ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โยเซฟ (บุตรยาโคบ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ตรวจสอบแล้ว
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{about|โยเซฟในหนังสือปฐมบท|โยเซฟในพันธสัญญาใหม่|นักบุญโยเซฟ||โยเซฟ (แก้คำกำกวม)}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{โปร}}
{{Infobox person
| name = โยเซฟ
เส้น 40 ⟶ 39:
*[[ซาราห์]] (ทวดย่าของปู่)}}
}}
'''โยเซฟ''' ({{lang-en|Joseph}}({{IPAc-en|ˈ|dʒ|oʊ|z|ɪ|f|,_|-|s|ɪ|f}}); {{lang-he-n|יוֹסֵף}} หมายถึง "เพิ่มขึ้น" (<ref>A Hebrew and English Lexicon of the Old Testament; Brown, Driver and Briggs.</ref> <small>[[ภาษาฮีบรู|มาตรฐาน]]</small> ''Yosef'' <small>[[การสะกดแบบทิเบเรียน|ทิเบเรียน]]</small> ''Yôsēp̄''); {{lang-ar|يوسف}} (''Yūsuf'' หรือ ''Yūsif''); {{lang-grc|Ἰωσήφ}} (''Iōsēph'')) เป็นบุคคลที่ปรากฎในคำภีร์ไบเบิลบท[[หนังสือปฐมกาล|ปฐมกาล]]. เป็นบุตรชายคนที่ 11 ของ[[ยาโคบ]] กับนางราเชล ที่ถูกขายเป็นทาสโดยบรรดาพี่ชายที่อิจฉา และกลายเป็น[[เสนาบดี (อียิปต์โบราณ)|เสนาบดี]] หลังจากกลายเป็นฟาโรห์แล้ว การจัดการสิ่งของและการดำเนินงานของเขาทำให้อิสราเอลออกจาก[[คานาอัน|ดินแดนคะนาอัน]]และตั้งถิ่นฐานที่อียิปต์
'''โยเซฟ''' ({{lang-en|Joseph}}) เป็นบุตรชายคนที่ 11 ของ[[ยาโคบ]] กับนางราเชล ที่เกิดในเมืองปัดดานอาร้ม โยเซฟมักนำเอาความผิดของพี่ ๆ ไปบอกบิดา จึงถูกพี่ ๆ ชัง และอิจฉา จึงถูกขายไปยังอียิปต์ และภายหลังโยเซฟได้มีโอกาสถวายงานให้ฟาโรห์จนได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ปกครองอียิปต์ และได้ช่วยให้อิสราเอลได้เข้าไปพำนักในอียิปต์ช่วงที่เกิดการกันดารอาหาร
 
 
 
== ชีวิตวัยเด็ก ==
[[ไฟล์:Konstantin Flavitsky 001.jpg|thumb|200px|โยเซฟขณะถูกจับไปขายเป็นทาส วาดโดย คอนสแตนติน ฟลาวิสกี้]]
โยเซฟ เป็นบุตรคนที่ 11 ของ[[ยาโคบ]] และนางราเชล เดิมทีนางราเชลเป็นหมัน จนกระทั่งเมื่อ[[พระเจ้า]]ทรงสดับฟังเสียงของนาง ภายหลังจาก[[ยาโคบ]]มีบุตรกับภรรยาอื่น ไปแล้วถึง 10 คน นางราเชลจึงได้รับพระพรจากพระเจ้าให้ตั้งครรภ์ นางจึงตั้งชื่อลูกชายคนแรกของนางว่า โยเซฟ<ref>แปลว่า พระองค์ทรงเพิ่ม</ref> เพราะพระเจ้าโปรดเพิ่มบุตรชายให้แก่นาง<ref>[[พระธรรมปฐมกาล]] บทที่ 30 ข้อ 22-24</ref> ครั้นเมื่อยาโคบย้ายไปอยู่ในแผ่นดิน[[คานาอัน]]แล้ว ยาโคบรักโยเซฟมาก เนื่องจากโยเซฟเกิดมาเมื่อท่านมีอายุมากแล้ว โยเซฟมักนำความผิดของพี่ๆ ไปบอกแก่บิดา จึงถูกชัง ถูกอิจฉา และพูดดีกับเขาไม่ได้
 
เส้น 51 ⟶ 47:
 
== โยเซฟกับโปทิฟาร์ ==
[[ไฟล์:Philipp Veit 002.jpg|thumb|200px|โยเซฟพยายามหลบหนีภรรยาของโปทิพาร์<br /> วาดโดย ฟิลลิป เวียต <ปี พ.ศ. 2160-2161]]
เมื่อโยเซฟถูกขายไปยัง[[อียิปต์]]นั้น โปทิฟาร์ ผู้บัญชาการทหารรักษาพระองค์ของ[[ฟาโรห์]] ได้ซื้อโยเซฟไว้ โยเซฟรับใช้ถูกใจโปทิฟาร์ จึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ดูแลการงานในบ้าน และมอบทรัพย์สิ่งของทั้งปวงไว้ในความดูแลทั้งหมด และโยเซฟมิเคยแตะต้องทรัพย์สมบัติของโปทิฟาร์เลย
 
เส้น 108 ⟶ 104:
เมื่อโยเซฟได้เสียชีวิตลง เมื่อมีอายุได้เพียง 110 ปี ร่างของโยเซฟได้ถูกทำพิธีตามประเพณีของอียิปต์ด้วยการอาบยาศพแล้วก็บรรจุศพไว้ในโลง กาลเวลาต่อมาหลายปี ฟาโรห์แห่งอียิปต์ก็ไม่ได้รู้จักโยเซฟและเล็งเห็นว่า ชาวฮีบรูที่มาอาศัยในแผ่นดินอียิปต์มีจำนวนมากขึ้นและเกรงกลัวว่าจะเป็นภัยต่อประเทศ จึงได้แยกฮีบรูให้ไปอยู่อีกอาณาเขตหนึ่งห่างจากพวกตน และลดฐานะให้เป็นทาส แล้วเกณฑ์แรงงานไปใช้ในการก่อสร้างพีระมิด อีกทั้งปริมาณประชากรของชาวฮีบรูได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ฟาโรห์ต้องมีคำสั่งให้ประหารชีวิตเด็กเกิดใหม่เป็นจำนวนมาก การกดขี่ข่มเหงของอียิปต์ได้สร้างความทุกข์ใจต่อชาวฮีบรูเป็นอย่างมากและได้อ้อนวอนต่อพระเจ้าให้มาปลดปล่อยพวกตนกลับไปยังแผ่นดินคานาอันที่จากมาหลายปี จนกระทั่งพระเจ้าได้ส่ง[[โมเสส]]มาปลดปล่อยเหล่าฮีบรูให้พ้นจากการเป็นทาสและเดินทางกลับสู่แผ่นดินคานาอันได้ในที่สุด
 
==มุมมองในศาสนายูดาย==
== อ้างอิง ==
===การขายโยเซฟ===
{{รายการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Konstantin Flavitsky 001.jpg|thumb|200px|โยเซฟขณะถูกจับไปขายเป็นทาส วาดโดย คอนสแตนติน ฟลาวิสกี้]]
ในอิสลาม โยเซฟก็คือ นบียูซุบ ยาคอบก็คือ นบีย๊ะกุ๊บ
ในคำภีร์[[มิดราช]] การขายโยเซฟเป็นแผนการของพระเจ้าเพื่อที่จะปกป้องเผ่าของเขา<ref>Scharfstein, S. ''Torah and Commentary: The Five Books of Moses'' ({{ISBN|1602800200}}, {{ISBN|978-1-60280-020-5}}), 2008, p.124</ref> [[ไมโมนิเดส]]ได้กล่าวว่า แม้แต่ชาวบ้านในเชเช็ม เกี่นวกับคำถามที่งโยเซฟถามพวกพี่ชายของเขา เป็น "ผู้ส่งสารศักดิ์สิทธิ์" ที่ทำงานเป็นเบื้องหลัง<ref>Scharfstein, 2008, p. 120</ref>
 
===ภรรยาของโพทิฟาร์===
โยเซฟประสงค์ดีที่จะไม่มีเรื่องกับภรรยาของโพทิฟาร์: เขาไม่ต้องการทำลายความเชื่อมันของผู้เป็นนาย, เชื่อในกฎของการแต่งงาน และอาจจะมีปัญหากับความเชื่อ การศรัทธา และคำสอนที่มาจากพ่อของเขา รายงานจาก[[มิดราช]] โยเซฟอาจจะถูกประหารชีวิตในข้อหาล่วงละเมิดทางเพศโดยภรรยาของโพทิฟาร์<ref>Scharfstein, 2008, pp. 125–26</ref>
 
===ถ้วยเงิน===
ในธรรมเนียมของศาสนายูดายได้อธิบายว่าโยเซฟแอบใส่ถ้วยเงินลงในถุงของเบนยามินเพื่อทดสอบพี่ชายของเขา. เขาต้องการทดสอบว่าพวกพี่ชายจะทำอย่างไรเพื่อที่จะช่วยเบนยามิน เพราะโยเซฟกับเบนยามินเกิดจากนางราเชล บททดสอบนี้ได้พิสูจน์ว่าพวกเขาเลือกที่จะทรยศต่อเบนยามิน เหมือนกับตอนที่ทำกับโยเซฟเมื่อเขาอายุ 17 ปี เพราะ ''โยเซฟนักทำนายฝัน'' ได้ทำนายอนาคตตามความฝัน<ref>{{bibleverse||Genesis|44:15|HE}}</ref> และตามที่โยเซฟยืนยันใน {{bibleverse||Genesis|44:15|HE}}.<ref>Scharfstein, 2008, pp. 138–39</ref>
 
==มุมมองในศาสนาอิสลาม==
{{main|ยูซุฟ}}
[[File:Joseph with his father Jacob and brothers in Egypt.JPG|thumb|ยูซุฟ (โยเซฟ) ยะอ์กูบ (ยาโคบ) และพี่น้องในอียิปต์ ภาพจาก Zubdat-al Tawarikh ใน[[Turkish and Islamic Arts Museum]] ที่[[อิสตันบลู]] วาดในสมัยสุลต่าน[[มุราดที่ 3]] เมื่อปีค.ศ.1583]]
ยูซุฟ ({{lang-ar|يوسُف}}, ''{{transl|ar|ALA-LC|Yūsuf}}'') iเป็นที่รู้จักจาก[[ชาวมุสลิม]]ว่าเป็นหนึ่งในศาสดา (Qur'an, suras vi. 84, xl. 34) และทั้งบทของ[[ยูซุฟ (ซูเราะฮ์)|ซูเราะฮ์ยูซุฟ]] ได้กล่าวถึงเขา โดยกล่าวถึงซูเราะฮ์นี้ว่าเป็น 'เรื่องที่ดีที่สุด'.<ref>{{cite quran|12|3|s=ns}}</ref> ยูซุฟเป็นที่กล่าวขานว่ามีใบหน้าที่หล่อเหลามาก จนทำให้ภรรยาของฟาโรห์เย้ายวนใจเขา ศาสดามุฮัมมัดได้กล่าวว่า "ครึ่งหนึ่งจากความงามทั้งหมดที่อัลลอฮ์ให้กับมวลมนุษย์อยู่ที่ยูซุฟกับแม่ของเขา; ส่วนอีกครึ่งหนึ่งได้อยู่ในมวลมนุษยชาติ"<ref>{{Harvnb|Tottli|2002|p=[https://books.google.com/books?id=IdC37_JZ5k8C&pg=PA120 120]}}</ref> เรื่องราวมีส่วนคล้ายกับพระคำภีร์ แต่มีข้อแตกต่างบ้าง<ref>{{cite quran|12|1|s=ns}}</ref> ในอัลกุรอาน พวกพี่น้องได้บอกให้ยะอ์กูบ ให้พายูซุฟไปพร้อมกับพวกเขา<ref>{{cite quran|12|12|s=ns}}</ref> หลุมที่ยูซุฟถูกโยนนั้น คือบ่อน้ำ และเขาถูกนำไปเป็นทาสโดยกองคาราวานที่เดินทางมา. เมื่อพวกพี่น้องได้บอกพ่อว่ายูซุฟถูกหมาป่ากินไปแล้วนั้น เขาก็ร้องไห้จนตาบอด(กุรอาน 12:19).<ref>{{cite quran|12|19|s=ns}}</ref>
 
ในพระคำภีร์นั้น โยเซฟได้ปิดบังตนเองก่อนที่พวกเขาจะกลับไปหาพ่อพร้อมกับถุงบรรทุกข้าวเป็นรอบที่สอง<ref name="dt">[http://www.jewishencyclopedia.com/view.jsp?artid=441&letter=J&search=joseph#1570 Differences of Tradition]</ref> ซึ่งเหมือนกับของอิสลาม แต่ต่างกันที่พวกเขากลับไปโดยไม่พาเบนยามินไปด้วย และพ่อก็ร้องไห้อีกครั้ง<ref name="dt"/> เขายังคงปิดความลับนั้นจนกระทั่งพวกพี่น้องได้มาอียิปต์อีกรอบ และให้กลับไปพร้อมนำเสื้อผ้าของยูซุฟไปแตะที่ตาของพ่อของเขาซึ่งทำให้ตาของเขาไม่บอดอีกต่อไป (กุรอาน 12:96).<ref name="dt"/>
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 117 ⟶ 127:
* [[อิสอัค]]
* [[ยาโคบ]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
ในอิสลาม โยเซฟก็คือ นบียูซุฟ ยาคอบก็คือ นบียะอ์กูบ
 
==สารานุกรม==
* {{cite book|title = Genesis 49 in its literary and historical context
|series = Oudtestamentische studiën, Oudtestamentisch Werkgezelschap in Nederland
|last = de Hoop
|first= Raymond
|publisher= BRILL
|year=1999
|volume =39
|isbn = 978-90-04-10913-1
|url = https://books.google.com/books?id=-ZYHBfzcJ7IC&pg=PA412
|ref = harv
}}
* {{cite book |title = The Bible Unearthed: Archaeology's New Vision of Ancient Israel and the Origin of Sacred Texts
|last1 = Finkelstein
|first1 = Israel
|authorlink1 = Israel Finkelstein
|last2 = Silberman
|first2 = Neil Asher
|authorlink2 =Neil Asher Silberman
|publisher= Simon and Schuster
|year=2001
|isbn = 978-0-7432-2338-6
|url = https://books.google.com/books?id=lu6ywyJr0CMC&pg=PA37
|accessdate = 11 September 2011
|ref = harv
}}
* Genung, Matthew C. (2017). ''[https://www.mohr.de/en/book/the-composition-of-genesis-37-9783161551505?no_cache=1&tx_sgpublisher_pi1%5Bbacklink%5D=1 The Composition of Genesis 37: Incoherence and Meaning in the Exposition of the Joseph Story]''. Forschungen zum Alten Testament 2. Reihe. 95. Tübingen: Mohr Siebeck. {{ISBN|978-3-16-155150-5}}.
* {{cite book |title = The wiles of women/the wiles of men: Joseph and Potiphar's wife in ancient Near Eastern, Jewish, and Islamic folklore
|last = Goldman
|first = Shalom
|publisher= SUNY Press
|year= 1995
|isbn = 978-0-7914-2683-8
|url = https://books.google.com/books?id=DKauXlekLskC&pg=PA128
|ref = harv
}}
* {{cite book |chapter= The Odyssey and the myth of Joseph; Autolykos and Jacob
|title = Homer's Odyssey and the Near East
|last = Louden
|first = Bruce
|publisher = Cambridge University Press
|year = 2011
|pages = 57–104
|isbn = 978-0-521-76820-7
|chapter-url = https://books.google.com/books?id=AKDfiWrXAx8C&pg=PA63
|ref = harv
}}
* {{cite book |title = Biblical History and Israel's Past: The Changing Study of the Bible and History
|last1 = Moore
|first1 = Megan Bishop
|last2 = Kelle
|first2 = Brad E
|publisher = Wm. B. Eerdmans Publishing
|year = 2011
|isbn = 978-0-8028-6260-0
|url = https://books.google.com/books?id=Qjkz_8EMoaUC&pg=PA91
|ref = harv
}}
* {{cite book
|title = A study of the biblical story of Joseph: (Genesis 37–50)
|last = Redford
|first = Donald B.
|authorlink = Donald B. Redford
|publisher= Brill
|location = Leiden
|year= 1970
|url = https://books.google.com/?id=WLM3AAAAIAAJ&printsec=frontcover&dq=Redford%2BStudy+of+the+Biblical%2BJoseph
|ref = harv
}}
* {{cite book |title = Egypt, Canaan, and Israel in Ancient Times
|last = Redford
|first = Donald B.
|authorlink = Donald B. Redford
|publisher= Princeton University Press
|year=1993
|origyear=1992
|isbn = 978-0-691-00086-2
|url = https://books.google.com/books?id=gkN9QgAACAAJ
|ref = harv
}}
* {{cite book |title = Egyptian cultural icons in Midrash
|series=Studia Judaica
|last = Rivka
|first = Ulmer
|publisher= Walter de Gruyter
|year= 2009
|volume = 52
|isbn = 978-3-11-022392-7
|url = https://books.google.com/books?id=wKH3qsGzlb0C&pg=PA112
|accessdate = 8 September 2011
|ref = harv
}}
* {{cite journal |title =Jacobsbrunnen-Josephsgrab-Sychar. Topographische Untersuchungen und Erwägungen in der Perspektive von Joh. 4,5.6
|last = Schenke
|first = Hans-Martin
|journal = Zeitschrift des Deutschen Palästina-Vereins
|volume = 84
|issue = 2
|year = 1967
|pages = 159–84
|ref = harv
}}
* {{cite book |chapter =Strange Bedfellows: Politics and Narrative in Philo
|title = The seductiveness of Jewish myth: challenge or response?
|series =SUNY series in Judaica
|last = Sills
|first = Deborah
|editor-last = Breslauer
|editor-first = S. Daniel
|publisher= SUNY
|pages =171–90
|isbn = 978-0-7914-3602-8
|year=1997
|chapter-url = https://books.google.com/books?id=0KMvayC3nPAC&pg=PA171
|accessdate = 8 September 2011
|ref = harv
}}
* {{cite book |chapter =Jewish religious life in the Persian period
|title = The Cambridge History of Judaism: Introduction; The Persian period
|series =SUNY series in Judaica
|last = Smith
|first = Morton
|authorlink = Morton Smith
|editor1-last = Davies,
|editor1-first = William David
|editor2-last = Finkelstein
|editor2-first = Louis
|publisher= Cambridge University Press
|year=1984
|pages =219–78
|isbn = 978-0-521-21880-1
|chapter-url = https://books.google.com/books?id=bs3OZAaUSWIC&pg=PA243#v=snippet&q=%22romantic-religious%20novellae%22%20OR%20%22Joseph%20romance%22&f=false
|accessdate = 8 September 2011
|ref = harv
}}
* {{cite book |title = The Original Torah: The Political Intent of the Bible's Writers
|last = Sperling
|first = S. David
|publisher = NYU Press
|year =2003
|isbn = 978-0-8147-9833-1
|url = https://books.google.com/books?id=ChL0irKVQsgC&pg=PA98
|accessdate = 8 September 2011
|ref = harv
}}
* {{cite book | title = Aegypten und die Bibel: die Urgeschichte Israels im Licht der aegyptischen Mythologie
|last = Völter
|first = Daniel
|publisher= E.J. Brill
|location= Leiden
|year= 1909
|edition= 4th
|url = https://books.google.com/books?id=K_sUAAAAIAAJ&pg=PA64
|accessdate = 8 September 2011
|ref = harv
}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{Commonscat-inline|Joseph (son of Jacob)}}
* [http://www.bbc.co.uk/religion/religions/judaism/history/joseph.shtml BBC - Joseph]
 
{{บุตรของอิสราเอล}}
{{เซนต์ของคาทอลิก}}
 
{{Authority control}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลในคัมภีร์ไบเบิล]]
[[หมวดหมู่:การทำนายดวงชะตา]]
[[หมวดหมู่:ลูกของยาโคบ]]
[[หมวดหมู่:ศาสดาของศาสนาอิสลาม]]