ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วรรณยุกต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
==== ภาษาไทยมาตรฐาน ====
[[ภาษาไทย|ภาษาไทยมาตรฐาน]]มีวรรณยุกต์ 5 เสียง คือ
# คา ([kʰaa˧])
# ข่า ([kʰaa˨˩])
# ข้า/ค่า ([kʰaa˥˩])
# ค้า ([kʰaa˦˥])
# ขา ([kʰaa˨˦])
ทุกคำที่กล่าวข้างบน ล้วนแต่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะเดียวกัน คือ [kʰ] (มิใช่รูปพยัญชนะ คือ ข ค) และเสียงสระเดียวกัน คือ [aa] แต่มีเสียงวรรณยุกต์ซึ่งไม่เหมือนกัน (มิใช่รูปพยัญชนะ เช่น ไม้เอก ไม้โท)
 
==== ภาษาลาวถิ่นเวียงจันทน์ ====
[[ภาษาลาว]]ถิ่น[[เวียงจันทน์]]ส่วนใหญ่มีวรรณยุกต์ 6 เสียง คือ
# กา (ກາ) ([kaa˨˩])
# ขา (ຂາ) ([kʰaa˨˦])
# ข่า/ค่า (ຂ່າ/ຄ່າ) ([kʰaa˧])
# ข้า (ຂ້າ) ([kʰaa˧˩])
# คา (ຄາ) ([kʰaa˧˥])
# ค้า (ຄ້າ) ([kʰaa˥˩])
ดั่งภาษาไทย ทุกคำที่กล่าวข้างบน ยกเว้น กา ล้วนแต่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะเดียวกัน คือ [kʰ] (มิใช่รูปพยัญชนะ คือ ข ค) และเสียงสระเดียวกัน คือ [aa] แต่มีเสียงวรรณยุกต์ซึ่งไม่เหมือนกัน (มิใช่รูปพยัญชนะ เช่น ไม้เอก ไม้โท)
 
==== ภาษาไทยถิ่นเชียงใหม่ ====
[[คำเมือง]]ถิ่น[[เชียงใหม่]]ส่วนใหญ่มีวรรณยุกต์ 6 เสียง คือ
# กา /ka:˦˦/[kaa˦˦]
# ก่า /ka:˨˨/[kaa˨˨]
# ก้า /ka:˦˩/[kaa˦˩]
# ก้า (โทพิเศษ) /ka:˥˧/[kaa˥˧]
# ก๊า /ka:˦˥˦/[kaa˦˥˦]
# ก๋า /ka:˩˦/[kaa˩˦]
ทุกคำที่กล่าวข้างบน ล้วนแต่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะเดียวกัน คือ [gk] และเสียงสระเดียวกัน คือ [aaa] แต่มีเสียงวรรณยุกต์ซึ่งไม่เหมือนกัน และไม่มีในภาษาไทย
 
=== ภาษาจีนกลาง ===