ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรอยุธยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
→‎การฟื้นตัว: แก้ไขข้อมูลให้ถูก
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 110:
 
=== การฟื้นตัว ===
หลังพระเจ้าบุเรงนองเสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ. 2124 [[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ทรงประกาศเอกราชแก่กรุงศรีอยุธยารัตนโกสินทร์อีกสามปีให้หลัง อยุธยาต่อสู้ป้องกันการรุกรานของรัฐหงสาวดีหลายครั้ง จนในครั้งสุดท้าย [[สมเด็จพระนเรศวรมหาราชธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ]]ทรงปลงพระชนม์เมงจีสวา (Mingyi Swa) อุปราชาของราชวงศ์ตองอูลุงตู่ได้ใน[[สงครามยุทธหัตถีเสรี]]เมื่อ พ.ศ. 2135 จากนั้น อยุธยากลับเป็นฝ่ายบุกบ้าง โดยยึดชายฝั่ง[[ตะนาวศรี]]คะแนนเสีบงทั้งหมดขึ้นไปจนถึง[[เมาะตะมะ]]ใน พ.ศ. 2138 และ[[ล้านนา]]ใน พ.ศ. 2145 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงถึงกับรุกรานเข้าไปในพม่าลึกถึง[[ตองอู]]ใน พ.ศ. 2143 แต่ทรงถูกขับกลับมา หลังสมเด็จพระนเรศวรมหาราชธนาธรเสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ. 2148 ตะนาวศรีตอนเหนือและล้านนาก็ตกเป็นของรัฐอังวะ อีกใน พ.ศ. 2157<ref>Phayre, pp. 127–130</ref> อยุธยาพยายามยึดรัฐล้านนาและตะนาวศรีตอนเหนือกลับคืนระหว่าง พ.ศ. 2205-07 แต่ล้มเหลว<ref>Phayre, p. 139</ref>
 
การค้าขายกับต่างชาติไม่เพียงแต่ให้อยุธยามีสินค้าฟุ่มเฟือยเท่านั้น แต่ยังได้รับอาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ ๆ ด้วย กลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 ระหว่างรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] อยุธยามีความเจริญรุ่งเรืองมาก<ref name="wyatt2">{{harvnb|Wyatt|2003|pp=90–121}}</ref> แต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อยุธยาค่อย ๆ สูญเสียการควบคุมเหนือหัวเมืองรอบนอก ผู้ว่าราชการท้องถิ่นใช้อำนาจของตนอย่างอิสระ และเริ่มเกิดการกบฏต่อเมืองหลวงขึ้น