ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาพุทธวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 183.88.178.96 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Armonthap
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ภาพimage = ไฟล์:King_putthawong.jpg
| สีพิเศษ = #ffcc00
| พระนามาภิไธยfull_name = พระยาพุทธวงศ์
| สีอักษร = #8f5f12
| death_style = อสัญกรรม
| ภาพ = ไฟล์:King_putthawong.jpg
| วันพิราลัยdeath_date = [[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2389]]
| พระนามาภิไธย = พระยาพุทธวงศ์
| พระอิสริยยศsuccession = พระยานครเชียงใหม่
| พระปรมาภิไธย =
| reign = พ.ศ. 2369 - พ.ศ. 2389<ref>''เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมียะ'', หน้า 16</ref> (20 ปี)
| ราชสมภพ =
| รัชกาลก่อนหน้าpredecessor = [[พระยาคำฟั่น]]
| วันพิราลัย= [[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2389]]
| รัชกาลถัดมาsuccessor = [[พระเจ้ามโหตรประเทศ]]
| พระอิสริยยศ = พระยานครเชียงใหม่
| succession2 = พระยาอุปราชเชียงใหม่
| พระบิดา = เจ้าพ่อเรือน
| reign-type2 = ดำรงพระยศ
| พระมารดา= แม่เจ้าจันทาราชเทวี
| reign2 = พ.ศ. 2367 - 2369
| พระมเหสี = แม่เจ้าปินตองราชเทวี
| predecessor2 = [[พระยาคำฟั่น]]
| พระโอรส/ธิดา = 9 พระองค์
| successor2 = [[พระเจ้ามโหตรประเทศ|เจ้าขนานมหาวงศ์]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
| พระบิดาfather = เจ้าพ่อเรือน
| ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2368]] - [[พ.ศ. 2389]]
| พระมารดาmother = แม่เจ้าจันทาราชเทวี
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| spouse-type = ราชเทวี
| ระยะเวลาครองราชย์ = 20 ปี
| spouse = แม่เจ้าปินตอง
| รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาคำฟั่น]]
| พระโอรส/ธิดาissue = 9 พระองค์
| รัชกาลถัดมา = [[พระเจ้ามโหตรประเทศ]]
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
}}
 
'''พระยากากวรรณาธิปะราชวชิรปราการวรรณาทิปะราชวชิรปราการ'''<ref name="หน้า450">วรชาติ มีชูบท. [https://www.silpa-mag.com/featured/article_5445 เวียงแก้ว จากคุ้มหลวงสู่คอกหลวงนครเชียงใหม่] ''ศิลปวัฒนธรรมพงศาวดารโยนก''., 9 มกราคม พ.ศ.หน้า 2560450</ref> หรือ '''พระยาพุทธวงศ์''' เป็น[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]] องค์ที่ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 23682369 - พ.ศ. 2389 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]] และเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการรวบรวมผู้คนมาเป็นประชากรของเมืองเชียงใหม่ในรัชสมัย[[พระเจ้ากาวิละ]]
 
== พระราชประวัติ ==
พระยาพุทธวงศ์ หรือ เจ้าหลวงแผ่นดินเย็น<ref name="เจ้าหลวงเชียงใหม่"/> มีนามเดิมว่า'''นายพุทธวงศ์''' เป็นเจ้าโอรสองค์โตใหญ่ของ'''นายพ่อเรือน''' พระราชอนุชาใน[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว ]] ผู้ครองนครลำปางกับแม่เจ้าจันทาราชเทวี และเป็นเจ้าราชนัดดา (หลานปู่) ใน[[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]] (พระญาสุละวะฤๅไชยสงคราม) กับแม่เจ้าพิมพาราชเทวี ซึ่งเป็นองค์ต้นราชวงศ์ทิพย์จักร (เชื้อเจ้าเจ็ดตน)
 
พระยาพุทธวงศ์ มีพระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 5 พระองค์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
เส้น 32 ⟶ 33:
* '''[[เจ้าสนธนา]]''' - ชายาใน[[พระยาอุปราชหมูล่า]] พระราชมหาอุปราชานราธิบดีศรีสุวรรณฝ่ายหน้าหอคำนครลำปาง
 
เมื่อพระยาอุปราชคำฟั่นได้รับการสถาปนาเป็นพระยาเชียงใหม่ เจ้าพุทธวงศ์ได้รับสถาปนาเป็น''พระยาอุปราชเชียงใหม่''แทนเมื่อวันที่ 31 มกราคม<ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่'', หน้า 215</ref> จ.ศ. 1185 ปีมะแม<ref name="หน้า450"/> (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2367) เมื่อพระยาเชียงใหม่คำฟั่นถึงแก่อนิจกรรม เจ้านายและขุนนางเชียงใหม่จึงทูลเชิญพระยาอุปราชพุทธวงศ์ขึ้นสืบราชสมบัติในวันที่ 20 พฤษภาคม<ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่'', หน้า 222</ref> จ.ศ. 1188 ปีจอ<ref name="หน้า450"/> (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2369) แต่พระยาพุทธวงศ์ยังคงประทับที่คุ้มเดิมหน้าวัดพระสิงห์ แม้จะได้รับทูลเชิญให้ประทับที่หอคำ ก็เกรงบารมีพระประยูรญาติที่ล่วงลับไปแล้ว จึงให้สร้างหอเทียมขึ้นทางทิศใต้ของหอคำ ประทับที่หอคำได้ 7 วันรับราชาภิเษกแล้วย้ายไปประทับที่หอเทียม เฉลิมพระนามว่า''ภูมิปาลรัฏฐาธิปติ''<ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี'', หน้า 168</ref>
เจ้าพุทธวงศ์ ได้รับการสถาปนาเป็น''พระยาอุปราชพุทธวงศ์'' เมื่อปี [[พ.ศ. 2365]]<ref>[http://www.chiangmainews.co.th/chaingmai/comefun.html พระญาคำฝั้น เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 3]</ref> สืบต่อจากพระยาอุปราชคำฝั้น ซึ่งได้รับการสถาปนาเป็นพระยานครเชียงใหม่
 
พระยาพุทธวงศ์ ป่วยถึงแก่พิราลัยเมื่ออสัญกรรมในเดือน 7 ปีมะเมีย จ.ศ. 1208<ref>''พงศาวดารโยนก'', หน้า 454</ref> (ราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2389)
 
== ราชโอรส ราชธิดา ==
เส้น 104 ⟶ 105:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
; บรรณานุกรม
 
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ชื่อหนังสือ = ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี| จังหวัด = เชียงใหม่| พิมพ์ที่ = ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่| ปี = 2538| ISBN = 974-8150-62-3| จำนวนหน้า = 320}}
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค)|ประชากิจกรจักร, พระยา]]| ชื่อหนังสือ = พงศาวดารโยนก| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2557| ISBN = 978-616-7146-62-1| จำนวนหน้า = 496}}
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, 2540.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = มหาอำมาตยาธิบดี (หรุ่น ศรีเพ็ญ), พระยา| ชื่อหนังสือ = พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย| URL = http://www.finearts.go.th/chiangmailibrary/index.php/2016-08-20-05-05-37/book/233?tmpl=component&print=1| จังหวัด = พระนคร| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์พระจันทร์| ปี = 2505 | จำนวนหน้า = 35| หน้า = }} [พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระพิจิตรโอสถ (รอด สุตันตานนท์)]
* เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท | ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428}}
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และเดวิด เค วัยอาจ (ปริวรรต)| ชื่อหนังสือ = ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่| จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = ตรัสวิน| ปี = 2543| ISBN = 9747047683| จำนวนหน้า = 220}}
{{จบอ้างอิง}}
 
เส้น 120 ⟶ 121:
| ตำแหน่ง = [[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์ทิพย์จักร
| ปี = [[1320 กุมภาพันธ์]]พฤษภาคม [[พ.ศ. 2368]]2369 - [[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2389]]
| ถัดไป = [[พระเจ้ามโหตรประเทศ]]
}}