ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิจุลนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
[[ไฟล์:DillingenSerra1.jpg|thumb|300px |“Dillingen Serra”<ref>Dillinger.de: Richard Serra’s "Viewpoint" for Dillingen[http://www.dillinger.de/dh/aktuelles/news/01700/index.shtml.en]</ref> ประติมากรรมโดย ริชาร์ด เซร์รา]]
'''ลัทธิจุลนิยม''' หรือ '''ลัทธิมินิมัลลิสม์''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Minimalism) คือขบวนการทาง[[ศิลปะ]]และการออกแบบโดยเฉพาะจักษุศิลป์และคีตศิลป์ ที่เริ่มราวหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ในศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะจักษุศิลป์ของ[[สหรัฐอเมริกา]] ราวปลายคริสต์ทศศตวรรษ 1960 และ ต้นคริสต์ทศศตวรรษ 1970 งานลัทธิจุลนิยมจะเป็นงานที่ปอกรายละเอียดจนเหลือแต่แก่น ซึ่งมีผลต่องานศิลปะหลายแขนงรวมทั้ง[[จิตรกรรม]], [[ประติมากรรม]] และ[[คีตกรรม]] ศิลปินผู้มีบทบาทในขบวนการนี้ก็ได้แก่ [[โดนัลด์ จัดด์]] (Donald Judd), [[คาร์ล อันเดร]] (Carl Andre) และ [[ริชาร์ด เซร์รา]] (Richard Serra) ลัทธิจุลนิยมเป็นความคิดรากฐานของการลดลง (reductive aspect) ของ[[ลัทธิสมัยใหม่]] (Modernism) บางครั้งจึงตีความหมายว่าเป็นปฏิกิริยาตอบโต้ [[ลัทธิการแสดงออกทางสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม]] (Abstract Expressionism) และเป็นสะพานเชื่อมไปยัง[[ลัทธิสมัยใหม่สมัยแนวคิดหลังยุคนวนิยม]] (Postmodernism)
 
คำว่า “ลัทธิจุลนิยม” ครอบคลุมไปถึงขบวนการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีซึ่งจะใช้การเล่นซ้ำและขยายจากแกนเช่นงานของ [[สตีฟ ไรค์]] (Steve Reich), [[จอห์น แอดัมส์ (ผู้เขียนดนตรี)|จอห์น แอดัมส์]] (John Adams), [[ฟิลลิป กลาส]] (Philip Glass) และ [[เทอร์รี ไรลีย์]] (Terry Riley)