ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าปดุง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
|name = พระเจ้าปดุง <br> โบดอพญา
|image = Amarapura palace British Embassy Michael Symes 1795.jpg
|caption = พระราชวังหลวงที่อมรปุระปี พ.ศ. 2338
|reign = 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2325-5 มิถุนายน พ.ศ. 2362 ({{อายุปีและวัน|2325|2|11|2362|6|5}})
|coronation = 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2325
| succession = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า|พระมหากษัตริย์พม่า]]
|predecessor = [[พระเจ้าหม่องหม่อง|หม่องหม่อง]]
|successor = [[พระเจ้าจักกายแมง|จักกายแมง]]
|spouse-type = พระมเหสี
|spouse = Min Lun Meมีนลูนเม
|issue = พระราชโอรส 62 พระองค์ <br> พระราชธิดา 58 พระองค์
|father = [[พระเจ้าอลองพญา|อลองพญา]]
|birth_date = 11 มีนาคม พ.ศ. 2288
|birth_place = [[มุตโชโบมุกโชโบ]]
|death_date = 5 มิถุนายน พ.ศ. 2362 ({{อายุปีและวัน|2288|3|11|2362|6|5}})
|death_place = [[อมรปุระ]]
|place of burial = [[อมรปุระ]]
|religion = [[พุทธ]]
|mother = [[พระนางยุยู่นซาน]]
}}
 
'''พระเจ้าปดุง''' ({{lang-enmy|Bodawpayaဗဒုံမင်း}} ''บะโดนมี่น'') เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับพระองค์ที่ 5 แห่ง[[ราชวงศ์อลองพญาโก้นบอง]] (หรือเป็นองค์พระองค์ที่ 6 หากนับรวม[[พระเจ้าหม่องหม่อง]]ด้วย) ราชวงศ์สุดท้ายของพม่า เป็นพระโอรสลำดับที่ 5 ใน 6 พระองค์ของ[[พระเจ้าอลองพญา]] ขึ้นครองราชย์โดยการปราบดาภิเษกในปี [[พ.ศ. 2325]] ปีเดียวกับการสถาปนา[[กรุงรัตนโกสินทร์]] พระเจ้าปดุง เมื่อทรงครองราชย์มีพระนามว่า "ปโดงเมง"''บะโดนมี่น'' หมายถึง "พระราชาจากเมืองปโดงบะโดน" แต่มีพระนามที่เป็นที่เรียกขานกันในพม่าภายหลังว่า "โบดอพญา"''โบ้ดอพะย่า'' ({{lang-|my|ဘိုးတော်ဘုရား}}) แปลว่า "เสด็จปู่ "
 
==ราชการสงคราม==
===การตีรัฐแคว้นยะไข่ได้สำเร็จ===
พระเจ้าปดุง เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระเจ้าปดุงได้ทรงทำสงครามชนะ[[รัฐยะไข่|ยะไข่]] หรือ อะรากัน ซึ่งเป็นดินแดนทางตะวันตกของพม่า ที่ซึ่ง[[ประเทศพม่า|พม่า]]ไม่เคยเอาชนะมาก่อนเลย หลังสงครามครั้งนี้ พระองค์ยังได้อัญเชิญ[[พระมหามัยมุนี]] อันเป็นพระพุทธรูปประจำชาติพม่า จาก[[ยะไข่]]มาประทับที่[[มัณฑะเลย์]]
 
===การทำสงคราม 9 ทัพบุกสยาม===
พระเจ้าปดุงต้องการแสดงให้เห็นถึงพระบารมีของพระองค์ว่า ทรงเป็นพระเจ้าช้างเผือกผู้พิชิตเอเชียอาคเนย์ได้อีกพระองค์หนึ่ง หลังจาก[[พระเจ้าบุเรงนอง]]แห่งราชวงค์ตองอูราชวงศ์ตองอู กับและ[[พระเจ้ามังระ]]แห่งราชวงค์โก้นบอง พระเชษฐาของพระองค์ สามารถทำได้
 
ครั้งนั้นพระเจ้าปดุงสั่งเกณฑ์ไพร่จำนวนกว่า 1 แสน 2 หมื่นคน แยกเป็น 5 สาย 9 ทัพ มากที่สุดเท่าที่เคยมีปรากฏในประวัติศาสตร์ หรือที่(จึงเรียกว่า "[[สงครามเก้าทัพ]]") มา[[กรุงเทพมหานคร]] ในปี พ.ศ. 2328 โดยพระองค์ทรงยกมาเป็นทัพหลวง โดยตั้งทัพและตั้งฐานบัญชาการที่[[เมาะตะมะ ]] แต่เมื่อพระองค์เสด็จจากอังวะ ราชธานีสู่[[เมาะตะมะ]] แต่ทางเมาะตะมะเตรียมเสบียงไม่พอ ทำให้กองทัพพม่าไม่พร้อม และเป็นสาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งที่ทำให้ไม่สามารถทำสงครามครั้งนี้ได้สำเร็จ โดยครั้งนั้น[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ทรงใช้การตั้งรับเชิงรุก ทรงส่งกองทัพไปรบแถบชายแดนเพื่อไม่ให้พม่าสามารถรวมทัพได้เหมือนทุกคราว โดยมี[[กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]] ทรงเป็นหัวใจสำคัญในการปกป้องกรุงรัตนโกสินทร์ในคราวนี้
 
===สงครามศึกท่าดินแดงกับสยาม===
ในสงครามครั้งนี้พระเจ้าปดุงโปรดเกล้าให้ยกทัพเข้ามาทาง ด่านเจดีย์สามองค์ เป็นทัพใหญ่เพียงทัพเดียว ทางฝ่ายสยามตั้งทัพที่ท่าดินแดง แขวงเมืองกาญจนบุรี ซึ่งสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ เนื่องจากกองทัพสยามที่นำโดยกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทบุกเข้าโจมตีกองทัพพม่าโดยไม่ทันได้ตั้งตัวจนแตกพ่ายไป หลังพ่ายแพ้การศึกครั้งนี้ พระเจ้าปดุงก็ไม่เคยยกทัพใหญ่มาทำสงครามกับกรุงรัตนโกสินทร์อีกเลย
 
==การสวรรคต==
พระเจ้าปดุง สวรรคตในปี [[พ.ศ. 2362]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ของไทย รวมระยะเวลาการครองราชย์นานถึง 37 ปี <ref>Father Sangermano, A Description of the Burmese Empire ([[New York]]: [[ค.ศ. 1969|1969]]), p. 71</ref><ref>สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ไทยรบพม่า ([[จังหวัดพระนคร|พระนคร]]: แพร่พิทยา, [[พ.ศ. 2514|2514]]) หน้า 552-589</ref>
 
==อ้างอิง==
บรรทัด 46:
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า|พระมหากษัตริย์พม่า]]<br /> ([[ราชวงศ์โก้นบอง|อาณาจักรพม่ายุคที่ 3]])
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์โก้นบอง
| ปี = [[พ.ศ. 2325]] - [[พ.ศ. 2325–2362]]
| ถัดไป = [[พระเจ้าจักกายแมง]]
}}