ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยามนูสารบัญชา (อัมพร จารุประกร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มรูปภาพ
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 20:
ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยตำแหน่งราชการตำแหน่งสุดท้าย คือผู้พิพากษาศาลฏีกา
 
== ประวัติส่วนตัว ==
เดิมนับถือศาสนาอิสลาม แต่เมื่อสอบเนติบัณฑิตไทยได้ จึงเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ เพื่อเข้าพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยาและรับราชการเป็นผู้พิพากษา
 
ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ ได้รับพระราชทานนามสกุล จารุประกร<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๓๐ ภาค ๑ หน้า ๘๓๓ - ๘๔๒ ประกาศเมื่อวันที่ ๑๔ กรกฏาคมกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๖</ref> เนื่องจากอยู่ในสกุลช่างชุบ และมีร้านชื่อ นาถาจารุประกร (น.ถ.จ.ก.) ตั้งอยู่ในย่านถนนตีทอง ใกล้กับวัดราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม ซึ่งผลิตทั้งทอง เหรียญพระ เช่น เหรียญหลวงพ่อโต พ.ศ. ๒๔๖๑<ref>แล่ม จันท์พิศาโล. ยอดนิยมจากคมเลนส์ ตอนที่ ๔๑. ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖</ref> และเหรียญพระแก้วมรกตที่ระลึกในวาระสมโภชพระนครครบ ๑๕๐ ปี<ref>พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. เหรียญพระแก้วมรกตในการสมโภชพระนคร 150 ปี. ๒๕๖๐</ref> ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕  
 
สมรสกับนางสุ่น สารธรรมวินิจฉัย (บุตร คุณนางฮวย อัษรมัติ)<ref>อำมาตย์ตรี พระสารธรรมวินิจฉัย (อัมพร จารุประกร ผู้พิพากษาศาลพระราชอาญา) กับ นางสุ่น สารธรรมวินิจฉัย พิมพ์ในการกุศลปลงศพ คุณนางฮวย อัษรมัติ ผู้เปนมารดาของนางสุ่น สารธรรมวินิจฉัย. อนุปุพพิกถา เทศนาของสมเด็จพระสังฆราช (สา) วัดราชประดิษฐ์ 5 กัณฑ์. พ.ศ. ๒๔๖๓</ref> มีบุตร-ธิดา อย่างน้อย ๓ คน ภายหลังภริยาคนแรกถึงแก่กรรม จึงสมรสกับ ประไพ (สกุลเดิม แว่นสุวรรณ) บุตรนายกรและนางเฮียง แว่นสุวรรณ บ้านบางปลาม้า มีบุตร-ธิดา รวม ๑๐ คน