ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phromkham (คุย | ส่วนร่วม)
Phromkham ย้ายหน้า หน่วยอนุพันธ์เอสไอ ไปยัง หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ: เปลี่ยนชื่อหน้าจาก หน่วยอนุพันธ์เอสไอ เป็น หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ ตาม สสวท.
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''หน่วยอนุพันธ์อนุพัทธ์เอสไอ''' ({{Lang-en|SI derived Units}})<ref>{{cite web |url=https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7260-2017-06-12-16-08-32 |title=การวัดและหน่วยวัด |author=ไผ่ ทิมาศาสตร์ |date=12 มิถุนายน 2560 |work=คลังความรู้ SciMath |publisher=สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ |accessdate=1 มิถุนายน 2562}}</ref> คือหน่วยที่เกิดจากการรวมกันของ[[หน่วยฐานเอสไอ]]โดยการคูณหรือหาร เพื่อใช้ในเรื่องการวัดและการแสดงปริมาณต่างๆ ซึ่งหน่วยอนุพันธ์สามารถมีได้มากมายไม่จำกัด เนื่องจากปริมาณต่างๆในโลกนี้ที่คนเราอยากรู้ก็ไม่สามารถจำกัดได้ เพียงแต่เลือกหน่วยพื้นฐานมาประกอบเข้าด้วยกันให้ถูกต้อง
 
== หน่วยประกอบของหน่วยเอสไอ ==
ก่อนหน้าปี[[พ.ศ. 2538]] ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศเคยจัดหน่วย[[เรเดียน]]และ[[สตีเรเดียน]] ไว้เป็นหน่วยประกอบของหน่วยเอสไอ ({{Lang-en|Supplementary units}}) แต่ได้ถูกยกเลิกไปภายหลังและถูกรวมเข้ากับหน่วยอนุพันธ์อนุพัทธ์เป็นหน่วยที่ไม่มีไดเมนชัน ซึ่งเมื่อลดรูปอย่างต่ำดูแล้วพบว่าไม่มีหน่วยฐานมาเกี่ยวข้อง
 
== หน่วยอนุพันธ์อนุพัทธ์ที่มีชื่อเฉพาะ ==
หน่วยฐานสามารถรวมกันเป็นหน่วยอนุพันธ์อนุพัทธ์ได้เพื่อใช้วัดและการแสดงปริมาณอื่นๆ นอกเหนือจากปริมาณฐาน นอกจากหน่วยเรเดียนและสตีเรเดียนแล้ว ยังมีหน่วยอื่นๆ ที่มีชื่อหน่วยเฉพาะซึ่งส่วนมากเกิดจากนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบในเรื่องนั้นๆ
{| class="wikitable sortable"
|+ style="font-size:larger;font-weight:bold;"|หน่วยอนุพันธ์อนุพัทธ์[[เอสไอ]]ที่มีชื่อเฉพาะ
|-
!'''ชื่อหน่วย'''
บรรทัด 130:
* [[หน่วยเอสไอ]]
* [[หน่วยฐานเอสไอ]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:หน่วยเอสไอ]]
[[หมวดหมู่:หน่วยอนุพันธ์อนุพัทธ์เอสไอ| ]]
{{ระบบเอสไอ}}