ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พม่าตอนบน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Burma indo china 1886.jpg|thumb|พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู]]
{{มีอักษรพม่า}}
'''พม่าตอนบน''' ({{lang-en|Upper Burma}}; {{lang-my|အထက်မြန်မာပြည်}}) บางครั้งเรียก '''พม่าจริงแท้''' (Real Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของ[[พม่า]] ครอบคลุมบริเวณ [[มัณฑะเลย์]] และรอบนอก (ปัจจุบันคือ [[เขตมัณฑะเลย์]], [[เขตซะไกง์]] และ[[เขตมาเกวมะกเว]]) และอาจกล่าวอย่างกว้าง ๆ โดยรวมกว้างๆเข้ากับ [[รัฐคะฉิ่นกะชีน]] และ[[รัฐชาน]]ไว้ด้วย
 
ใน[[ภาษาพม่า]] ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า ''อะ-ญา-ตาญาต้า'' ({{my|အညာသား}}), ในขณะที่ประชาชนที่มาจาก[[พม่าตอนล่าง]]จะเรียกว่า ''เอาะตาเอาะต้า'' ({{my|အောက်သား}})
 
คำนี้ถูกใช้โดย[[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|บริติชบริเตน]]นำชื่อนี้มาใช้เพื่ออ้างถึงพื้นที่ตอนกลางและตอนเหนือของพม่า หลังจากสิ้นสุด[[สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง]] ใน พ.ศ. 2395 ดินแดน[[พม่าตอนล่าง]]ถูก[[จักรวรรดิบริติช]]ยึด ขณะที่พม่าตอนบนยังคงเป็นอิสระภายใต้การปกครองของ[[ราชวงศ์โก้นบอง|อาณาจักรโก้นบอง]] จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลัง[[สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม]] พ.ศ. 2428 พม่าตอนบนในประวัติศาสตร์มักเป็นที่รู้จักกันในฐานะอาณาจักรของชาวพม่าเพราะประชาชนส่วนใหญ่เป็น[[ชาวพม่า]] (ในขณะที่พม่าตอนล่างเป็นที่มั่นและศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของ[[ชาวมอญ]]จนถึงพุทธศตวรรษที่ 24) ในขณะที่พื้นที่บริเวณพรมแดนตามที่รัฐบาลอาณานิคมกำหนดไว้ได้แก่พื้นที่ของชนกลุ่มน้อย เช่น รัฐกะชีน รัฐชาน
ถูกยึดโดย[[จักรวรรดิบริติช]] ขณะที่พม่าตอนบนยังคงเป็นอิสระภายใต้การปกครองของ[[ราชวงศ์โกนบอง|อาณาจักรโกนบอง]] จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลัง[[สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม]] พ.ศ. 2428 พม่าตอนบนในประวัติศาสตร์มักเป็นที่รู้จักกันในฐานะอาณาจักรของชาวพม่าเพราะประชาชนส่วนใหญ่เป็น[[ชาวพม่า]] (ในขณะที่พม่าตอนล่างเป็นที่มั่นและศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของ[[ชาวมอญ]] จนถึงพุทธศตวรรษที่ 24) ในสมัยอาณานิคมได้กำหนดพื้นที่ชายแดนรวมพื้นที่ชนกลุ่มน้อยเช่น [[รัฐคะฉิ่น]] และ[[รัฐชาน]] เข้าด้วยกัน
 
ความแตกต่างระหว่างพม่าตอนบนและกับพม่าตอนล่างยังมีอยู่ในบางหน่วยงานของรัฐบาล (เช่น กระทรวงศึกษาธิการของพม่ามีหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้เป็น ประจำที่พม่าตอนบนและพม่าตอนล่าง) และหนังสือพิมพ์บางฉบับมีความแตกต่างกันในพม่าตอนบนและตอนล่าง เช่นในหนังสือพิมพ์ ''เดอะเมียนมาไทม์'' แต่โดยส่วนใหญ่มักกล่าวถึงเหตุการณ์และข่าวในพม่าตอนบนเป็นหลัก<ref>{{cite news|url=http://myanmar.mmtimes.com/2011/upper/532/index.html|title=အထက်မြန်မာပြည်သတင်းများ ကဏ္ဍ|work=မြန်မာတိုင်း(မ်)|pages=c|accessdate=27 August 2011}}</ref> ในแง่ของความแตกต่างทางด้านภาษาศาสตร์มีความแตกต่างเล็กน้อย ระหว่าง[[ภาษาพม่า]]ที่พูดในพม่าตอนบนกับตอนล่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเลือกคำศัพท์ (เช่นศัพท์เกี่ยวกับเครือญาติที่แยกกันระหว่างครอบครัวทางแม่และทางพ่อซึ่งไม่มีการพูดในพม่าตอนล่าง) อย่างไรก็ตามภาษาพม่ามีผู้พูดทั่วไปตามเขต[[แม่น้ำอิระวดีอิรวดี]] รวมถึงบริเวณดินแดนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำและเขตชายฝั่งในพม่าตอนล่าง
 
==ดูเพิ่ม==