ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรน์ฮาร์ท แชร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox military person
| name = ไรน์ฮาร์ท เชียร์แชร์
| image = [[ภาพ:Almirante Reinhard Scheer.jpg|200px]]
| image_size =
บรรทัด 6:
| nickname =
| birth_date = {{Birth date|1863|09|30|df=y}}
| birth_place = [[Obernkirchen|โอเบอร์เชียร์เชินเบิร์นเคียร์เชิน]] [[รัฐผู้คัดเลือกเฮ็สเซิน]]
| death_date = {{Death date and age|1928|11|26|1863|09|30|df=y}}
| death_place = [[Marktredwitz|มาร์คเทร็ทวิทซ์มาคท์เร็ทวิทซ์]] [[สาธารณรัฐไวมาร์|ประเทศเยอรมนี]]
| placeofburial =
| allegiance = {{flag|German Empire}}
| branch = {{navy|German Empire}}
| serviceyears = 1879–1918ค.ศ. 1879–1918
| rank = พลเรือเอก ({{lang|de|''Admiral''}})
| unit =
| commands =
บรรทัด 22:
}}
 
'''คาร์ล ฟรีดริช ไฮน์ริช ไรน์ฮาร์ท เชียร์แชร์''' ({{lang-de|''Carl Friedrich Heinrich Reinhard Scheer''}}) เป็นพลเรือเอกแห่ง[[จักรวรรดิเยอรมัน]] เป็นผู้บังคับการกองเรือทะเลหลวง และเป็นผู้บัญชาการกรมบัญชาการสมรภูมินาวี[[เซครีคส์ไลทุง|กรมบัญชาการสมรภูมินาวี]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
 
เชียร์แชร์เข้าศึกษาที่โรงเรียนนายเรือจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1879 เขาเป็นนักเรียนระดับแถวหน้าของรุ่นและได้รับการติดยศเรือตรีในปี ค.ศ. 1886 และมีความก้าวหน้าเรื่อยมาจนได้เป็นผู้บังคับการเรือลาดตระเวนและเรือประจัญบาน เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งปะทุขึ้นในปี ค.ศ. 1915 เชียร์แชร์มีตำแหน่งเป็นผู้บังคับหมวดเรือที่ 2 ของกองเรือทะเลหลวง ({{lang|de|''Hochseeflotte''}}) และต่อมาได้เป็นผู้บังคับหมวดเรือที่ 3 ซึ่งเป็นมีเรือรบทันสมัยและทรงอานุภาพที่สุดในกองทัพเรือจักรวรรดิ เชียร์แชร์ได้เลื่อนยศเป็นพลเรือเอกในเดือนมกราคม ค.ศ. 1916 และได้เป็นผู้บังคับการกองเรือทะเลหลวง เชียร์แชร์นำกองเรือเยอรมันเข้าร่วมใน[[ยุทธนาวีที่จัตแลนด์]] ระหว่าง 31 พฤษภาคม–1 มิถุนายน ค.ศ. 1916 ซึ่งเป็นหนึ่งในการรบทางทะเลที่ดุเดือดที่สุดในประวัติศาสตร์การทัพเรือ เขามีฉายาที่พวกทหารเรือตั้งให้ว่า "บุรุษหน้ากากเหล็ก"<ref name=Herwig139>Herwig, p. 139</ref>
 
ภายหลังยุทธนาวีที่จัตแลนด์ เชียร์แชร์เข้าร่วมโครงการพัฒนาสมรภูมิเรือดำน้ำไม่จำกัดขอบเขตเพื่อต่อต้านฝ่ายสัมพันธมิตร และแผนการก็ได้รับการอนุมัติจากองค์[[ไกไคเซอร์]] ต่อมาในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1918 เชียร์แชร์ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการ[[เซครีคส์ไลทุง|กรมบัญชาการสมรภูมินาวี]] ({{lang|de|''Seekriegsleitung''}}) โดยมี[[Franz von Hipper|พลเรือเอก ฟ็อน ฮิพเพอร์]] รับช่วงเป็นผู้บังคับการกองเรือทะเลหลวงคนใหม่<ref>Scheer, pp. 332–333</ref> พลเรือเอกเชียร์แชร์ได้เข้าหารือกับ[[เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค|จอมพลฮินเดินบวร์ค]]และ[[เอริช ลูเดินดอร์ฟ|พลเอกอาวุโสลูเดินดอร์ฟ]] ทั้งสามเห็นว่าปฏิบัติการเรือดำน้ำเป็นทางเดียวที่จะกู้สถานการณ์ได้เนื่องจากกองทัพบกเยอรมันถูกทัพสัมพันธมิตรผลักดันจนถึงแนวรับแล้ว<ref>Scheer, p. 333</ref> เชียร์แชร์เสนอให้ต่อ[[เรืออู]]ใหม่ราว 376 ถึง 450 ลำให้เสร็จภายในไตรมาสสาม ค.ศ. 1919<ref>Herwig, p. 222</ref>
 
ตุลาคม ค.ศ. 1918 ท่ามกลางสถานการณ์ทัพที่แย่ลงเรื่อยๆเรื่อย เชียร์ๆ แชร์และฮิพเพอได้ร่วมวางแผนในการทำยุทธนาวีครั้งสุดท้ายในการพิชิตกองเรือใหญ่ของราชนาวีอังกฤษ<ref>Tarrant, pp. 280–281</ref> แผนการนี้ถูกสั่งการลงไปเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม อย่างไรก็ตาม ในคืนวันที่ 29 ตุลาคม เหล่าทหารเรือในท่าวิลเฮ็ล์มวิลเฮ็ลมส์ฮาเฟินไม่ยอมแล่นเรือออก เรือรบ 3 ลำในหมวดเรือที่สามไม่ยอมถอนสมอเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้าน เนื่องจากทหารเรือเหนื่อยล้าจากสงครามมากมากเกินพอแล้ว ท้ายที่สุด แผนยุทธนาวีนี้ต้องล้มเลิกไป<ref>Tarrant, pp. 281–282</ref> พลเรือเอกเชียร์แชร์เกษียณตัวเองจากกองทัพเรือในอีกสองสัปดาห์ต่อมา
 
พลเรือเอกเชียร์แชร์ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1928 ก่อนกำหนดการเดินทางไปอังกฤษเพื่อพบปะอริเก่า ผู้บังคับการฝ่ายอังกฤษในยุทธการยุทธนาวีที่จัตแลนด์ ร่างเขาถูกฝังไว้ที่เมือง[[ไวมาร์]] ต่อมามีการตั้งชื่อเรือลาดตระเวนหนักตามเขาว่า [[เรือลาดตระเวนอัดมีราลเชียร์พลเรือเอกแชร์]]
 
พลเรือเอกเชียร์ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1928 ก่อนกำหนดการเดินทางไปอังกฤษเพื่อพบปะอริเก่า ผู้บังคับการฝ่ายอังกฤษในยุทธการยุทธนาวีที่จัตแลนด์ ร่างเขาถูกฝังไว้ที่เมือง[[ไวมาร์]] ต่อมามีการตั้งชื่อเรือลาดตระเวนหนักตามเขาว่า [[เรือลาดตระเวนอัดมีราลเชียร์]]
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|2}}