ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรณานุกรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Reverted 1 edit by 171.96.75.123 (talk) to last revision by 2001:44C8:448B:4A90:961D:4B9C:AC2D:5E31. (TW)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
ในทาง[[สารนิเทศ|ประเจิด]]
 
'''บรรณานุกรม''' หมายถึง ข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
 
คำว่า "บรรณานุกรม" เป็น[[ศัพท์บัญญัติ]]มาจาก[[ภาษาอังกฤษ]] bibliography ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกันคือ รายการ[[สื่อสารนิเทศ]]ทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบการเขียนหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย;)
 
== การเขียนบรรณานุกรม ==
{{วิกิตำรา|บรรณานุกรม|วิธีการเขียน}}
หลักทั่วไปในการเขียนบรรณานุกรม มักจะเรียงลำดับ ดังต่อนี้ไป
 
{| class="wikitable"
|-
! หลักการ !! ตัวอย่าง !! หมายเหตุ
|-
|ชื่อ ชื่อสกุล. '''เว้นวรรค''' ชื่อเรื่อง. '''เว้นวรรค''' ครั้งที่พิมพ์. '''เว้นวรรค''' เมืองที่พิมพ์ '''เว้นวรรค''' : '''เว้นวรรค''' ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ (หรือสำนักพิมพ์), '''เว้นวรรค''' ปีที่พิมพ์.
|ประคอง นิมมานเหมินท์. '''นิทานพื้นบ้านศึกษา'''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพรผล งานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
|บรรณานุกรมเรื่องหนึ่ง เมื่อขึ้นต้นบรรทัดแรก ให้ชิดซ้าย หากมีความยาวเกิน 1 บรรทัด บรรทัดต่อมา ให้ย่อเข้าไป8ตัวอักษร, การใส่จุด (.) นิยมใช้ตามรูปแบบข้างบนนี้
|}
 
== ลักษณะการเขียนบรรณานุกรมจากอินเทอร์เน็ต ==