |volume=85 |issue=2 |year=2006 |pages= 723–741 |doi= 10.1353/sof.2007.0015 }}</ref>
* Bakker: "it [Hinduism] is the oldest religion".<ref>{{cite journal |first= F.L. |last= Bakker |title= Balinese Hinduism and the Indonesian State: Recent Developments |journal= Bijdragen Tot de Taal-, Land- en Volkenkunde |year=1997 |volume=Deel 153, 1ste Afl. |issue= 1 |pages= 15–41 |jstor= 27864809|doi= 10.1163/22134379-90003943 }}</ref>
* Noble: "Hinduism, the world's oldest surviving religion, continues to provide the framework for daily life in much of South Asia."<ref>{{cite journal |last=Noble |first= Allen |title= South Asian Sacred Places |journal= Journal of Cultural Geography |volume=17 |issue=2 |year=1998 |pages=1–3 |doi= 10.1080/08873639809478317 }}</ref>}} ศาสนิกชนและนักวิชาการบางกลุ่มเรียกศาสนาฮินดูว่าเป็น "[[สนาตนธรรม]]" หรือหนทางนิรันดร์ชั่วประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ{{sfn|Knott|1998|pp=5, Quote: "Many describe Hinduism as ''sanatana dharma'', the eternal tradition or religion. This refers to the idea that its origins lie beyond human history"}}<ref>{{harvnb|Bowker|2000}}; {{harvnb|Harvey|2001|p=xiii}};</ref> นักวิชาการมักมองศาสนาฮินดูว่าเป็นการผสมผสานของ{{refn|group=note|name=Lockard}} หรือสังเคราะห์มาจาก{{sfn|Samuel|2010|p=193}}{{refn|group=note|name= "Hiltebeitel-synthesis"}} วัฒนธรรม จารีต และประเพณีอันหลากหลายในอนุทวีปอินเดีย<ref name="Hiltebeitel 2007 12">{{harvnb|Hiltebeitel|2007|p=12}}; {{harvnb|Flood|1996|p=16}}; {{harvnb|Lockard|2007|p=50}}</ref>{{refn|group=note|name= fusion}} ที่มีรากฐานหลากหลาย{{sfn|Narayanan|2009|p=11}}{{refn|group=note| Among its roots are the [[Historical Vedic religion|Vedic religion]] of the late [[Vedic period]] ({{harvnb|Flood|1996|p=16}}) and its emphasis on the status of Brahmans ({{harvnb|Samuel|2010|pp=48–53}}), but also the religions of the [[Indus Valley Civilisation]] ({{harvnb|Narayanan| 2009|p=11}}; {{harvnb|Lockard|2007|p=52}}; {{harvnb|Hiltebeitel|2007|p=3}}; {{harvnb|Jones|Ryan|2006|p=xviii}}) the [[Sramana]] or renouncer traditions of [[Maurya Empire|north-east India]] ({{harvnb|Flood|1996|p=16}}; {{harvnb|Gomez|2013|p=42}}), with possible roots in a non-Vedic Indo-European culture ({{harvnb|Brokhorst|2007}}), and "popular or [[Adivasi|local traditions]]" ({{harvnb|Flood|1996|p=16}}).}} และไม่มี[[ศาสดา]]หรือผู้ริเริ่มตั้งศาสนา{{sfn|Fowler|1997|pp=1, 7}} "การสังเคราะห์ศาสนาฮินดู" (Hindu synthesis) นี้เริ่มมีขึ้นระหว่างราว 500 ปีก่อนคริสต์กาลคริสตกาล ถึงคริสต์ศักราช 300{{sfn|Hiltebeitel|2007|p=12}} ภายหลังการสิ้นสุดลงของ[[ยุคพระเวท]] (1500 ถึง 500 ก่อนคริสต์กาลคริสตกาล),{{sfn|Hiltebeitel|2007|p=12}}{{sfn|Larson|2009}} และเจริญรุ่งเรืองใน[[อินเดียยุคกลาง|ยุคกลางของอินเดีย]]ไปพร้อมกับ[[การเสื่อมของศาสนาพุทธในอนุทวีปอินเดีย]]{{sfn|Larson|1995|p=109&ndash;-111}}
ถึงแม้ว่าศาสนาฮินดูจะเต็มไปด้วยปรัชญาหลายแขนง แต่ก็สามารถเชื่อมโยงถึงกันผ่านแนวคิดที่มีร่วมกัน, พิธีกรรมที่คล้ายคลึงกัน, [[จักรวาลวิทยาฮินดู]], [[คัมภีร์ฮินดู]] และ [[สถานที่แสวงบุญในศาสนาฮินดู|สถานที่แสวงบุญ]] ส่วนคัมภีร์ของศาสนาฮินดูนั้นจำแนกออกเป็น [[ศรุติ]] (จากการฟัง) และ [[สมรติ]] (จากการจำ) คัมภีร์เหล่านี้มีทั้ง[[ปรัชญาฮินดู]], [[เทพปรณัมฮินดู]], [[พระเวท]], [[โยคะ]], [[พิธีกรรม]], [[อาคม (ศาสนาฮินดู)|อาคมะ]] และการสร้าง[[โบสถ์พราหมณ์]] เป็นต้น{{sfn|Michaels|2004}} คัมภีร์เล่มสำคัญได้แก่ [[พระเวท]], [[อุปนิศัท]], [[ภควัทคีตา]], [[รามายณะ]] และ [[อาคม (ศาสนาฮินดู)|อาคม]]<ref>{{Cite book|title=Hindu Scriptures| last=Zaehner|first=R. C.|publisher= Penguin Random House|year=1992|isbn= 978-0679410782|location=|pages=1–7|quote=|via=}}</ref><ref name=":0">{{Cite book| title= A Survey of Hinduism|last= Klostermaier| first=Klaus|publisher=State University of New York Press|year=2007|isbn=978-0791470824|edition=3rd|location=|pages=46–52, 76–77|quote=|via=}}</ref> ที่มา ผู้ประพันธ์ และความจริงนิรันดร์ในคัมภีร์เหล่านี้ล้วนมีบทบาทสำคัญ แต่ศาสนาฮินดูก็มีแนวคิดหลักสำคัญที่สนับสนุนการตั้งคำถามต่อที่มาและเนื้อความของคัมภีร์เพื่อให้เข้าใจสัจธรรมต่าง ๆ ได้อย่างลึกซึ้ง และสร้างประเพณีหรือแนวคิดต่อยอดในอนาคต<ref name=frazierintrop2>{{cite book|last1=Frazier|first1=Jessica|title=The Continuum companion to Hindu studies | date=2011|publisher= Continuum| location= London|isbn= 978-0-8264-9966-0|pages=1–15}}</ref>
บรรทัด 19:
=== ปุรุษารถะ ===
{{Main|ปุรุษารถะ}}
ศาสนาฮิินดูฮินดูดั้งเดิมเชื่อว่าจุดมุ่งหมายในชีวิตของมนุษย์มีอยู่สี่ประการ ได้แก่ [[ธรรมะ]], [[อรรถะ]], [[กามะ]] และ [[โมกษะ]] เป้าหมายทั้งสี่นี่เรียกรวมว่า "[[ปุรุษารถะ]]"<ref name="Bilimoria 2007 p. 103"/><ref name="Gavin Flood 1997 pages 11"/>
 
==== ธรรมะ (ทางที่ถูกต้อง/จริยะ) ====
ธรรมะถือเป็นจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนที่สุดในศาสนาฮินดู<ref>[[Gavin Flood]] (1996), The meaning and context of the Purusarthas, in Julius Lipner (Editor) – The Fruits of Our Desiring, {{ISBN|978-1896209302}}, pp 16–21</ref> แนวคิดของธรรมะนั้นรวมถึงพฤติกรรมที่ถือว่าสอดคล้องไปกับ[[รตะ]] หนทางที่มำให้ทั้งชีวิตและจักรวาลคงอยู่ได้<ref>[http://www.encyclopedia.com/topic/dharma.aspx#1 The Oxford Dictionary of World Religions, ''Dharma''], The [[Oxford Dictionary of World Religions]]: "In Hinduism, dharma is a fundamental concept, referring to the order and custom which make life and a universe possible, and thus to the behaviours appropriate to the maintenance of that order."</ref> และยังรวมถึงหน้าที่, สิทธิ, กฏกฎระเบียบ, สัจธรรม และ "การใช้ชีวิตอย่างถูกทาง"<ref name=tce>Dharma, The Columbia Encyclopedia, 6th Ed. (2013), Columbia University Press, Gale, {{ISBN|978-0787650155}}</ref> ธรรมะฮินดูประกอบด้วยหน้าที่ทางศาสนา, จริยธรรมและคุณธรรม และหน้าที่ของแต่ละบุคคล รวมถึงการปฏิบัติตนและนิสัยที่นำไปสู่ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม<ref name=tce/> [[J. A. B. van Buitenen|Van Buitenen]] ได้เคยกล่าวว่า<ref name=vanbuitenen>J. A. B. Van Buitenen, Dharma and Moksa, Philosophy East and West, Vol. 7, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1957), pp 33–40</ref> ธรรมะนั้นเป็นสิ่งที่สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่มีอยู่จะต้องยอมรับและเคารพเพื่อยัผลให้เกิดการรักษาความสามัคคีและความสงบเรียบร้อยในโลก เป็นการแสวงหาและการดำเนินการตามธรรมชาติและการเรียกหาที่แท้จริง อันมีบทบาทในคอนเสิร์ตของจักรวาล<ref name=vanbuitenen/> ส่วน[[Brihadaranyaka|Brihadaranyaka Upanishad]] ได้ระบุว่าธรรมะคือ
 
{{quote|ไม่มีสิ่งใดเหนือยิ่งกว่าธรรมะ ผู้ที่อ่อนแอจะเอาชนะผู้ที่แข็งแกร่งกว่าได้ก็ด้วยธรรมะ ธรรมะนั้นคือความจริง (สัตยะ) อย่างแท้จริง ดังนั้นเมื่อผู้ใดพูดความจริง เป็นอันเรียกได้ว่าเขาผู้นั้น "ได้เปล่งวาจาของธรรมะ!" เพราะทั้งคู่ (ความจริง และ ธรรมะ) เป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน|[[Brihadaranyaka Upanishad]]|1.4.xiv <ref>[[Charles Johnston (Theosophist)|Charles Johnston]], The Mukhya Upanishads: Books of Hidden Wisdom, Kshetra, {{ISBN|978-1495946530}}, page 481, for discussion: pages 478–505</ref><ref>Paul Horsch (Translated by Jarrod Whitaker), ''From Creation Myth to World Law: The early history of Dharma'', Journal of Indian Philosophy, Vol 32, pages 423–448, (2004)</ref>}}
บรรทัด 36:
{{Main|กามะ}}
 
กามะ แปลว่า ความปราถนาปรารถนา, ความรัก, ชอบ, หลงใหล ทั้งมีและปราศจากความคิดเชิงชู้สาวและอารมณ์ทางเพศ และหมายถึงความสุข ความยินดี อันเกิดจากสัมผัสต่าง ๆ ของร่างกาย<ref>{{cite journal |last1=Macy |first1=Joanna |year=1975 |title=The Dialectics of Desire |journal=Numen |volume=22 |issue=2 |pages=145–60 |jstor=3269765 |doi=10.2307/3269765}}</ref><ref name=mmwse>Monier Williams, [http://www.ibiblio.org/sripedia/ebooks/mw/0300/mw__0304.html काम, kāma] Monier-Williams Sanskrit English Dictionary, pp 271, see 3rd column</ref> ในศาสนาฮินดู กามะถือเป็นส่วนจำเป็นที่ช่วยให้ชีวิจคงอยู่ได้อย่างแข็งแรง ทั้งนี้ทั้งนั้นยังต้องอยู่ภายใต้การนำพาของธรรมะ, อรรถะ และโมกษะ<ref>See:
 
* The Hindu Kama Shastra Society (1925), [https://archive.org/stream/kamasutraofvatsy00vatsuoft#page/8/mode/2up The Kama Sutra of Vatsyayana], University of Toronto Archives, pp. 8;