ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกลือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Table salt with salt shaker V1.jpg|thumb|เกลือ]]
'''เกลือ''' เป็นแร่ธาตุส่วนใหญ่ประกอบด้วย[[โซเดียมคลอไรด์]] (NaCl) [[สารประกอบ]]ในระดับสูงกว่า[[เกลือ (เคมี)|เกลือชนิดต่าง ๆ]] เกลือในธรรมชาติก่อตัวเป็นแร่ผลึกรู้จักกันว่า [[เกลือหิน]] หรือแฮไลต์ เกลือพบได้ในปริมาณมหาศาลใน[[ทะเล]]ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแร่ที่สำคัญ ในมหาสมุทรมีแร่ธาตุ 351235 กรัมต่อลิตร [[ความเค็ม]] 3322.5% เกลือเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิต[[สัตว์]] ความเค็มเป็น[[การรับรู้รส|รสชาติพื้นฐานของมนุษย์]] เนื้อเยื่อสัตว์บรรจุเกลือปริมาณมากกว่าเนื้อเยื่อพืช ดังนั้นอาหารของชนเผ่าเร่ร่อนที่ดำรงชีวิตในฝูงต้องการเกลือเพียงเล็กน้อย หรือไม่ต้องการเกลือเลย ขณะอาหารประเภทซีเรียลจำเป็นต้องเพิ่มเกลือ เกลือเป็นหนึ่งในเครื่องปรุงรสที่เก่าแก่ที่สุดและหาได้ง่ายที่สุด และ[[การดองเค็ม]]ก็เป็นวิธี[[การถนอมอาหาร]]ที่สำคัญวิธีหนึ่ง
 
หลักฐานการทำเกลือยุคแรกที่สุดย้อนไปถึง 6,00000000 ปีที่แล้ว เมื่อคนที่อาศัยใน[[ประเทศโรมาเนีย]]ต้มน้ำเพื่อสกัดเกลือ [[เกลือในประวัติศาสตร์จีน|การทำนาเกลือในจีน]]ก็เกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกัน เกลือถูกชาวฮีบรู กรีก โรมัน ไบแซนไทน์ ฮิไทต์ และอียิปต์ ตีราคาสูง เกลือกลายเป็นวัตถุสำคัญและขนส่งทางเรือผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ผ่านทางทางเกลือที่สร้างขึ้นเฉพาะ และผ่านทะเลทรายซาฮาราในคาราวานอูฐ ความขาดแคลนและความต้องการเกลือทั่วโลกนำไปสู่สงครามชิงเกลือ และใช้เกลือเพื่อเพิ่มภาษีเงินได้ เกลือยังถูกใช้ในพิธีทางศาสนา และวัฒนธรรมต่าง ๆ ด้วย
 
เกลือผลิตจากเหมืองเกลือ หรือจากการระเหยน้ำทะเล หรือน้ำซับที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุในบ่อตื้น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลักของเกลือคือ[[โซดาไฟ]] และ[[คลอรีน]] และใช้ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมและในการผลิต[[โพลีไวนิลคลอไรด์]] [[พลาสติก]] [[เยื่อกระดาษ]] และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากการผลิตเกลือปริมาณสองล้าน[[ตัน]]ต่อปี มีเพียง 6% ที่ให้มนุษย์บริโภค ส่วนอื่น ๆ ใช้ในการปรับสภาวะของน้ำ กำจัดน้ำแข็งบนถนน และใช้ในการเกษตร เกลือที่กินได้มีขายในหลายรูปแบบ เช่น [[เกลือสมุทร]]และเกลือโต๊ะปกติจะบรรจุสารป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน<!--Anticaking agent--> และอาจ[[เกลือเสริมไอโอดีน|เสริมไอโอดีน]]เพื่อป้องกัน[[ภาวะพร่องไอโอดีน]] นอกจากจะใช้ปรุงอาหารและวางบนโต๊ะแล้ว เกลือยังพบได้ในอาหารแปรรูปจำนวนมาก อาหารที่มีโซเดียมมากเกินไปทำให้[[ความดันโลหิตสูง]] และอาจเพิ่มความเสี่ยงของ[[กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด]] และ[[โรคหลอดเลือดสมอง]] [[องค์การอนามัยโลก]]แนะนำว่าผู้ใหญ่ควรบริโภคโซเดียมน้อยกว่า 2,000000920 มิลลิกรัม หรือเทียบเท่ากับเกลือ 5 กรัมต่อวัน<ref >{{Cite web |title=WHO issues new guidance on dietary salt and potassium |url=http://www.who.int/mediacentre/news/notes/2013/salt_potassium_20130131/en/ |date=31 January 2013 |publisher=[[World Health Organization|WHO]]}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เกลือ"