ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทอ็อสท์ลันท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล อดีตประเทศ
| width = 288px
| conventional_long_name = ''ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทอ็อสท์ลันท์ทในอ็อสท์ลันท์''
| common_name = อ็อสท์ลันท์
| continent = ยุโรป
บรรทัด 56:
}}
 
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สองนาซีเยอรมนี]]ได้ก่อตั้ง '''ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทในอ็อสท์ลันท์''' ({{lang-de|Reichskommissariat Ostland, RKO}}) ในปี ค.ศ. 1941 ซึ่งเป็นหน่วยระบอบการปกครองของ[[นาซี]]เยอรมนีโดยพลเรือนในดินแดนยึดครองใน[[รัฐบอลติก]](เอสโตเนีย, ลัตเวีย, และ ลิทัวเนีย), บางส่วนหนึ่งของทางตะวันออกเฉียงเหนือของ[[เบลารุสประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]]และทางตะวันตกของ[[โปแลนด์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ดินแดนนี้มันยังมีอีกชื่อได้เป็นที่รู้จักกันในตอนแรกว่า '''ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทบัลเทินลันท์ทในบัลเทินลันท์''' ({{lang|de|Reichskommissariat Baltenland}})("แผ่นดินบอลติก") <ref name="Gaunt-210">{{cite book | url=https://books.google.ca/books?id=vsrJLASVC3QC&q=%22The+Reichskommissariat+Ostland%22#v=snippet&q=%22The%20Reichskommissariat%20Ostland%22&f=false | title=Reichskommissariat Ostland | publisher=Taylor & Francis | work=The Routledge History of the Holocaust | date=2010 | accessdate=20 February 2015 | author=David Gaunt, Jonathan C. Friedman | pages=210–212 | isbn=1136870601}}</ref><ref name="Kay-70">{{cite web | url=https://books.google.com/books?id=l20PlJtfk0IC&pg=PA70&dq=%22Guidelines+for+Special+Fields%22+%2213+March+1941%22&hl=en&sa=X&ei=UavJUc6rOMbliwK33oHABA&ved=0CDAQ6AEwAA#v=onepage&q=%22Guidelines%20for%20Special%20Fields%22%20%2213%20March%201941%22&f=false | title=Guidelines for Special Fields (13 March 1941) | publisher=Berghahn Books | work=Exploitation, Resettlement, Mass Murder: Political And Economic Planning for German Occupation Policy in the Soviet Union, 1940-1941 | date=2006 | accessdate=2013-06-25 | author=Alex J. Kay | pages=70-71 | isbn=1845451864}}</ref> องค์กรทางการเมืองสำหรับดินแดนนี้ – ภายหลังในช่วงเวลาแรกของการปกครองโดยทหารก่อนที่จะก่อตั้งขึ้นมา – เป็นการปกครองโดยพลเรือนเยอรมัน ซึ่งอยู่ในนามภายใต้อำนาจของ[[กระทรวงไรชส์สำหรับดินแดนตะวันออกที่ถูกยึดครอง]] ({{lang-de|Reichsministerium für die besetzten Ostgebiete}}) ภายใต้การนำโดยนักทฤษฏีนาซี [[อัลเฟรด โรเซินแบร์ก]] แต่อันที่จริงแล้วถูกควบคุมโดยเจ้าหน้าที่นาซี Hinrich Lohse ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ตรวจการไรช์(Reichskommissar)
 
วัตถุประสงค์หลักทางการเมืองของเยอรมนีสำหรับไรชส์ค็อมมิสซารีอาท ตามที่ได้ถูกกำหนดไว้โดยกระทรวงให้อยู่ในกรอบนโยบายชาติสังคมนิยมสำหรับตะวันออกที่จัดตั้งโดย[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] รวมทั้ง[[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย|การทำลายล้างให้หมดสิ้นไป]]ต่อประชากร[[ชาวยิว]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบาย[[เลเบินส์เราม์]] การตั้งถิ่นฐานสำหรับเชื้อเยอรมันพร้อมด้วยการขับไล่ประชากรพื้นเมืองและการถอดเป็นอักษรเยอรมันจากส่วนที่เหลือของประชากร นโยบายเหล่านี้ไม่ได้ใช้แค่เพียงไรชส์ค็อมมิสซารีอาทในอ็อสท์ลันท์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงดินแดนอื่นๆในสหภาพโซเวียตที่ถูกเยอรมันยึดครอง ซึ่งผ่านมาด้วยการใช้หน่วย[[ไอน์ซัทซ์กรุพเพิน]] เอและเบ พร้อมด้วยการมีส่วนร่วมของกองกำลังหนุนท้องถิ่นในการสังหารชาวยิวกว่าหนึ่งล้านคนในไรชส์ค็อมมิสซารีอาทในอ็อสท์ลันท์ นโยบายการถอดเป็นอักษรเยอรมัน, ได้สร้างขึ้นบนรากฐานของ[[เกเนอราลพลานอ็อสท์]] หลังจากนั้นก็จะดำเนินที่ผ่านมาด้วยหนึ่งในกฏษฏีกาพิเศษและแนะนำหลักการสำหรับแผนการตั้งถิ่นฐานทั่วไปสำหรับอ็อสท์ลันท์
 
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 และ 1944 [[กองทัพแดง]]ได้ทยอยๆยึดกลับคืนบนดินแดนส่วนใหญ่ในการรุกเยอรมนีของพวกเขา แต่กองทัพ[[แวร์มัคท์]]ได้ถูกโอบล้อมใน[[คูร์แลนด์พ็อกเกต]] เมื่อสงครามสิ้นสุดลงในยุโรปและความพ่ายแพ้ของเยอรมันในปี ค.ศ. 1945 ไรชส์ค็อมมิสซารีอาทได้ถูกยุบลง
 
อ็อสท์ลันท์นั้นไม่ควรจะสับสนด้วยคำว่า โอเบอร์ อ็อส (Ober Ost) ซึ่งมีบทบาทที่คล้ายกันกับอำนาจยึดครองสำหรับดินแดนบอลติกโดย[[จักรวรรดิเยอรมัน]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
 
== อ้างอิง ==