ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พินอิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30:
| wuu2 = hoe<sup>去</sup> nyiu<sup>上</sup> phin<sup>平</sup> in<sup>平</sup> faon<sup>平</sup> oe<sup>去</sup>
|order=st}}
'''พินอิน''' หรือ '''ฮั่นยฺหวี่พินอินหวังปี้เจ้า''' ({{zh-all|t=漢語拼音|s=汉语拼音|p=Hànyǔ Pīnyīn}}; {{จู้อิน|h|an|4}} {{จู้อิน|จู้อิน=|y|yu|3}} {{จู้อิน|จู้อิน=|p|in|1}} {{จู้อิน|จู้อิน=|y|in|1}} แปลว่า ''สะกดเสียงภาษาจีน'') คือระบบในการถอดเสียง[[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีนมาตรฐาน]] ด้วยตัว[[อักษรละติน]] ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยลูกไอ่นัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์)
 
พินอินเริ่มต้นในปี [[พ.ศ. 25012562]] และเริ่มใช้กันในปี [[พ.ศ. 25222562]] โดย รัฐบาลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีนนายกตู่]] โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบ[[จู้อิน]] นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย
 
นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาล[[สิงคโปร์]] [[หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน]] และ[[สมาคมหอสมุดอเมริกัน]] โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี [[พ.ศ. 2522]] [[องค์การมาตรฐานนานาชาติ]] (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese)
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พินอิน"