ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ความโดดเด่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก|small=yes}}{{เว็บย่อวิกิ|WP:NOTE}}
{{ความโดดเด่นของบทความ}}
{{nutshell|บทความวิกิพีเดียครอบคลุมให้รวมเฉพาะ''หัวเรื่องที่โดดเด่น'' เท่านั้น สันนิษฐานว่าหัวข้อใด ๆ มีบทความได้หาก
# ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางเพียงพอและไม่ใช่เวลาสั้น ๆ โดยพิจารณาจากแหล่งข้อมูลบุคคลภายนอกที่น่าเชื่อถือ (reliable independent source) และมี [[#แนวปฏิบัติด้านความโดดเด่นทั่วไป|"การกล่าวถึงอย่างสำคัญ"]] และ
# [[WP:NOT|ไม่อยู่นอกขอบเขตของวิกิพีเดีย]]}}
{{รวมความโดดเด่น}}
 
ในวิกิพีเดีย '''เงื่อนไขในการนับว่าเป็นสารานุกรมความโดดเด่น''' เป็นการทดสอบโดยผู้เขียนเพื่อตัดสินว่าหัวเรื่องใดควรมีบทความเป็นของตัวเองแยกต่างหาก สารสนเทศบนวิกิพีเดียต้องสามารถ[[WP:V|พิสูจน์ยืนยันได้]] หากไม่สามารถหาแหล่งข้อมูลบุคคลภายนอกที่น่าเชื่อถือซึ่งว่าด้วยกล่าวถึงหัวเรื่องได้แล้ว หัวเรื่องนั้นก็ไม่ควรมีบทความต่างหาก มโนทัศน์การนับว่าเป็นสารานุกรมความโดดเด่นของวิกิพีเดียใช้มาตรฐานพื้นฐานนี้เพื่อเลี่ยงการเพิ่มหัวเรื่องอย่างขาดการพิจารณาสร้างบทความโดยไม่เลือก (indiscriminate inclusion) หัวเรื่องบทความและรายชื่อต้องมีความโดดเด่น หรือ "ควรค่าแก่การรู้จัก" (worthy of notice) การตัดสินความว่าหัวเรื่องหนึ่ง ๆ โดดเด่นไม่จำเป็นต้องขึ้นอยู่กับชื่อเสียง ความสำคัญ หรือความนิยมอย่างเดียว แม้สิ่งเหล่านี้อาจช่วยเสริมให้หัวเรื่องเข้ากับแนวปฏิบัติดังที่จะมีอธิบายต่อไป
 
ให้สันนิษฐานว่าหัวเรื่องนั้นเขียนเป็นบทความได้ หากเป็นไปตามแนวปฏิบัติความโดดเด่นทั่วไปด้านล่าง และต้องไม่ถูกตัดออกภายใต้[[WP:NOT|สิ่งที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย]] นอกจากนี้ เนื้อหาบางประเภทมีหลักเกณฑ์ของแนวปฏิบัติเฉพาะหัวเรื่องตามที่ปรากฏบนกล่องด้านขวามือ ก็ให้ยึดทั้งแนวปฏิบัติในหน้านี้กับแนวปฏิบัติเฉพาะหัวเรื่องควบคู่กันไป หากพิจารณาแล้ว หัวเรื่องนั้นไม่ควรมีบทความของตน ให้รวมเข้ากับหัวเรื่องอื่นแทน