ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิดิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anusornkamkaew (คุย | ส่วนร่วม)
→‎General MIDI: แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:NoteNamesFrequenciesAndMidiNumbers v2.svg|thumb|ชื่อโน้ตและหมายเลขโน้ตมิดิ]]
 
'''มิดิ''' หรือ '''มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล''' <ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] (สืบค้นออนไลน์)</ref> ({{lang-en|Music Instrument Digital Interface: MIDI}}) เป็น[[โพรโทคอล]]มาตรฐานที่คิดค้นขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2525]]<ref>http://mustech.net/2006/09/15/midi-standards-a-brief-history-and-explanation</ref> โดยเป็นระบบการติดต่อสื่อสารทางดนตรี ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางดนตรี เช่น คอมพิวเตอร์ [[ซินธิไซเซอร์]] ซีเควนเชอร์ ซาวด์โมดูล [[แซมเพลอร์]] ซึ่งใช้สัญญาณไฟฟ้าแบบดิจิตอล ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ โดยจะมีความหมายเป็นโน้ตดนตรี และค่าการควบคุมลักษณะเสียงต่างๆต่าง ๆ
 
ไฟล์ MIDI ไม่ได้มีการเก็บเสียงดนตรีใดๆใด ๆ ไว้เหมือนอย่างเทปเพลงหรือซีดีเพลง ข้อมูลทั้งหมดจะอยู่ในรูปของคำสั่งที่จะไปสั่งเครื่อง ดนตรีว่า ให้เปล่งเสียงโน้ตตัวใด(Note ON), ด้วยระดับความดังแค่ใหน(Velocity) และคำสั่งอื่นๆอื่น ๆ ตามคุณสมบัติเฉพาะของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด ด้วยเหตุที่เป็นไฟล์คำสั่งนี่เองทำให้มันมีขนาดที่เล็กมากๆมาก ๆ แผ่นดิสก์ 3.5 นิ้วเพียงแผ่นเดียวก็สามารถเก็บไฟล์ MIDI ได้หลายสิบเพลง และจากความที่มันเป็นไฟล์คำสั่งแบบดิจิตอลนี่เอง นักคอมพิวเตอร์จึงสามารถนำข้อมูลดิจิตอลนี้มาพัฒนาด้วย จนในที่สุดทั้งคอมพิวเตอร์และเครื่องดนตรีก็สื่อสารกันได้อย่างสมบูรณ์โดย ผ่านระบบ MIDI นี่เอง
 
== General MIDI ==
ในปี พ.ศ. 2526 เมื่อมาตรฐานการเชื่อมต่อ MIDI ออกมาใหม่ๆใหม่ ๆ ได้สร้างความเป็นไปได้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์สร้างเสียงดนตรี
อุปกรณ์ควบคุม และอุปกรณ์บันทึกที่หลากหลายเข้าด้วยกัน, ทำให้เกิดการแข่งขันขึ้นระหว่างผู้ผลิตเครื่องดนตรีหลายๆหลาย ๆ เจ้า
เพื่อใช้ประโยชน์จากมาตรฐานนี้, แต่เนื่องจากมาตรฐาน MIDI เป็นมาตรฐานการส่งคำสั่งควบคุมทางไฟฟ้าเท่านั้น
ไม่ได้มีการกำหนดไว้ตายตัวว่าการใช้งานคำสั่งย่อยต่างๆต่าง ๆ จะต้องตีความอย่างไร หรือหมายเลขเครื่องดนตรีที่อยู่ในคำสั่งนั้น
หมายถึงเสียงเครื่องดนตรีใด, ทำให้ผู้ผลิตแต่ละบริษัทใช้รูปแบบการตั้งค่าคำสั่งที่แตกต่างกันมาก
หากนำมาใช้ร่วมกันจะทำให้เสียงผิดเพี้ยน, ทำให้เมื่อนักดนตรีเลือกใช้เครื่องดนตรี
หรืออุปกรณ์ควบคุมยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่งแล้ว จะไม่สามารถนำเครื่องดนตรีและอุปกรณ์ควบคุมยี่ห้ออื่นๆ
มาใช้งานร่วมกันผ่านระบบ MIDI ได้, จนสร้างความอึดอัดใจให้กับนักดนตรีทั่วๆทั่ว ๆ ไป เป็นอย่างมาก
 
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2534 ได้มีการประกาศมาตรฐานเกี่ยวกับการใช้ชุดคำสั่ง MIDI ออกมาเป็นครั้งแรก โดยมีชื่อเรียกว่า
บรรทัด 24:
(เช่น ต้องรองรับการปรับความดังตัวโน้ต และต้องเล่นได้อย่างน้อย 24 โน้ตพร้อมกัน)
รวมทั้งกำหนดเสียงเครื่องดนตรีที่ใช้ใน MIDI ทั้งหมด 128 ชนิด
ซึ่งจะรวมเสียงของเครื่องดนตรีจริงๆจริง ๆ และเสียงเอฟเฟคต์ต่างๆเฟคต์ต่าง ๆ เช่นเสียงปรบมือ เสียงฝนตก ฯลฯ เอาไว้ด้วย
โดยหมายเลขของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดจะเรียกว่า Patch และมีการแบ่ง Patch ออกเป็นกลุ่มๆกลุ่ม ๆ ดังต่อไปนี้:
 
# [[Piano]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มิดิ"