ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Infobox spaceflight|name=''วอยเอจเจอร์ 1''|image=Voyager_spacecraft.jpg|image_caption=ภาพจำลองของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1''|image_alt=|mission_type=สำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก เฮลิโอสเฟียร์ และมวลสารระหว่างดาว|operator=[[ไฟล์:NASA logo.svg|20px]] [[นาซา]] / [https://en.wikipedia.org/wiki/Jet_Propulsion_Laboratory&#124; ศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น] (JPL)|website={{url|https://voyager.jpl.nasa.gov/}}|COSPAR_ID=1977-084A<ref name="nasa.084A">{{cite web | url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | title=Voyager 1 | publisher=NASA/NSSDC | work=NSSDC Master Catalog | accessdate=August 21, 2013 | archive-url=https://web.archive.org/web/20131214045307/http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | archive-date=December 14, 2013 | dead-url=yes | df=mdy-all }}</ref>|SATCAT=10321<ref name="n2yo.10321">{{cite web | url=https://www.n2yo.com/satellite/?s=10321 | title=Voyager 1 | publisher=N2YO | accessdate=August 21, 2013}}</ref>|mission_duration={{plainlist|
*{{Age in years, months and days| year=1977| month=09| day=05}}
เส้น 586 ⟶ 587:
''วอยเอจเจอร์ 1'' จะเดินทางถึง[[เมฆออร์ต]]ในราว 300 ปีข้างหน้า<ref name="jpl.PIA170462">{{cite web|url=https://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA17046|title=Catalog Page for PIA17046|work=Photo Journal|publisher=NASA|accessdate=April 27, 2014}}</ref><ref name="ut.1047172">{{cite web|url=https://www.universetoday.com/104717/its-official-voyager-1-is-now-in-interstellar-space/|title=It's Official: Voyager 1 Is Now In Interstellar Space|work=UniverseToday|accessdate=April 27, 2014|date=2013-09-12}}</ref> และใช้จะเวลาราว 30,000 ปีในการเดินทางข้ามผ่าน<ref name="Ghose2013" /><ref name="How_We_Know2" /> แม้ว่ายานจะไม่มุ่งหน้าไปยังดาวฤกษ์ใดๆ แต่อีกประมาณ [[เส้นเวลาของอนาคตไกล#การสำรวจอวกาศและยานอวกาศ|40,000 ปี]] ตัวยานจะอยู่ห่างจากดาว Gliese 445 ซึ่งอยู่ใน[[กลุ่มดาวยีราฟ]]ราว 1.6 [[ปีแสง]]<ref name="voyager_interstellar">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager – Mission – Interstellar Mission|publisher=NASA|date=August 9, 2010|accessdate=March 17, 2011}}</ref> ดาวดวงนี้เคลื่อนที่มายัง[[ระบบสุริยะ]]ด้วยความเร็วประมาณ 119 กิโลเมตรต่อวินาที<ref name="voyager_interstellar" /> นาซากล่าวไว้ว่า ''วอยเอจเจอร์ทั้งคู่ถูกลิขิตให้เร่ร่อนไปในทางช้างเผือกอาจจะชั่วนิรันดร์" ("The ''Voyagers'' are destined—perhaps eternally—to wander the Milky Way.")<ref>{{cite web |url=http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html |title=Future |publisher=NASA |accessdate=October 13, 2013 }}</ref>'' และภายใน 300,000 ปีข้างหน้ายานจะอยู่ห่างจากดาว TYC 3135-52-1 ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ประเภท [[การจัดประเภทดาวฤกษ์|M3V]] น้อยกว่า 1 ปีแสง<ref name="Future stellar flybys of the Voyager and Pioneer spacecraft">{{cite journal|title=Future stellar flybys of the Voyager and Pioneer spacecraft|journal=Research Notes of the AAS|volume=3|issue=4|pages=59|publisher=RNAAS 3, 59|date=3 April 2019|doi=10.3847/2515-5172/ab158e|last1=Bailer-Jones|first1=Coryn A. L.|last2=Farnocchia|first2=Davide|bibcode=2019RNAAS...3d..59B}}</ref>
 
เชื่อว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะท่องไปในห้วงลึกของอวกาศโดยไม่ชนกับวัตถุใดๆ และไม่มีทางที่จะกู้คืนได้อีกแล้ว ในทางกลับกันยานสำรวจ ''[[นิวฮอไรซันส์]]'' กลับไม่เป็นเช่นนั้น แม้ความเร็วตอนปล่อยยานจากโลกจะสูงกว่ายานวอยเอจเจอร์ทั้งสองลำ แต่ยานวอยเอจเจอร์ทัั้งยเอจเจอร์ทั้งสองลำกลับได้แรงส่งจากจากบินเฉียดดาวเคราะห์หลายดวง ซึ่งทำให้ความเร็วจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์ (heliocentric velocity) เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่ยาน ''นิวฮอไรซันส์'' กลับได้แรงส่งจากการบินเฉียด[[ดาวพฤหัสบดี]]เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ในปี ค.ศ. 2019 ยาน ''นิวฮอไรซันส์'' เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 14 กิโลเมตรต่อวินาที ซึ่งช้ากว่ายาน วอยเอจเจอร์ 1 ไปประมาณ 3 กโลเมตรต่อวินาที และยังเคลื่อนที่ช้าลงเรื่อยๆ อีกด้วย<ref name="New_Horizons2006">{{cite web|url=http://pluto.jhuapl.edu/news_center/news/081706.php|title=New Horizons Salutes Voyager|date=August 17, 2006|publisher=New Horizons|accessdate=November 3, 2009|deadurl=yes|archiveurl=https://www.webcitation.org/5x3s4O3KH?url=http://pluto.jhuapl.edu/news_center/news/081706.php|archivedate=March 9, 2011|df=mdy-all}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2017 นาซาประกาศความสำเร็จในการติดเครื่องยนต์ไอพ่นควบคุมแนวโคจร (trajectory correction maneuver: TCM) ทั้งหมด 4 ตัวที่ติดตั้งบนยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ภายหลังมีการติดเครื่องยนต์ชุดนี้ครั้งแรกไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เครื่องยนต์ชุดนี้สามารถใช้แทนเครื่องยนต์ที่ใช้ในการควบคุมตำแหน่งของจานสายอากาศที่เสื่อมสภาพไปนานแล้ว ซึ่งนั่นทำให้นาซายังสามารถรับส่งข้อมูลกับยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ต่อไปได้อีก 2 ถึง 3 ปี<ref>{{cite web|url=https://www.irishtimes.com/news/science/voyager-1-spacecraft-thrusters-fire-up-after-decades-idle-1.3315654|title=Voyager 1 spacecraft thrusters fire up after decades idle|date=December 4, 2017|publisher=[[The Irish Times]]}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasa.gov/feature/jpl/voyager-1-fires-up-thrusters-after-37|title=Voyager 1 Fires Up Thrusters After 37 Years|date=December 1, 2017|publisher=[[NASA]]}}</ref>
เส้น 592 ⟶ 593:
มีการปิดการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ติดตั้งบนยานเพื่อสงวนพลังงานไว้สำหรับอุปกรณ์ที่สำคัญอื่นๆ โดยเริ่มจากอุปกรณ์วัดทางวิทยาศาสตร์ที่ไม่จำเป็นหรือได้รับข้อมูลมากเพียงพอแล้ว ขณะนี้อุปกรณ์ที่ยังเปิดใช้งานอยู่จะใช้สำหรับการศึกษาคุณสมบัติของอวกาศระหว่างดาว รวมถึงอวกาศภายนอกระบบสุริยะ ซึ่งได้แก่ รังสีคอสมิก อนุภาคมีประจุพลังงานต่ำ สนามแม่เหล็ก และคลื่นพลาสมา<ref name=":0">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status|title=Voyager - Mission Status|website=voyager.jpl.nasa.gov}}</ref>
 
ในอนาคตนาซามีแผนที่จะปิดการทำงานของเทปบันทึกดิจิตอล (DTR) ที่ใช้ในการสำรองข้อมูลในยานเมื่อรอส่งกลับมายังโลก เพื่อโอนถ่ายพลังงานไว้สำหรับระบบป้องกันเชื้อเพลิงไฮดราซีนจากการเยือกแข็ง นอกจากนี้จะหยุดการใช้งาน[[ไจโรสโคป]]ในการปฎิบัติปฏิบัติภารกิจทั่วไป โดยมีการเขียนโปรแกรมให้ทำงานในกรณีที่มีข้อบกพร่องร้ายแรงเท่านั้น
 
ภายหลังปี ค.ศ. 2020 อุปกรณ์วัดทางวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่ติดตั้งบนยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เริ่มถูกปิดการทำงานทันที หรือมีการปิดการทำงานบางส่วน แล้วใช้พลังงานไฟฟ้าร่วมกันเท่าที่พลังงานไฟฟ้าที่หลงเหลืออยู่ ท้ายสุดยานจะยังคงสื่อสารกับโลกไปจนกว่าจะถึงปี ค.ศ. 2025 ที่คาดว่าจะไม่มีพลังงานไฟฟ้าหลงเหลือสำหรับยาน สุดท้ายยานจะขาดการติดต่อกับโลกไปตลอดกาลและโคจรไปในห้วงอวกาศโดยไร้การควบคุมใดๆ<ref name="NuclearNews" /><ref name=":0" />
เส้น 602 ⟶ 603:
ยานวอยเอจเจอร์แต่ละลำบรรทุก[[แผ่นเสียง]]ที่เรียกว่า[[แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์|แผ่นจานทองคำ]] (Golden record) ซึ่งบันทึกเสียงและภาพของเหตุการณ์ต่างๆ บนโลก ในกรณีที่ยานทั้งสองได้มีโอกาสพบกับสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาอื่นใน[[ดาวเคราะห์นอกระบบ|ระบบดาวเคราะห์แห่งอื่น]]<ref name="Ferris-201205">{{cite web|last=Ferris|first=Timothy|title=Timothy Ferris on Voyagers' Never-Ending Journey|url=https://www.smithsonianmag.com/science-nature/Timothy-Ferris-on-Voyagers-Never-Ending-Journey.html|date=May 2012|publisher=[[Smithsonian Magazine]]|accessdate=August 19, 2013}}</ref> เนื้อหาในแผ่นจานประกอบด้วยภาพของโลก สิ่งมีชีวิตบนโลก ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขา คำพูดทักทายจากผู้คนเป็นภาษาต่างๆ มากถึง 55 ภาษา (เช่น จาก[[เลขาธิการสหประชาชาติ]] ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และเด็ก ๆ บนโลก รวมถึงภาษาไทย โดยภาษาไทยมีการบันทึกไว้ว่า "สวัสดีค่ะ สหายในธรณีโพ้น พวกเราในธรณีนี้ขอส่งมิตรจิตมา­ถึงท่านทุกคน") รวมถึงชุดเมดเล่ย์ "เสียงจากโลก" ที่ประกอบด้วยเสียงของ[[วาฬ]] เสียงเด็กร้อง เสียงคลื่นกระทบฝั่ง และบทเพลงของศิลปินชื่อดังมากมาย<ref name="nasa.gold">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/goldenrec.html|title=Voyager Golden record|publisher=JPL|accessdate=August 18, 2013}}</ref>
{{clear}}
== ดูเพิ่มเติมเพิ่ม ==
[[ไฟล์:Interstellar probes trajectory.svg|thumb|ตำแหน่งตาม[[ระบบพิกัดทรงกลม]]ของยานสำรวจอวกาศทั้ง 5 ลำจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์ในอวกาศระหว่างดวงดาว (สี่เหลี่ยม) และวัตถุอื่นๆ (วงกลม) จนถึงปี 2020 ระบุวันปล่อยยานและวันที่ทำการบินเฉียด จุดที่ระบุในภาพคือตำแหน่งทุกวันที่ 1 มกราคมของทุกปี และจะกำกับทุก 5 ปี]]