ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎สาเหตุ: เขียนผิด
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
บรรทัด 20:
| deaths = 73,400 (2015)<ref name=GBD2015De>{{cite journal|last1=GBD 2015 Mortality and Causes of Death|first1=Collaborators.|title=Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015.|journal=Lancet|date=8 October 2016|volume=388|issue=10053|pages=1459–1544|pmid=27733281|doi=10.1016/S0140-6736(16)31012-1}}</ref>
}}
'''โรคหัด''' ({{lang-en|measles}}) เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่ติดต่อกันได้ง่ายมาก เกิดจากเชื้อ[[Measles virus|ไวรัสหัด]]<ref name=MM2014>{{cite web|title=Measles|work=Merck Manual Professional|publisher=Merck Sharp & Dohme Corp.|date=September 2013|accessdate=23 March 2014|url=http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|editor=Caserta, MT|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140323104756/http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|archivedate=23 March 2014|df=}}</ref><ref>{{cite web|title=Measles (Red Measles, Rubeola)|url=http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|website=Dept of Health, Saskatchewan|accessdate=10 February 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150210111358/http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|archivedate=10 February 2015|df=}}</ref> ในระยะแรกผู้ป่วยจะมี[[ไข้]] ซึ่งมักเป็นไข้สูง (>40 องศาเซลเซียส) [[ไอ]] [[น้ำมูกไหล]]จาก[[เยื่อจมูกอักเสบ]] และ[[ตาแดง]]จาก[[เยื่อตาอักเสบ]]<ref name=MM2014/><ref name=CDC2014SS/> ในวันที่ 2-3 จะเริ่มมีจุดสีขาวขึ้นในปาก เรียกว่า[[Koplik's spots|จุดของคอปลิก]]<ref name=CDC2014SS/> จากนั้นในวันที่ 3-5 จะเริ่มมีผื่นเป็นผื่นแดงแบน เริ่มขึ้นที่ใบหน้า จากนั้นจึงลามไปทั่วตัว<ref name=CDC2014SS>{{cite web|title=Measles (Rubeola) Signs and Symptoms|url=https://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|website=cdc.gov|accessdate=5 February 2015|date=November 3, 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150202192809/http://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|archivedate=2 February 2015|df=}}</ref> อาการมักเริ่มเป็น 10-12 หลังจากรับเชื้อ และมักเป็นอยู่ 7-10 วัน<ref name=WHO2014/><ref name=Conn2014>{{cite book|title=Conn's Current Therapy 2015: Expert Consult – Online|date=2014|publisher=Elsevier Health Sciences|isbn=9780323319560|page=153|url=https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>สามารถพบภาวะแทรกซ้อนได้ราว 30% ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้แก่ [[ท้องร่วง]] [[ตาบอด]] [[สมองอักเสบ]] [[ปอดอักเสบ]] และอื่นๆอื่น ๆ<ref name=WHO2014/><ref name=CDC2012Pink/> โรคนี้เป็นคนละโรคกับ[[โรคหัดเยอรมัน]]และ[[Roseola|หัดกุหลาบ]]<ref>{{cite book|last1=Marx|first1=John A.|title=Rosen's emergency medicine : concepts and clinical practice|date=2010|publisher=Mosby/Elsevier|location=Philadelphia|isbn=9780323054720|pages=1541|edition=7th|url=https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>
 
โรคหัด[[Airborne disease|ติดต่อทางอากาศ]] เชื้อหัดจะออกมาพร้อมกับการไอและ[[การจาม]]ของผู้ป่วย<ref name=WHO2014/> นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำลายหรือน้ำมูกของผู้ป่วยได้ด้วย<ref name=WHO2014/> หากมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและอยู่ในที่เดียวกันกับผู้ติดเชื้อ จะเกิดการติดเชื้อถึงเก้าในสิบ<ref name=CDC2012Pink/> ผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ตั้งแต่ 4 วันก่อนมีอาการ ไปจนถึง 4 วัน หลังเริ่มมีผื่น.<ref name=CDC2012Pink>{{cite book|last1=Atkinson|first1=William|title=Epidemiology and Prevention of Vaccine-Preventable Diseases|date=2011|publisher=Public Health Foundation|isbn=9780983263135|pages=301–323|edition=12|url=https://www.cdc.gov/vaccines/pubs/pinkbook/meas.html|accessdate=5 February 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150207061223/http://www.cdc.gov/vaccines/pubs/pinkbook/meas.html|archivedate=7 February 2015|df=}}</ref> ส่วนใหญ่เมื่อเป็นแล้วจะไม่เป็นอีก<ref name=WHO2014/> การตรวจหาเชื้อไวรัสในผู้ป่วยรายที่สงสัย จะมีประโยชน์ในการควบคุมโรค<ref name=CDC2012Pink/>
บรรทัด 31:
เกิดจากเชื้อ[[ไวรัสรูบิโอลา|ไวรัส]]มีเซิล (Measles virus) ซึ่งจะพบมากในน้ำลายของผู้ป่วยติดต่อโดยการไอ จาม หายใจรดกัน หรือการสัมผัสสิ่งของเครื่องใช้ร่วมกัน '''ระยะฟักตัว 9-11 วัน'''
== อาการ ==
มีอาการตัวร้อนขึ้นทันทีทันใด ในระยะแรกมีอาการคล้ายไข้หวัด แต่ผิดกันตรงที่จะมีไข้สูงตลอดเวลา กินยาลดไข้ ไข้ก็ไม่ลด เด็กจะซึม กระสับกระส่าย ร้องกวน เบื่ออาหาร มีน้ำมูกใสๆใส ๆ ไอแห้งๆแห้ง ๆ น้ำตาไหล ไม่สู้แสง หนังตาบวม จะมีอาการถ่ายเหลวบ่อยครั้งเหมือนท้องเดินในระยะก่อนที่จะมี[[ผื่น]] หรืออาจชักจากไข้สูง'''ผื่นของหัดจะขึ้นจากตีนผม ซอกคอก่อน แล้วลามไปตามใบหน้าลำตัวและแขนขา'''
ลักษณะเฉพาะของหัดคือจะมีผื่นขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน มักจะขึ้นในวันที่ 4 ของไข้ เป็นผื่นเท่าหัวเข็มหมุดที่ตีนผมก่อนและซอกคอ ผื่นนี้จะจางหายได้เมื่อดึงรั้งผิวหนังให้ตึง เป็นแผ่นกว้าง รูปร่างไม่แน่นอน อาจมีผื่นคันเล็กน้อย ผื่นจะไม่จางหายไปในทันที จะจางหายไปใน 4-7 วัน และจะเหลือให้เห็นเป็นรอยสีน้ำตาล บางราย
 
== สิ่งตรวจพบ ==
ไข้ 38.5-40.5 องศาเซลเซียส หรือบางรายอาจสูงกว่านั้นก็เป็นได้ หน้าแดง ตาแดง หน้าตาบวมคู่ เปลือกตาแดง บางรายมีอาการปวดตาเมื่อกลอกตาสุด ระยะ 2 วันหลังมีไข้ พบจุดสีขาวๆขาว ๆ เหลือง หรือ แดงขนาดเล็กๆ คล้ายเม็ดงาที่กระพุ้งแก้มด้านในบริเวณใกล้ฟันกรามล่าง หรือ ฟันกรามด้านบนสองซี่สุดท้าย เรียกว่า'''จุดค็อปลิก (Koplik's spot) ''' ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของหัดและจะหายไป หลังไข้ขึ้น 2-4 วันจะพบผื่นที่หน้า หลังหู ซอกคอ ลำตัว โดยเริ่มขื้นจากด้านบนก่อน ต่อมน้ำเหลืองที่คอด้านซ้ายและขวาบวมขื้น ปอดจะมีเสียงปกติ ยกเว้นถ้ามีโรคปอดอักเสบแทรก เมื่อใช้เครื่องฟังจะได้ยินเสียงกรอบแกรบ (crepitation)
 
== อาการแทรกซ้อน ==
มักจะพบในเด็กขาดสารอาหารร่างกายอ่อนแอ ที่พบบ่อยคือ ปอดอักเสบ ท้องเดิน ซึ่งมักจะพบหลังผื่นขึ้น หรือไข้เริ่มทุเลาลงแล้ว ที่รุนแรงถึงตายได้ คือ สมองอักเสบ นอกจากนี้ ยังทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลงมีโอกาสเป็น[[วัณโรคปอด]]ได้ง่ายขึ้น
== การรักษา ==
# ปฏิบัติตัวเหมือนไข้หวัด คือ พักผ่อนมากๆมาก ๆ ไม่อาบน้ำเย็น ใช้ผ้าชุบตัวเมื่อมีไข้สูง ดื่มน้ำและน้ำหวานหรือน้ำผลไม้ให้มากๆมาก ๆ
# ให้ยารักษาตามอาการ เช่นยาลดไข้ Paracetamol ผู้ใหญ่ ครั้งละ 1-2 เม็ด (500 มิลลิกรัม) เด็กให้ชนิดน้ำเชื่อม (120 มิลลิกรัมต่อช้อนชา ) เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ให้ครั้ง ครึ่งช้อนชา อายุ 1-4 ปี ให้ 1 ช้อนชา
# ห้ามใช้[[ยาปฏิชีวนะ]] ตั้งแต่ระยะแรกเพราะไม่มีความจำเป็น
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โรคหัด"