ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กติกาสัญญาไตรภาคี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 28:
}}
{{ความหมายอื่น|ขั้วอำนาจในสงครามโลกครั้งที่สอง|สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ไตรภาคี}}
'''กติกาสัญญาไตรภาคี''' ({{lang-en|Tripartite Pact}}, {{ญี่ปุ่น|日独伊三国間条約||นิชิโดะกุนิ ซังโงะกุกัง โจยะกุ}}) หรือ '''กติกาสัญญาเบอร์ลิน''' เป็นความตกลงทางการทหาร ทำขึ้นระหว่าง [[นาซีเยอรมนี]], [[ราชอาณาจักรอิตาลี]] และ [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]] ในปี ค.ศ. 1940 ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของพันธมิตร[[ฝ่ายอักษะ]] ซึ่งภายหลังก็ได้มีอีกหลาย ๆ ชาติร่วมลงนามในกติกาสัญญารูปแบบเดียวกันนี้ อันได้แก่ [[ราชอาณาจักรฮังการี|ฮังการี]] (20 พฤศจิกายน 1940), [[ราชอาณาจักรโรมาเนีย|โรมาเนีย]] (23 พฤศจิกายน 1940), [[ราชอาณาจักรบัลแกเรีย|บัลแกเรีย]] (1 มีนาคม 1941) และ [[ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย|ยูโกสลาเวีย]] (25 มีนาคม 1941) ต่อมาการรัฐประหารใน[[เบลเกรด]] เป็นตัวจุดชนวนให้อิตาลีและเยอรมนี เข้ารุกรานยูโกสลาเวีย (ตลอดจน บัลแกเรีย และ ฮังการี) ซึ่งการรุกรานครั้งนี้ทำให้รัฐอิสระโครเอเชีย ยอมเข้าร่วมฝ่ายอักษะในวันที่ 15 มิถุนายน 1941
 
== ข้อความ ==