ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7096430 สร้างโดย 124.122.16.90 (พูดคุย)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
** [[ภาษากั้น]]
* กลุ่มทิเบต-พม่า
** กลุ่มกามารูปัน ได้แก่ กลุ่มกูกี-ฉิ่นชีน-นาคา กลุ่มอบอร์-มิรี-ดาปลา กลุ่มโบโด-กาโร
** กลุ่มหิมาลัย ได้แก่ กลุ่มมหา-กิรันตี (รวม[[ภาษาเนวารี]] [[ภาษามาคัร]] และ[[ภาษาไร]]) กลุ่มทิเบต-กิเนารี (รวม[[ภาษาทิเบต]] [[ภาษาเลปชา]])
** กลุ่มเกวียง
** กลุ่มจิ่งโป-นุง-ลุย ได้แก่ ภาษาจิ่งโปจิ่งเผาะ ภาษานุง ภาษาลุย
** กลุ่มพม่า-โลโล-นาซิ
** กลุ่ม[[ภาษากะเหรี่ยง]]
บรรทัด 21:
=== การจัดจำแนกของ George van Driem ===
การจัดแบ่งแบบนี้ให้ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าขึ้นมาเป็นตระกูลใหญ่ และให้ภาษาจีนเป็นกลุ่มย่อย เป็นดังนี้
* พราหมาปูตรัน ได้แก่ ภาษาธิมิล ภาษาโบโด-กอซ (รวมภาษาตรีปุระ ภาษากาโร) กลุ่มกอนยัค (รวมภาษานอคต์) กลุ่มกะฉิ่นชีน (รวมภาษาจิ่งโปจิ่งเผาะ)
* กลุ่มทิเบต-พม่าใต้ ได้แก่กลุ่มพม่า-โลโล กลุมกะเหรี่ยง
* กลุ่มจีน-ทิเบต ได้แก่ ภาษาจีน ภาษากลุ่มทิเบต-หิมาลัย (รวมภาษาทิเบต) ภาษากลุ่มกิรันตี ภาษากลุ่มตามันกิก และอื่นๆ