ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรกลีเซอไรด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8185008 สร้างโดย 122.155.38.232 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Fat triglyceride shorthand formula.svg|thumb|ตัวอย่างไตรกลีเซอไรด์ ซ้าย: [[กลีเซอรอล]], ขวาจากบนลงล่าง: [[กรดพาล์มมิติก]], [[กรดโอเลอิก]], [[กรดลิโนเลนิก]], สูตรเคมี: C<sub>55</sub>H<sub>98</sub>O<sub>6</sub>]]
 
'''ไตรกลีเซอไรด์''' (triglyceride) หรือ'''ไตรเอซิลกลีเซอรอล''' (Triacylglycerol) เป็นไขมันที่ประกอบด้วย[[กรดไขมัน]]สามโมเลกุลรวมตัวกับ[[กลีเซอรอล]]หนึ่งโมเลกุล กรดไขมันที่มาประกอบเป็นไตรกลีเซอไรด์นั้นอาจจะเป็นกรดไขมันชนิดเดียวกัน เช่น ไตรสเตียริน มี[[กรดสเตียริก]]เป็นองค์ประกอบเท่านั้น หรือเป็นกรดไขมันคนละชนิด เช่น 1-พาล์มิโทสเตียริน (1-Palmitostearin) หมายถึงไตรกลีเซอไรด์ที่กรดไขมันตัวแรกเป็น[[กรดพาล์มมิติกปาลมิติก]] ส่วนกรดไขมันตัวที่ 2 และ 3 เป็นกรดสเตียริก เป็นพลังงานสะสมในสัตว์ และใช้สะสมใต้ผิวหนังเพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกาย โดยสะสมในเซลล์ไขมัน (Adipocyte หรือ Fat cell) ในรูปเม็ดไขมัน หรืออยู่ในรูปไมเซลล์ (Micelle)
 
ปัญหาและอันตรายจากโรคไตรกลีเซอไรด์สูงในเลือดทำให้ หลอดเลือดแดงแข็งตัว ถ้าเกิดที่หัวใจทำให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือด ถ้าเกิดที่สมองทำให้เป็น[[อัมพาต]] หรือ ทำให้เกิดอาการร่วมคือ ปวดท้อง ตับโต ม้ามโต และทำให้ระบบประสาททำงานผิดปกติ ปวดข้อ แหล่งอาหารที่ทำให้ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ได้แก่ อาหารทุกชนิดที่มีปริมาณไขมันสูง โดยเฉพาะไขมันสัตว์ น้ำตาล อาหารรสหวานจัด ขนมหวานทุกชนิด เนื่องจากร่างกายสามารถนำไปสร้างเป็นไตรกลีเซอไรด์ คนอายุ 30 ปีขึ้นไปไม่ควรมีค่า triglyceride เกิน 200 mg/dl