ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 26:
ในช่วงปลายของกรุงศรีอยุธยา [[นครเชียงใหม่]]เป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนลำปางเป็นนครรัฐอิสระ กระทั่งท้าวหนานมหายศ เจ้าเมืองลำพูนยกทัพมาตีชนะเมืองลำปาง และตั้งศูนย์บัญชาการที่วัดพระธาตุลำปางหลวง เหล่าบรรดาประชาชนจึงได้ขอให้หนานทิพย์ช้าง นายพรานผู้เก่งกล้าและเชี่ยวชาญอาวุธปืนยาวและหน้าไม้ เป็นผู้นำในการกอบกู้นครลำปาง โดยสามารถรบชนะและสังหารท้าวมหายศได้ที่วัดพระธาตุลำปางหลวง ชาวเมืองจึงร่วมกันสถาปนาหนานทิพย์ช้าง ขึ้นครองนครลำปาง ในปี พ.ศ. 2275<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref> มีพระนามว่า '''พระญาสุลวะลือไชย'''
 
ด้วยล้านนามีคติว่า ''"บ่ใจ้เจื้อท้าวพระญา จักใจ้เจื้อเจ้าก่ออย่าหวังเป๋นพระญาบ่ได้ญา บ่ใจ้เจื้อเสนาก่ออย่าหวังเป๋นอำมาตย์ บ่ใจ้เจื้อคนแกล้วอาจก่ออย่าหวังเป๋นขุนหาญ บ่ใจ้เจื้อนักก๋านก่ออย่าหวังเป๋นเถ้าแก่''"<ref>คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, ''คำสอนพระยามังราย'ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่''', พระนคร : โรงพิมพ์สำนักนายกรัฐมนตรี, 2514,. หน้า 4921</ref> หนานทิพย์ช้างซึ่งเป็นเพียงสามัญชนรู้สึกว่าตนเองไม่มีสิทธิธรรมในการปกครอง จึงต้องอาศัยความชอบธรรมโดยการแต่งตั้งของกษัตริย์พม่า หนานทิพย์ช้างได้ส่งเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงอังวะ และได้รับการเฉลิมพระนามจากพระเจ้ากรุงอังวะเป็น'''พระยาไชยสงคราม''' ในปี พ.ศ. 2278<ref>คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, '''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่''', พระนคร : โรงพิมพ์สำนักนายกรัฐมนตรี, 2514, หน้า 88</ref> บางตำราจึงมักออกพระนามรวมกันเป็น'''พระยาสุลวะลือไชยสงคราม''' พระองค์ปกครองนครลำปางได้ 27 ปี จึงถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2302
 
== พระราชบุตร ==