ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอเธล์วูลฟ์ กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Darkydury (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
<br />{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์|ชื่อ=พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟ|ภาพ=ภาพ:Æthelwulf - MS Royal 14 B VI.jpg|ภาพกว้าง=200px|คำบรรยาย=ภาพพระเจ้าเอเธล์วูล์ฟในม้วนพงศาวลีกษัตริย์แห่งอังกฤษ ต้นคริสตศตวรรษที่ 14|พระอิสริยยศ=กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|ครองราชย์=ค.ศ. 839–858|รัชกาลก่อนหน้า=[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]|พระบิดา=[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]|รัชกาลถัดไป=[[เอเธล์บาลด์ กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]|พระโอรส/ธิดา=[[อาเธล์สตาน กษัตริย์แห่งเคนต์]]<br>[[เอเธล์สวิธ สมเด็จพระราชินีแห่งเมอร์เซีย]]<br>[[เอเธล์บาลด์ กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]<br>[[เอเธล์เบิร์ท กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]<br>[[เอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์]]<br>[[อัลเฟรดมหาราช]]|สิ้นพระชนม์=13 มกราคม ค.ศ. 858|พระมเหสี=[[ออสเบอร์]]<br>[[จูดิธแห่งฟลานเดอส์]]|ราชวงศ์=เวสเซ็กซ์}}
{{ปรับภาษา}}
{{Infobox royalty
|name=เอเธลวูล์ฟ
|succession=[[กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]
|image=Æthelwulf - MS Royal 14 B VI.jpg
|alt=Æthelwulf in the ''Roll of the Kings of England''
|caption=เอเธลวูล์ฟในม้วนวงศ์วานของกษัตริย์อังกฤษในศตวรรษที่ 14
|reign=ค.ศ.839–856
|predecessor=[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|เอ็กเบิร์ต]]
|successor=[[เอเธล์บาลด์ กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลบาลด์]]
|house=[[ราชวงศ์เวสเซกซ์|เวสเซ็กซ์]]
|death_date=13 มกราคม ค.ศ.858
|death_place=สเตย์นิ่ง ซัสเซ็กซ์
|place of burial=วินเชสเตอร์
|spouse=[[ออสเบอร์]]<br />[[จูดิธแห่งฟลานเดอส์|จูดิธ]]
|issue=[[เอเธลสตานแห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลสตาน กษัตริย์แห่งเคนท์]]<br />[[เอเธลสวิธ]] ราชินีแห่งเมอร์เซีย<br />[[เอเธล์บาลด์ กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]<br />[[เอเธล์เบิร์ท กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]<br />[[เอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลเร็ด กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]<br />[[อัลเฟรดมหาราช|อัลเฟรด กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์]]
|father=[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|เอ็กเบิร์ต]]
}}
 
'''เอเธล์วูล์ฟ''' ({{Lang-ang|Æthelwulf}}) เป็นกษัตริย์แห่ง[[ราชอาณาจักรเวสเซกซ์|เวสเซ็กซ์]] ทรงเป็นพระโอรสของ[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|พระเจ้าเอ็กเบิร์ตแห่งเวสเซ็กซ์]]และเป็นพระบิดาของกษัตริย์สี่คน โดยพระโอรสคนเล็กของพระองค์คือ[[อัลเฟรดมหาราช|พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช]]
'''เอเธลวูล์ฟ''' (ภาษาอังกฤษ: Aethelwulf) เป็นโอรสของ[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|เอ็กเบิร์ต]]และเป็นกษัตริย์ย่อยแห่ง[[เคนต์]] พระองค์ได้บัลลังก์แห่ง[[ราชอาณาจักรเวสเซกซ์|เวสเซ็กซ์]]มาจากการสวรรคตของพระราชบิดาในปีค.ศ.839 รัชสมัยของพระองค์เป็นยุคของการรุกรานและการขับไล่[[ชาวไวกิง|พวกไวกิ้ง]]ซึ่งเป็นเรื่องปกติของผู้ปกครองของอังกฤษทุกคนในเวลานั้น แต่การทำสงครามไม่ใช่ชื่อเสียงที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์ เอเธลวูล์ฟเป็นที่จดจำอย่างเลือนรางในฐานะบุคคลที่ศรัทธาในศาสนาอย่างแรงกล้าที่ใส่ใจในการสถาปนาและรักษาศาสนจักร พระองค์ยังเป็นคนที่มั่งคั่งและมีทรัพยากรขนาดใหญ่โตกว้างขวางอยู่ในมือ นอกเหนือจากทรัพยากรเหล่านี้ พระองค์ยังหยิบยื่นสิ่งต้องการให้แก่โรมและสถาบันศาสนาอย่างเอื้อเฟื้อ
 
<br />
== ชีวิตช่วงต้น ==
[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|เอ็กเบิร์ต]] กษัตริย์คนแรกของอังกฤษได้รับการสืบทอดตำแหน่งโดยโอรส เอเธลวูล์ฟ ที่ก่อนหน้านี้เป็นกษัตริย์ย่อยแห่ง[[เคนต์]]ที่ถูกโอนต่อให้โอรสคนโตของเอเธลวูล์ฟ [[เอเธลสตานแห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลสตาน]]
 
== วัยเยาว์ ==
ชื่อเอเธลวูล์ฟแปลว่าหมาป่าสูงศักดิ์ ได้ถูกบรรยายไว้โดยผู้เขียนพงศาวดารว่าเป็นชายโครงร่างหนาที่ออกไปในทางเฉื่อยชาและเกียจคร้าน มีนิสัยสุภาพอ่อนโยนและศรัทธาในศาสนา พระองค์แสดงความต้องการที่จะเป็นนักบวชออกมาเมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์ พระราชบิดาผู้โปรดปรานสงครามของพระองค์ถูกพูดถึงว่าทรงผิดหวังในตัวโอรสคนโตผู้รักสงบ พระองค์ได้รับการช่วยเหลือในการบริหารราชการจาก[[นักบุญสวิธิน บิชอปแห่งวินเชสเตอร์]] ที่ในขณะนั้นเป็นรัฐบุรุษอาวุโส แต่ตอนนี้หลักๆแล้วเป็นที่จดจำในฐานะนักบุญผู้อุปถัมภ์สภาพอากาศที่มีฝน
 
== การขึ้นสู่บัลลังก์ ==
[[ไฟล์:Æthelwulf_-_MS_Royal_14_B_V.jpg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:%C3%86thelwulf_-_MS_Royal_14_B_V.jpg|alt=13th century depiction of Æthelwulf|thumb|
ภาพวาดของเอเธลวูล์ฟในพงศาวดารวงศ์วานของกษัตริย์อังกฤษในช่วงปลายศตวรรษที่ 13
]]
กษัตริย์พระองค์ใหม่ได้รับการสวมมงกุฎที่[[คิงสตันเหนือเธมส์]]ในปีค.ศ.839 พระองค์รวมอำนาจของเวสเซ็กซ์เป็นหนึ่งและกลับมายิ่งใหญ่เหนือ[[ราชอาณาจักรเมอร์เซีย|อาณาจักรเมอร์เซีย]]อีกครั้ง ความเป็นพันธมิตรถูกก่อตัวขึ้นจากการอภิเษกสมรสกับธิดาของกษัตริย์เมอร์เซีย
 
เอเธล์วูล์ฟเป็นพระโอรสคนเดียวของ[[เอ็กเบิร์ต กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|พระเจ้าเอ็กเบิร์ต]]และเป็นไปได้ว่าพระองค์น่าจะเติบโตใน[[ราชอาณาจักรเวสเซกซ์|เวสเซ็กซ์]] พระเจ้าเอ็กเบิร์ตถูกขับไล่ออกจากประเทศไปอยู่ใน[[ราชอาณาจักรแฟรงก์]]ในปี ค.ศ. 786 หลังแย่งชิงตำแหน่งกษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์กับบีออร์ทริกที่ได้รับการสนับสนุนจาก[[พระเจ้าออฟฟาแห่งเมอร์เซีย]]ซึ่งเป็นราชอาณาจักรที่ทำสงครามกับราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์เป็นช่วงๆ มาเป็นเวลาหลายปี คาดกันว่าเอเธล์วูล์ฟไม่น่าจะเกิดในช่วงที่พระบิดาถูกขับไล่ออกจากประเทศ พระองค์น่าจะเกิดหลังจากปี ค.ศ. 802 ที่พระบิดาได้ขึ้นเป็นกษัตริย์
รัชสมัยของเอเธลวูล์ฟส่วนใหญ่ถูกใช้ไปกับการต่อสู้ยับยั้งการรุกรานของ[[ชาวไวกิง|ไวกิ้ง]] พวกเขาแล่นเรือขึ้น[[แม่น้ำเทมส์|เธมส์]]มาซ้ำแล้วซ้ำเล่าและปล้นสะดมลอนดอนกับเมืองโรเชสเตอร์และแคนเทอร์บรี การประชุมถูกจัดขึ้นที่คิงสบรีใน[[อ๊อกซฟอร์ดเชอร์|อ็อกฟอร์ดเชียร์]] เพื่อสนับสนุนการร่วมมือกับพวกเมอร์เซียในการขับไล่ศัตรูร่วมออกไป ที่ซึ่งเอเธลวูล์ฟได้ส่งพระสสุระ ออสแล็ค ไปเป็นราชทูต [[เบิร์กเร็ดแห่งเมอร์เซีย|พระเจ้าเบิร์กเร็ดแห่งเมอร์เซีย]]ทรงเดินหน้าต่อต้านพวกไวกิ้งอย่างกล้าหาญแต่พ่ายแพ้ เอเธลวูล์ฟ พร้อมกับโอรส [[สมเด็จพระเจ้าเอเธล์บาลด์ แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลบาลด์]] เผชิญหน้าและปราบพวกเขาในสมรภูมิในปีค.ศ.851 ที่อาเคีย ซึ่งเป็นไปได้ว่าคือโอคลี่ย์ใน[[เซอร์รีย์]] ที่ซึ่งตาม[[บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน|พงศาวดารแองโกลแซ็กซัน]]พระองค์ได้ลงทัณฑ์ "สังหารโหดกองทัพนอกรีตครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยได้ยินมาจนถึงทุกวันนี้" ด้วยเหตุนี้เอเธลวูล์ฟจึงได้ความปลอดภัยของอาณาจักรมาแบบชั่วคราว
<br />
[[ไฟล์:Southern British Isles 9th century.svg|left|thumb|บริเตนใต้ในช่วงกลางคริสตศตวรรษที่ 9]]
ช่วงปี ค.ศ. 815–820 พระเจ้าเอ็กเบิร์ตได้นำกองทัพพิชิต[[ราชอาณาจักรดูมโนเนีย]] มีความเป็นไปได้ว่าเอเธล์วูล์ฟอาจมีส่วนร่วมในการสู้รบครั้งนี้แม้ชื่อของพระองค์จะไม่ได้ถูกเอ่ยถึงก็ตาม ชื่อของพระองค์ปรากฏใน[[บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน|พงศาวดารแองโกลแซ็กซัน]]ครั้งแรกในช่วงต้นปี ค.ศ. 825 ในการกล่าวถึงสมรภูมิเอลลันดูน
 
== ครอบครัว ==
เอเธลวูล์ฟอภิเษกสมรสครั้งแรกกับ[[ออสเบอร์]] ธิดาของ[[ออสแล็คแห่งแฮมพ์เชียร์]] ชาวจุ๊ทซึ่งเดิมทีมาจากเกาะไวท์ ออสแล็คถูกอ้างถึงว่าสามารถแกะรอยย้อนหลังสายตระกูลไปหายาร์ล เฮ็งกิสต์ หนึ่งในผู้นำของกองทัพ[[ชาวแซกซัน|แซ็กซัน]]กลุ่มแรกที่รุกรานอังกฤษ ออสเบอร์เองก็มีชื่อเสียงว่าเป็นสตรีที่ศรัทธาในศาสนาอย่างแรงกล้าและเป็นที่เคารพนับถือมากของประชาชน คู่อภิเษกสมรสมีอะไรเหมือนกันมาก ลูกๆของพระองค์ถูกเลี้ยงดูมาด้วยความเคารพศรัทธาในศาสนาอย่างลึกซึ้ง ออสเบอร์ให้กำเนิดโอรสห้าพระองค์ สี่พระองค์ได้ครองราชย์หลังจากที่พระราชบิดาของพระองค์สวรรคตราวปีค.ศ.850
 
[[ราชอาณาจักรเมอร์เซีย|เมอร์เซีย]]เป็นราชอาณาจักรที่ครองความเป็นใหญ่ในแคว้นมาเป็นเวลาหลายศตวรรษและความขัดแย้งระหว่างกษัตริย์เมอร์เซียกับกษัตริย์เวสเซ็กซ์เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ตลอดรัชสมัยของพระเจ้าบีออร์ทริกเวสเซ็กซ์ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเมอร์เซีย แต่เมื่อพระเจ้าเอ็กเบิร์ตขึ้นเป็นกษัตริย์ว่ากันว่าพระองค์ได้ประกาศอิสรภาพให้เวสเซ็กซ์ แม้จะไม่มีการลงรายละเอียดไว้ว่าทรงทำด้วยวิธีการใดก็ตาม ในช่วง 20 ปีแรกของการครองราชย์พระองค์ได้สร้างกองทัพขึ้นมาและอาจพิชิตดูมโนเนียเพราะต้องการแหล่งทรัพยากร
เอเธลวูล์ฟผู้ศรัทธาในศาสนาอย่างแรงกล้าอาสาไปจาริกแสวงบุญที่โรมร่วมกับโอรสคนเล็กที่พระองค์รักที่สุด [[พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช|อัลเฟรด]] ระหว่างเดินทางกลับ พระองค์ได้ผูกมิตรกับ[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ชาร์ลผู้หัวล้าน]] กษัตริย์ของ[[ชาวแฟรงก์|พวกแฟรงก์]] ทรงตกลงอภิเษกสมรสกับธิดาของพระองค์ [[จูดิธแห่งฟลานเดอส์|จูดิธ]] ที่สืบเชื้อสายมาจาก[[ชาร์เลอมาญ]] ทั้งคู่อภิเษกสมรสกันที่แวร์บรีซูวาสในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.856 และราชินีคนใหม่ของเวสเซ็กซ์ได้รับการสวมมงกุฎอย่างเป็นทางการโดยบิชอปแห่งแร็มส์
 
== การกบฏของเอเธลบาลด์ ==
ในช่วงที่เอเธลวูล์ฟไม่อยู่ โอรสที่ยังมีชีวิตอยู่คนโต [[เอเธล์บาลด์ กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลบาลด์]] ผู้คลางแคลงใจอย่างมากว่าพระราชบิดามีพระประสงค์จะแต่งตั้งโอรสคนโปรด [[พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช|อัลเฟรด]] เป็นรัชทายาทแห่งเวสเซ็กซ์ ได้อาศัยข้อได้เปรียบจากการความไม่พอใจของผู้ที่อยู่ใต้การปกครองของพระองค์และช่วงชิงบัลลังก์มา ธรรมเนียมการเป็นกษัตริย์ร่วมที่เป็นที่รับรู้กันว่าคือผู้สืบสันตติวงศ์เป็นธรรมเนียมที่ถูกตั้งขึ้นใน[[กลุ่มชนเจอร์แมนิก]] พระองค์ได้รับการสนับสนุนเพื่อหลีกเลี่ยงสงครามกลางเมืองที่นองเลือด เอเธลวูล์ฟยินยอมอย่างสง่างามที่จะกลับไปอยู่ในตำแหน่งเดิมในฐานะกษัตริย์ย่อยแห่งเคนต์
 
ในปี ค.ศ. 825 พระองค์ได้โจมตีเมอร์เซียและปราบพระเจ้าบีออร์นวูล์ฟแห่งเมอร์เซียได้ที่เอลลันดูน (ปัจจุบันอยู่ใน[[วิลต์เชอร์]]) เอเธล์วูล์ฟถูกตั้งให้เป็นอนุกษัตริย์ในแคว้นที่ยึดมาจากเมอร์เซีย คือ [[ราชอาณาจักรเคนต์|เคนต์]], [[เอสเซกซ์|เอสเซ็กซ์]], [[ราชอาณาจักรซัสเซกซ์|ซัสเซ็กซ์]] และ[[เซอร์รีย์]] ในช่วงปี ค.ศ. 827–829 พระองค์ได้ช่วยพระบิดาทำสงครามต่อไปจนถึงปี ค.ศ. 830 ที่เวสเซ็กซ์ได้ควบคุมแคว้นต่างๆ ของบริเตนที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ขึ้นไปจนถึง[[ราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย|นอร์ธัมเบรีย]]ในทางตอนเหนือ
== ชีวิตช่วงบั้นปลาย ==
<br />
ในช่วงสองปีที่เหลืออยู่ของชีวิต พระองค์ทุ่มเทไปกับการช่วยเหลือผู้ยากไร้ในเคนต์ ความใส่พระทัยของพระองค์ยังคงดำเนินต่อไปหลังจากที่พระสวรรคต โดยการทิ้งพระราชดำรัสรไว้ในพินัยกรรมให้ผู้สืบสันตติวงศ์ของพระองค์แบ่งปันอาหาร, เครื่องดื่ม และที่พักพิงให้แก่ผู้ยากไร้ หนึ่งในสิบส่วนของพื้นที่เพาะปลูกที่ซ่อนตัวอยู่ในอาณาจักร พระเจ้าเอเธลวูล์ฟสวรรคตในปีค.ศ.858 เป็นที่โศกเศร้าอย่างมากของประชาชน มีพระมหากษัตริย์ไม่กี่คนที่ได้รับการจารึกบนที่ฝังศพเช่นนี้ พระองค์ถูกฝังที่สเตย์นิ่ง แต่พระศพต่อมาถูกเคลื่อนย้ายไปมหาวิหารวินเชสเตอร์
 
== กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์ ==
== แหวนของเอเธลวูล์ฟ ==
<br />
[[ไฟล์:Ethelwulf's_Ring_-_Illustration_from_Cassell's_History_of_England_-_Century_Edition_-_published_circa_1902.jpg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Ethelwulf's_Ring_-_Illustration_from_Cassell's_History_of_England_-_Century_Edition_-_published_circa_1902.jpg|alt=King Æthelwulf's ring|thumb|163x163px|
[[ไฟล์:Æthelwulf - MS Royal 14 B V.jpg|thumb|ภาพพระเจ้าเอเธล์วูล์ฟในพงศาวดารพงศาวลีกษัตริย์อังกฤษ คริสตศตวรรษที่ 13]]
แหวนของกษัตริย์เอเธลวูล์ฟ
ในช่วงเวลาดังกล่าวพระเจ้าเอ็กเบิร์ตได้การันตีการสืบทอดตำแหน่งของเอเธล์วูล์ฟด้วยการทำสัญญากับศาสนจักรโดยมีซีออลนอธ อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์บรีผู้ทรงอำนาจให้การสนับสนุน เมื่อพระเจ้าเอ็กเบิร์ตสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 839 เอเธล์วูล์ฟได้ขึ้นเป็นกษัตริย์โดยไม่มีขุนนางเวสเซ็กซ์คนใดคิดท้าชิงตำแหน่ง
]]
แหวนเคลือบทองคำที่ผลิตขึ้นมาเพื่อเอเธลวูล์ฟถูกค้นพบในร่องเกวียนที่แลเวอร์สต็อคในวิลต์เชียร์ในฤดูร้อนของทีค.ศ.1780
 
มันอาจถูกใช้เป็นสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการที่พระราชทานให้แก่ข้ารับใช้ที่ภักดี เป็นธรรมเนียมปฏิบัติในเวลานั้น แหวนวัดขนาดตามแนวขวางได้ประมาณหนึ่งนิ้ว ตัวแหวนเรียบ หัวแหวนด้านหน้ายื่นสูงเป็นรูปหมวกของบิชอปและประดับตกแต่งด้วยสัญลักษณ์ทางศาสนามากมายและจารึกไว้ว่า "พระเจ้าเอเธลวูล์ฟ" การออกแบบตรงกลางของแหวนเป็นรูปนกยูงสองตัวหันหน้าเข้าหากันขนาบต้นไม้แห่งชีวิตซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์
 
ในเวลานั้นพระองค์ได้สมรสอยู่แล้วกับ[[ออสเบอร์]]และ[[อาเธล์สตาน กษัตริย์แห่งเคนต์|อาเธล์สตาน]] พระโอรสของพระองค์ก็มีพระชนมายุมากพอที่จะขึ้นเป็นอนุกษัตริย์แห่งเคนต์, เอสเซ็กซ์, ซัสเซ็กซ์ และเซอร์รีย์ พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟเริ่มต้นการเมืองด้วยการพระราชทานดินแดนให้แก่ขุนนางเวสเซ็กซ์หลายคนเพื่อเป็นการเอาใจและทำการกระชับไมตรีกับเมอร์เซียด้วยข้อสัญญาและการเจรจามากมาย หลักฐานถึงการเมืองที่เอเธล์วูล์ฟมีต่อกลุ่มขุนนางถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1780 ในรูปของแหวนที่มีชื่อของพระองค์ แหวนสลักเป็นรูปนกยูงสองตัวยืนขนาบข้างต้นไม้แห่งชีวิตของชาวคริสต์และมีคำว่า "เอเธล์วูล์ฟเร็กซ์ (พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟ)" สลักอยู่ข้างใต้ เข้าใจกันว่าแหวนดังกล่าวถูกมอบให้แก่ขุนนางที่จงรักภักดีต่อพระองค์
แหวนอีกวงเป็นของธิดาของเอเธลวูลฟ์ [[เอเธลสวิธ]] ที่ถูกไถกลบในทุ่งนาระหว่างอาเบอร์ฟอร์ดกับแชร์เบิร์นในเวสต์ไรดิ้งของ[[ยอร์กเชอร์|ยอร์กเชียร์]]ในปีค.ศ.1870 มันถูกพูดถึงว่าถูกแขวนไว้กับปลอกคอของสุนัขของชาวนาที่พบมัน แต่ต่อมาถูกซื้อไปโดยพ่อค้าเพชรพลอยชาวยอร์ก เอเธลสวิธเกิดในปีค.ศ.846 ที่วานเทจ [[บาร์กเชอร์|บาร์กเชียร์]] พระองค์อภิเษกสมรสกับ[[เบิร์กเร็ดแห่งเมอร์เซีย|พระเจ้าเบิร์กเร็ดแห่งเมอร์เซีย]]ในปีค.ศ.853 หรือ 854 และสิ้นพระชนม์ที่ปาเวียระหว่างการจาริกแสวงบุญไปโรมในปีค.ศ.888
 
แหวนมีเส้นผ่าศูนย์ประมาณ 26 มม. หัวแหวนกลม เลี่ยมด้วยเครื่องถม มีรูปลูกแกะของพระเจ้าและตัวอักษร A กับ D (Agnus Dei หรือลูกแกะของพระเจ้า) ที่สลักอยู่ด้านหลังคือคำว่า "พระราชินีเอเดลสวิด" เช่นเดียวกับแหวนของเอเธลววูล์ฟ มันถูกตีความว่าเป็นของขวัญหรือสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ ไม่ใช่สมบัติของราชวงศ์
 
ในช่วงปี ค.ศ. 844–855 พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟได้ออกกฎบัตรล้างบางซึ่งเป็นกฎบัตรที่ว่าด้วยการปลดปล่อยพื้นที่หนึ่งในสิบของราชอาณาจักรจากการรับใช้และการจ่ายบรรณาการให้แก่กษัตริย์ กฏบัตรเป็นที่ถกเถียงในปัจจุบันเนื่องจากนักวิชาการมีความเห็นไม่ตรงกันเรื่องวัตถุประสงค์ของการออกกฎบัตรว่าเพื่อต้องการผ่อนปรนภาระภาษีให้แก่แคว้นต่างๆ และเพื่อยกระดับมาตรฐานชีวิต หรือเพื่อการันตีว่ากลุ่มขุนนางและศาสนจักรจะให้การสนับสนุนต่อไป หรือเพื่อเพิ่มการสนับสนุนและตบรางวัลให้แก่กลุ่มขุนนางที่ช่วยต่อสู้กับผู้รุกราน[[ชาวไวกิง]] หรืออาจจะไม่มีความหมายพิเศษอะไรเลย
แหวนทั้งสองวงปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติของอังกฤษ
 
 
== แหล่งข้อมูล ==
ในปีนั้นพระเจ้าเอเธล์วูล์ฟได้พ่ายแพ้ต่อชาวไวกิลที่มีกองกำลังเต็มเรือ 35 ลำที่คาร์เมาธ์ ในช่วงคริตทศวรรษ 830 ชาวไวกิงได้ตั้งอาณานิคมขึ้นในคาร์เมาธ์เพื่อความสะดวกในการบุกครั้งต่อไป ในช่วงปี ค.ศ. 843–851 การรุกรานของชาวไวกิงอาจดำเนินต่อไปในสเกลที่เล็กลงหรือไม่ก็เป็นเพียงการออกตระเวนสำรวจ ไม่ใช่การรุกราน
{{เริ่มอ้างอิง}}
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Æthelwulf|สมเด็จพระเจ้าเอเธล์วูลฟ์ แห่งเวสเซ็กซ์}}
 
* [https://www.britroyals.com/kings.asp?id=aethelwulf Timeline for King Aethelwulf (839 - 856)]
ทว่าในปี ค.ศ. 851 ชาวไวกิงได้มาถึงพร้อมกับกองกำลังเต็มอัตราในเรือ 350 ลำที่ล่องขึ้นมาตาม[[แม่น้ำเทมส์|แม่น้ำเธมส์]]เพื่อโจมตีแคนเทอร์บรีและลอนดอน พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟร่วมกับ[[เอเธล์บาลด์ กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธล์บาลด์]] พระโอรสปกป้องดินแดนบนพื้นดิน ขณะที่เอเธล์สตานกับอีลเฮียร์ เอิร์ลแห่งเคนต์นำกองเรือเข้าสู้รบกับศัตรูในทะเล กองกำลังเวสเซ็กซ์ได้รับชัยชนะและกองกำลังไวกิงที่เหลืออยู่ไม่มากได้ล่าถอยไป ทว่าเอเธล์สตานน่าจะสิ้นพระชนม์หลังจากนั้นไม่นานจากบาดแผลที่ได้รับ ไม่มีการพูดถึงพระองค์ในบันทึกหลังจากปี ค.ศ. 852 เป็นต้นไป
* [http://www.englishmonarchs.co.uk/saxon_2.htm Ethelwulf]
<br />
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เริ่มกล่อง}}
== การจาริกแสวงบุญไปโรมและการก่อกบฏ ==
 
 
เพื่อกระชับสายสัมพันธ์ระหว่างเวสเซ็กซ์กับเมอร์เซียเพื่อรับมือการรุกรานของชาวไวกิง เอเธล์สตานได้จับ[[เอเธล์สวิธ สมเด็จพระราชินีแห่งเมอร์เซีย|เอเธล์สวิธ]] พระธิดาคนเดียวของพระองค์สมรสกับ[[พระเจ้าเบิร์กเรดแห่งเมอร์เซีย]]ในปี ค.ศ. 853 แหวนที่สลักชื่อเอเธล์สวิธถูกค้นพบใน[[ยอร์กเชอร์|ยอร์คเชอร์]]ในปี ค.ศ. 1870 และคิดว่าน่าจะเป็นแหวนที่ถูกมอบให้แก่กลุ่นขุนนางที่จงรักภักดีต่อพระนางและพระเจ้าเบิร์กเรดเช่นเดียวกับแหวนของพระเจ้าเอเธล์วูล์ฟ
 
 
ออสเบอร์ถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 854 และเรื่องนี้อาจเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟออกจาริกแสวงบุญไปโรมโดยมี[[อัลเฟรดมหาราช|อัลเฟรด]] พระโอรสติดตามไปด้วย ชีวประวัติของพระเจ้าอัลเฟรดที่เขียนโดยแอสเซอร์กล่าวว่าอัลเฟรดร่วมเดินทางครั้งนี้ตอนพระชนมายุ 4 หรือ 5 พรรษา พระองค์เสด็จพระราชสมภพในปี ค.ศ. 849 จึงประมาณการได้ว่าการจาริกแสวงบุญน่าจะเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 854 พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟอาจต้องการให้พระเจ้าชี้แนะแนวทางในการรับมือกับการคุกคามของชาวไวกิงหรือไม่ก็อาจจะด้วยเหตุผลอื่น ทว่าน่าแปลกที่กษัตริย์ออกจาริกแสวงบุญทางไกลในช่วงที่ราชอาณาจักรของพระองค์กำลังถูกคุกคาม
 
 
ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟได้เดินทางออกจากโรมพร้อมกับอัลเฟรดและผู้ติดตามกลุ่มใหญ่หลังจากราชอาณาจักรไปเป็นเวลาหนึ่งปี พระองค์ได้ทิ้งเวสเซ็กซ์ให้อยู่ในการปกครองของเอเธล์บาลด์ ขณะที่เคนต์กับแคว้นอื่นๆ ถูกยกให้เอเธล์เบิร์ต พระโอรสในลำดับถัดไป
 
 
ระหว่างการเดินทางคณะแสวงบุญได้แวะที่ราชสำนักของ[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|พระเจ้าชาร์ลส์ผู้ศีรษะล้าน]] กษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก|ราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก]] จากนั้นทั้งคู่ได้ออกเดินทางต่อไปโรมเพื่อพบปะสมเด็จพระสันตะปาปา (ที่ว่ากันว่าได้เจิมน้ำมันให้อัลเฟรดเป็นกษัตริย์) และอยู่ที่โรมต่อไปอีกระยะหนึ่ง ระหว่างเดินทางกลับคณะแสวงบุญได้แวะที่ราชสำนักของพระเจ้าชาร์ลส์อีกครั้งและได้มีการเตรียมการให้พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟสมรสกับ[[จูดิธแห่งฟลานเดอส์|จูดิธ]] พระธิดาวัยแรกรุ่นของพระเจ้าชาร์ลส์ เมื่อเสร็จสิ้นงานเทศกาลฉลองการสมรส ทั้งคณะก็ได้เดินทางกลับเวสเซ็กซ์
 
 
ทว่าเมื่อกลับมาเอเธล์บาลด์ไม่ได้มีท่าทียินดีกับการกลับมาของพระบิดาและไม่ยอมคืนเวสเซ็กซ์ให้แก่พระองค์ นักประวัติศาสตร์เรียกการกระทำดังกล่าวของเอเธล์บาลด์ว่าเป็น "การก่อกบฏ" แต่ดูไม่น่าจะเป็นเช่นนั้นเนื่องจากพระองค์ได้ควบคุมราชอาณาจักรเป็นเวลาหนึ่งปีในช่วงที่อดีตกษัตริย์ไม่อยู่และกลับมาอีกครั้งโดยมีพระธิดาของกษัตริย์ต่างแดนเป็นเจ้าสาว ส่วนหนึ่งของเงื่อนไขการสมรสระบุชัดเจนว่าจูดิธต้องได้เป็น "พระราชินี" ตามมาตรฐานทั่วไปในราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตกแต่ไม่ใช่ในราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ที่หญิงซึ่งสมรสกับกษัตริย์จะเป็นแค่ "พระมเหสีของกษัตริย์" ไม่ใช่ "พระราชินี"
 
 
การเพิกเฉยต่อธรรมเนียมเวสเซ็กซ์ของพระเจ้าเอเธล์วูล์ฟและการไม่อยู่เป็นเวลานานอาจทำให้เอเธล์บาลด์มองว่าพระบิดาไม่คู่ควรจะปกครองต่อไป ในอดีตเคยมีตัวอย่างที่ทำให้เอเธล์บาลด์คิดว่าพระบิดาจะไม่กลับมาจากโรม แคดวัลลา อดีตกษัตริย์เวสเซ็กซ์เคยสละราชสมบัติเพื่อจาริกแสวงบุญไปโรมและไม่ได้กลับมาอีกเลย
 
 
แม้เอเธล์บาลด์จะทำสิ่งที่เรียกว่า "การก่อกบฏ" แต่พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟก็เคารพการตัดสินใจของพระโอรสแม้ว่าจะมีผู้สนับสนุนให้พระองค์กลับไปครองบัลลังก์ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดสงครามกลางเมือง พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟได้แบ่งราชอาณาจักรออกเป็นสามส่วนให้เอเธล์บาลด์, เอเธล์เบิร์ต และตัวพระองค์เอง
<br />
 
== การสิ้นพระชนม์และผู้สืบทอดตำแหน่ง ==
 
 
พระเจ้าเอเธล์วูล์ฟเลือกปกครองตอนกลางของราชอาณาจักรและได้อุทิศตนให้กับทำงานเพื่อการกุศลและการมอบของกำนัลให้แก่ศาสนจักร พินัยกรรมของพระองค์หายสาปสูญไปแต่ว่าในพินัยกรรมของพระเจ้าอัลเฟรดมีการกล่าวถึงว่าพระเจ้าเอเธล์วูล์ฟได้ให้เงินบำเหน็จแก่ผู้ยากไร้ในราชอาณาจักรโดยใช้เงินที่ทรงเหลือทิ้งไว้และได้ยกที่ดินให้แก่ศาสนจักร รวมถึงได้ระบุให้ส่งเงินบริจาคไปให้โรมทุกปี ทรงสิ้นพระชนม์ด้วยสาเหตุตามธรรมชาติในปี ค.ศ. 858 เอเธล์บาลด์และเอเธล์เบิร์ตได้แบ่งราชอาณาจักรของพระองค์กัน เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้แก่การครองราชย์ของตนและเพื่อยกระดับความเกรียงไกรพระเจ้าเอเธล์บาลด์ได้สมรสกับจูดิธ พระมเหสีม่ายของพระบิดา ต่อมาเมื่อทรงสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 860 เอเธล์เบิร์ได้รวมราชอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียวภายใต้การปกครองของพระองค์ ส่วนจูดิธได้เดินทางกลับไปหาพระบิดาในราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก
<br />
 
== อ้างอิง ==
 
* [https://www.ancient.eu/Aethelwulf_of_Wessex/ Aethelwulf of Wessex: Ancient History]
 
<br />{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
|สี1=#E9E9E9