ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาฮินดู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
→‎วรรณะ: ไม่เป็นสากล
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 13:
 
ศาสนาฮินดูถือเป็น[[กลุ่มศาสนาหลัก|ศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในโลก]]เป็นอันดับที่ 3 มีศาสนิกชนซึ่งเรียกว่า [[ชาวฮินดู]] อยู่ราว 1.15 พันล้านคน หรือ 15-16% ของประชากรโลก<ref group= "web">{{cite web|url=http://www.pewforum.org/global-religious-landscape-hindu.aspx|title=The Global Religious Landscape – Hinduism|last=|first=|date=| publisher= Pew Research Foundation|work=A Report on the Size and Distribution of the World's Major Religious Groups {{as of|2010|lc=y}}|accessdate=31 March 2013}}</ref><ref name ="gordonconwell.edu">{{cite web|url=http://www.gordonconwell.edu/resources/documents/1IBMR2015.pdf|title=Christianity 2015: Religious Diversity and Personal Contact|website= gordonconwell.edu|date= January 2015 |accessdate=29 May 2015}}</ref> ศาสนาฮินดูมีผู้นับถือมากที่สุดใน[[ศาสนาในประเทศอินเดีย|อินเดีย]], [[ศาสนาในประเทศเนปาล|เนปาล]] และ [[ศาสนาในประเทศมอริเชียส|มอริเชียส]] นอกจากนี้ยังเป็นศาสนาหลักใน[[จังหวัดบาหลี]] [[ศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]]เช่นกัน<ref>{{cite web|url=https://sp2010.bps.go.id/index.php/page/warning|title=Peringatan|website=sp2010.bps.go.id}}</ref> ชุมชนฮินดูขนาดใหญ่ยังพบได้ใน[[แคริบเบียน]], [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]], [[อเมริกาเหนือ]], [[ยุโรป]], [[แอฟริกา]] และ[[ศาสนาฮินดูแบ่งตามประเทศ|ประเทศอื่น ๆ]]<ref>{{cite book| first=Steven | last= Vertovec|title=The Hindu Diaspora: Comparative Patterns|url=https://books.google.com/books?id=FRVTAQAAQBAJ |year= 2013|publisher= Routledge|isbn= 978-1-136-36705-2|pages=1–4, 7–8, 63–64, 87–88, 141–143}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.pewforum.org/2012/12/18/global-religious-landscape-hindu/|title=Hindus|date=18 December 2012|work=Pew Research Center's Religion & Public Life Project|accessdate=14 February 2015}};<br/>{{cite web|url=http://features.pewforum.org/grl/population-number.php?sort=numberHindu|title=Table: Religious Composition by Country, in Numbers (2010)|date=18 December 2012|work=Pew Research Center's Religion & Public Life Project|accessdate=14 February 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20130201224548/http://features.pewforum.org/grl/population-number.php?sort=numberHindu|archive-date=1 February 2013|dead-url=yes}}</ref>
 
== ความเชื่อ ==
ธีมสำคัญในศาสนาฮินดูมันวนเวียนอยู่กับประเด็นของธรรมะ, สังสาระ, โมกษะ และการปฏิบัติโยคะ{{sfn|Brodd|2003}}
 
=== ปุรุษารถะ ===
{{Main|ปุรุษารถะ}}
ศาสนาฮิินดูดั้งเดิมเชื่อว่าจุดมุ่งหมายในชีวิตของมนุษย์มีอยู่สี่ประการ ได้แก่ [[ธรรมะ]], [[อรรถะ]], [[กามะ]] และ [[โมกษะ]] เป้าหมายทั้งสี่นี่เรียกรวมว่า "[[ปุรุษารถะ]]"<ref name="Bilimoria 2007 p. 103"/><ref name="Gavin Flood 1997 pages 11"/>
 
==== ธรรมะ (ทางที่ถูกต้อง/จริยะ) ====
ธรรมะถือเป็นจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนที่สุดในศาสนาฮินดู<ref>[[Gavin Flood]] (1996), The meaning and context of the Purusarthas, in Julius Lipner (Editor) – The Fruits of Our Desiring, {{ISBN|978-1896209302}}, pp 16–21</ref> แนวคิดของธรรมะนั้นรวมถึงพฤติกรรมที่ถือว่าสอดคล้องไปกับ[[รตะ]] หนทางที่มำให้ทั้งชีวิตและจักรวาลคงอยู่ได้<ref>[http://www.encyclopedia.com/topic/dharma.aspx#1 The Oxford Dictionary of World Religions, ''Dharma''], The [[Oxford Dictionary of World Religions]]: "In Hinduism, dharma is a fundamental concept, referring to the order and custom which make life and a universe possible, and thus to the behaviours appropriate to the maintenance of that order."</ref> และยังรวมถึงหน้าที่, สิทธิ, กฏระเบียบ, สัจธรรม และ "การใช้ชีวิตอย่างถูกทาง"<ref name=tce>Dharma, The Columbia Encyclopedia, 6th Ed. (2013), Columbia University Press, Gale, {{ISBN|978-0787650155}}</ref> ธรรมะฮินดูประกอบด้วยหน้าที่ทางศาสนา, จริยธรรมและคุณธรรม และหน้าที่ของแต่ละบุคคล รวมถึงการปฏิบัติตนและนิสัยที่นำไปสู่ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม<ref name=tce/> [[J. A. B. van Buitenen|Van Buitenen]] ได้เคยกล่าวว่า<ref name=vanbuitenen>J. A. B. Van Buitenen, Dharma and Moksa, Philosophy East and West, Vol. 7, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1957), pp 33–40</ref> ธรรมะนั้นเป็นสิ่งที่สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่มีอยู่จะต้องยอมรับและเคารพเพื่อยัผลให้เกิดการรักษาความสามัคคีและความสงบเรียบร้อยในโลก เป็นการแสวงหาและการดำเนินการตามธรรมชาติและการเรียกหาที่แท้จริง อันมีบทบาทในคอนเสิร์ตของจักรวาล<ref name=vanbuitenen/> ส่วน[[Brihadaranyaka|Brihadaranyaka Upanishad]] ได้ระบุว่าธรรมะคือ
 
{{quote|ไม่มีสิ่งใดเหนือยิ่งกว่าธรรมะ ผู้ที่อ่อนแอจะเอาชนะผู้ที่แข็งแกร่งกว่าได้ก็ด้วยธรรมะ ธรรมะนั้นคือความจริง (สัตยะ) อย่างแท้จริง ดังนั้นเมื่อผู้ใดพูดความจริง เป็นอันเรียกได้ว่าเขาผู้นั้น "ได้เปล่งวาจาของธรรมะ!" เพราะทั้งคู่ (ความจริง และ ธรรมะ) เป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน|[[Brihadaranyaka Upanishad]]|1.4.xiv <ref>[[Charles Johnston (Theosophist)|Charles Johnston]], The Mukhya Upanishads: Books of Hidden Wisdom, Kshetra, {{ISBN|978-1495946530}}, page 481, for discussion: pages 478–505</ref><ref>Paul Horsch (Translated by Jarrod Whitaker), ''From Creation Myth to World Law: The early history of Dharma'', Journal of Indian Philosophy, Vol 32, pages 423–448, (2004)</ref>}}
 
[[พระกฤษณะ]] ใน[[มหาภารตะ]] ได้ทรงนิยามธรรมว่าเป็น การสนับสนุนความจริงทั้งในโลกนี้และโลกอื่น (Mbh 12.110.11) คำส่า "สนาตนะ" แปลว่า "นิรันดร์" ดังนั้น "สนาตนธรรม" จึงแปลส่า "ความจริงอันเป็นนิรันดร์" ไม่มีจุดเริ่มต้น และไม่มีที่สิ้นสุด<ref>{{Citation|last=Swami Prabhupādā|first=A. C. Bhaktivedanta|title=Bhagavad-gītā as it is|year=1986|publisher=The Bhaktivedanta Book Trust|isbn=9780892132683|page=16|url=https://books.google.com/?id=dSA3hsIq5dsC&pg=PA16&q=%22neither%20beginning%20nor%20end%22}}</ref>
 
==== อรรถะ (ความมั่งคั่ง/การใช้ชีวิต) ====
{{Main|อรรถะ}}
 
อรรถะ หรือ อารถะ คือ การแสวงหาความมั่งคั่งอย่างมีเป้าหมายและมีคุณธรรม เพื่อการดำรงชีวิต ภาระผูกพัน และความมั่งคั่งทางทรัพย์สิน อรรถะยังรวมถึงชีวิตทางการเมือง การทูต และการมีความเป็นอยู่ที่ดี แนวคิดนี้รวมถึง "วิถีชีวิตทุกมุมของชีวิต" กิจกรรมและทรัพยากรทั้งหมดที่ช่วยให้คนหนึ่งสามารถมีความมั่งคงทางอาชีพการงานและทางการเงิน<ref name=johnk>John Koller, Puruṣārtha as Human Aims, Philosophy East and West, Vol. 18, No. 4 (Oct. 1968), pp. 315–319</ref> The proper pursuit of artha is considered an important aim of human life in Hinduism.<ref>James Lochtefeld (2002), The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Rosen Publishing, New York, {{ISBN|0-8239-2287-1}}, pp 55–56</ref><ref name=bruces>Bruce Sullivan (1997), Historical Dictionary of Hinduism, {{ISBN|978-0810833272}}, pp 29–30</ref>
 
==== กามะ (ความสุขจากสัมผัส) ====
{{Main|กามะ}}
 
กามะ แปลว่า ความปราถนา, ความรัก, ชอบ, หลงใหล ทั้งมีและปราศจากความคิดเชิงชู้สาวและอารมณ์ทางเพศ และหมายถึงความสุข ความยินดี อันเกิดจากสัมผัสต่าง ๆ ของร่างกาย<ref>{{cite journal |last1=Macy |first1=Joanna |year=1975 |title=The Dialectics of Desire |journal=Numen |volume=22 |issue=2 |pages=145–60 |jstor=3269765 |doi=10.2307/3269765}}</ref><ref name=mmwse>Monier Williams, [http://www.ibiblio.org/sripedia/ebooks/mw/0300/mw__0304.html काम, kāma] Monier-Williams Sanskrit English Dictionary, pp 271, see 3rd column</ref> ในศาสนาฮินดู กามะถือเป็นส่วนจำเป็นที่ช่วยให้ชีวิจคงอยู่ได้อย่างแข็งแรง ทั้งนี้ทั้งนั้นยังต้องอยู่ภายใต้การนำพาของธรรมะ, อรรถะ และโมกษะ<ref>See:
 
* The Hindu Kama Shastra Society (1925), [https://archive.org/stream/kamasutraofvatsy00vatsuoft#page/8/mode/2up The Kama Sutra of Vatsyayana], University of Toronto Archives, pp. 8;
* A. Sharma (1982), The Puruṣārthas: a study in Hindu axiology, Michigan State University, {{ISBN|9789993624318}}, pp 9–12; See review by Frank Whaling in Numen, Vol. 31, 1 (Jul. 1984), pp. 140–142;
* A. Sharma (1999), [https://www.jstor.org/stable/40018229 The Puruṣārthas: An Axiological Exploration of Hinduism], The Journal of Religious Ethics, Vol. 27, No. 2 (Summer, 1999), pp. 223–256;
* Chris Bartley (2001), Encyclopedia of Asian Philosophy, Editor: Oliver Learman, {{ISBN|0-415-17281-0}}, Routledge, Article on Purushartha, pp 443</ref>
 
==== โมกษะ (การหลุดพ้นจาก[[สังสาระ]]) ====
{{Main|โมกษะ}}
 
โมกษะ หรือ มุขติ ถือเป็นเป้าหมายสูงที่สุดในศาสนาฮินดู โมกษะอาจหมายถึงการหลุดพ้นจากความทุกข์ และจากสังสาระ (การเวียนว่ายายเกิด)<ref>R.C. Mishra, Moksha and the Hindu Worldview, Psychology & Developing Societies, Vol. 25, Issue 1, pp 23, 27</ref><ref>J. A. B. Van Buitenen, Dharma and Moksa, Philosophy East and West, Vol. 7, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1957), pp. 33–40</ref> ในนิกายอื่น ๆ ของศาสนาฮินดูเช่น Monistic ถือว่าโมกษะเป็นเป้าหมายที่เข้าถึงได้ในชาติปัจจุบัน เป็นสถานะของความสุขผ่านการรับรู้ตนเอง การเข้าใจธรรมชาติของจิตวิญญาณของเสรีภาพและ "ตระหนักว่าจักรวาลทั้งหมดเป็นส่วนหนึ่งของตน"<ref name="E. Deutsch pp 343-360"/><ref>see:
 
* Karl Potter, Dharma and Mokṣa from a Conversational Point of View, Philosophy East and West, Vol. 8, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1958), pp. 49–63
* Daniel H. H. Ingalls, Dharma and Moksha, Philosophy East and West, Vol. 7, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1957), pp. 41–48;
* Klaus Klostermaier, Mokṣa and Critical Theory, Philosophy East and West, Vol. 35, No. 1 (Jan. 1985), pp. 61–71</ref>
 
=== กรรมะ ===
{{Main|กรรมะ}}
 
=== โมกษะ ===
{{Main|โมกษะ}}
เป้าหมายสูงสุดของชีวิตเรียกว่า "โมกษะ", "[[นิพพาน|นิรวานะ]]" หรือ "[[สมาธิ]]" เป็นที่เข้าใจกันอยู่หลายแบบ: การเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับพระเป็นเจ้า, การเข้าสู่คามสัมพันธ์นิรันดร์กับพระเจ้า, การเป็หนึ่งเดียวกับจักรวาล, การละทิ้งความเห็นแก่ตัวจนสิ้น, การหลุดพ้นจากสังสาระ ซึ่งคือการไม่เกิดอีก การไม่ทุกข์อีก<ref>{{Harvnb|Rinehart|2004|pp=19–21}}</ref><ref>J. Bruce Long (1980), The concepts of human action and rebirth in the Mahabharata, in Wendy D. O'Flaherty, Karma and Rebirth in Classical Indian Traditions, University of California Press, {{ISBN|978-0520039230}}, Chapter 2</ref>
 
=== แนวคิดเรื่องพระเป็นเจ้า ===
{{Main|อิศวร|พระเป็นเจ้าในศาสนาฮินดู}}
{{โครงส่วน}}
ศาสนาฮินดูนั้นมีหลายความเชื่อ มีตั้งแต่ [[เอกเทวนิยม]], [[พหุเทวนิยม]], [[สรรพันตรเทวนิยม]], [[สรรพเทวนิยม]], [[สรรพเทวัสนิยม]], [[เอกนิยม]] ไปจนถึง [[อเทวนิยมในศาสนาฮินดู|อเทวนิยม]]<ref>[[Julius J. Lipner]] (2010), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, {{ISBN|978-0-415-45677-7}}, page 8; Quote: "[...] one need not be religious in the minimal sense described to be accepted as a Hindu by Hindus, or describe oneself perfectly validly as Hindu. One may be polytheistic or monotheistic, monistic or pantheistic, even an agnostic, humanist or atheist, and still be considered a Hindu."</ref><ref>{{Citation | last = Chakravarti| first = Sitansu| title = Hinduism, a way of life| publisher = Motilal Banarsidass Publ.| year = 1991| page = 71| url = https://books.google.com/?id=J_-rASTgw8wC&pg=PA71| isbn = 978-81-208-0899-7}}</ref><ref group=web name="EBpolytheism">{{cite web |url=http://www.britannica.com/eb/article-38143/polytheism |title=Polytheism|accessdate= 5 July 2007 |year=2007 |author =Ninian Smart | work= Encyclopædia Britannica |publisher= Encyclopædia Britannica Online}}</ref>
 
== ประวัติ ==