ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 42:
# เจ้าคุณหญิงแก้ว ภรรยาพระแม่กลองบุรี (ศร) ต้นสกุล ณ บางช้าง
 
== เฉลิมพระยศกรณียกิจ ==
'''สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี''' ได้ถวายนิวาสนสถานเดิมของท่านอุทิศให้สร้างวัดขึ้นก่อนในขณะที่ยังมีพระชนมชีพอยู่ สันนิษฐานกันว่า ท่านผนวชเป็นรูปชีแล้วในขณะนั้น เดิมเรียกกันว่าวัดอัมพวา ตามชื่อคลองอัมพวา ต่อมา[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] และบรรดาเหล่าราชินิกุลบางช้าง ได้โดยเสด็จพระราชกุศลสร้างเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ขึ้น [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสร้างพระปรางค์ขึ้นประดิษฐานพระบรมราชสรีรังคาร[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] และสร้างกุฎีใหม่ทั้งพระอาราม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงบูรณะพระอุโบสถ สร้างเสมาขึ้นใหม่ พระราชทานนามว่า [[วัดอัมพวันเจติยาราม]]<ref name="สมเด็จพระรูป" />
ด้วยเหตุที่พระชนนีสั้น เป็นพระชนนีใน[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] พระชนนีสั้นจึงได้รับการสถาปนาเป็น'''สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี''' แต่ต่อมาภายหลังสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์ฯ ได้เสด็จออกบวชชีเนื่องจากปัญหาความขัดแย้งกับพระบรมวงศานุวงศ์
 
'''สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี''' ได้ถวายนิวาสนสถานเดิมของท่านอุทิศให้สร้างวัดขึ้นก่อนในขณะที่ยังมีพระชนมชีพอยู่ สันนิษฐานกันว่า ท่านผนวชเป็นรูปชีแล้วในขณะนั้น เดิมเรียกกันว่าวัดอัมพวา ตามชื่อคลองอัมพวา ต่อมา[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] และบรรดาเหล่าราชินิกุลบางช้าง ได้โดยเสด็จพระราชกุศลสร้างเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ขึ้น [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสร้างพระปรางค์ขึ้นประดิษฐานพระบรมราชสรีรังคาร[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] และสร้างกุฎีใหม่ทั้งพระอาราม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงบูรณะพระอุโบสถ สร้างเสมาขึ้นใหม่ พระราชทานนามว่า [[วัดอัมพวันเจติยาราม]]<ref name="สมเด็จพระรูป" />
 
นอกจากวัดอัมพวันเจติยารามแล้ว สมเด็จพระรูปฯ ยังได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดโบราณอีกวัดหนึ่ง ซึ่งทรุดโทรมสิ้นสภาพแล้ว ชื่อ วัดทอง ต่อมาภายหลัง[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงปฏิสังขรณ์ พระราชทานนามว่า [[วัดกาญจนสิงหาสน์]]
 
สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ได้ทรงสถาปนาวัดโบราณในคลองบางพรหม ซึ่งเดิมชื่อ วัดเงิน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิสังขรณ์เช่นกัน ถึงรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงปฏิสังขรณ์เพิ่มเติม แล้วพระราชทานชื่อว่า[[วัดรัชฎาธิษฐาน|วัดรัษฎาธิษฐาน]] เพื่อให้คล้องจองกับ[[วัดกาญจนสิงหาสน์]] ทั้งวัดจึงเป็นวัดเงิน-วัดทอง คู่กันของสมเด็จพระรูปฯ และสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี<ref name="สมเด็จพระรูป" />
 
== สิ้นพระชนม์ ==