ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8223731 โดย 2403:6200:8851:F58F:3C54:7E40:17D6:660Aด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 2:
{{ดูเพิ่มที่|ไทย (แก้ความกำกวม)}}
[[ไฟล์:Flag of Siam (1855).svg|thumb|ທຸງຊ້າງເຜືອກ ທຸງຊາດສະຫຍາມ ພ.ສ. 2398 - 31 ທັນວາ ພ.ສ. 2459|ธงชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459]]
'''สยาม''' ([[อักษรละติน]]: Siam, [[อักษรเทวนาครี]]: श्याम) เป็นชื่อเรียก[[ประเทศไทย]]ในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง [[ราชบัณฑิตยสถาน]] ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ(ได้ยินเป็นหลักฐานครั้งแรก สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ ไม่ได้ตรัสเรียกเป็นชื่อประเทศ แต่เรียกเป็นชาวสยาม)<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ </ref> สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นต้นมา<ref name="ททท"/> ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ชื่อ "สยาม" ในการทำสนธิสัญญากับต่างชาติเป็นเวลาหลายศตวรรษ เนื่องจากราชอาณาจักรประกอบด้วยคนหลายชาติพันธุ์ อาทิ ไท ลาว มอญ ญวน เขมร แขก จีน ฝรั่ง และมลายู พระมหากษัตริย์ไทยจึงเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า ประเทศสยาม เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน<ref>ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.</ref> อีกทั้ง ชื่อ ''สยาม'' นั้น ก็ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการของต่างประเทศอีกด้วย{{อ้างอิง}}
 
ในปัจจุบันมีความพยายามที่จะเปลี่ยนชื่อประเทศไทย กลับไปเป็นสยาม{{อ้างอิง}} แต่จะเห็นว่าคนไทยเดิมไม่เรียกตัวเองว่า สยาม กลับเป็นคนกลุ่มมอญ-เขมร ที่เรียกคนที่ใช้ภาษาตระกูลไท-ลาว เดี๋ยวนี้ชาวบรู (มอญ-เขมร) ในเขตมุกดาหาร เรียกพวกผู้ไทว่า "เซียม" รวมถึงในเขตจีน-พม่า คนไท มักถูกพวกละว้า เรียกว่าเซียม และโดยลักษณะการเรียกชื่อชนชาติอื่น เหมือนที่จีนเรียกพวกไท ว่า ไป่เยว่ หรือลาว เรียกพวกที่พูดภาษามอญ-เขมร ในลาว ว่า "ข่า" เป็นต้น{{อ้างอิง}}
บรรทัด 22:
* ตาม[[ภาษามอญ]] เรียกคนไทยว่า "หรั่ว เซม" (หรั่ว ภาษามอญแปลว่าพวก) จนกระทั่งปัจจุบัน {{อ้างอิง}}
* [[ชาวมลายู]]และผู้มีเชื้อสายมลายู (รวมถึงในประเทศไทย) ใช้คำเรียกไทยว่า "สยาม" (โดยใน[[ภาษามลายูปัตตานี]]จะออกเสียงว่า สิแย) มาจนถึงปัจจุบัน (ดังเช่นที่ปรากฏในเอกสารของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในบริเวณจังหวัดชายแดนภาคใต้) {{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
* ใน[[ภาษาเขมร]] คำว่า "สยาม" หมายถึง "ขโมย" โดยออกเสียงว่า "ซี-เอม" เมือง[[เสียมราฐ]] ซึ่งอยู่ใกล้กับ[[นครวัด]] จึงมีความหมายว่า "พวกขโมยพ่ายแพ้" ดังนั้น ความหมายของคำว่า "สยาม" ในภาษาเขมรจึงหมายถึง "พวกขโมยป่าเถื่อน" เนื่องจากในยุคที่ขอมเรืองอำนาจ มีคนไทที่อพยพมาจากทางเหนือเข้าสู่ดินแดนภาคอีสานของเขมรซึ่งอาจเข้ามาโดยการกวาดต้อนของชาวเขมรเองเพื่อใช้เป็นแรงงานในการสร้างปราสาทหินต่างๆ คำว่า "สยาม" จึงเป็นคำเขมรที่ใช้เรียกกลุ่มคนไทซึ่งในเวลานั้นชาวเขมรยังมองว่าเป็นแค่คนป่า บนรูปสลักฝาผนัง ณ [[นครวัด]] [[ประเทศกัมพูชา]]ที่แสดงถึงกำลังพลจากอาณาเขตต่าง ๆ ที่ได้เข้ามาร่วมกับ[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 7]] มีภาพกองกำลังกองหนึ่งที่มีคำบรรยายใต้ภาพว่า "เนะ สยฺมกุก" (เนะ สยำกุก) <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ชำนาญ สัจจะโชติ
| ชื่อหนังสือ = สยำกุก-นครวัด กองทัพศรีวิชัย
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สยาม"