ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามังระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| สีพิเศษ =
| image =
| พระนาม = สิริสุริยมหายธรรมะ ธรรมราชา ราชาธิบดี
| พระราชสมภพ = 12 กันยายน พ.ศ. 2279<br>[[มุกโชโบ]]
| วันสวรรคต = 10 มิถุนายน พ.ศ. 2319 (39 ปี) <br>[[อังวะ]]
| พระอิสริยยศ = กษัตริย์แห่งพม่า
| พระราชบิดา = [[พระเจ้าอลองพญา]]
| พระราชมารดา = แม ยุนซานแมยู่นซาน
| พระอัครมเหสี= แม ฮลาแมละ (Me Hla{{lang|my|မယ်လှ}}) <br>{{เทาเล็ก|พระชายาอีก 19 พระองค์}}
| พระราชโอรส/ธิดา = พระราชโอรส 20 พระองค์<br>พระราชธิดา 20 พระองค์
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์อลองพญา]]
บรรทัด 18:
}}
 
'''พระเจ้ามังระ''' หรือ '''พระเจ้าซินพะยูชิน''' ({{lang-my|ဆင်ဖြူရှင်ဆင်ဖြူရှင်မင်း}};‌ {{lang''ซีน-roman| Hsinbyushin}}พยูชีนมี่น'') เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ในจำนวน 6 พระองค์ของ[[พระเจ้าอลองพญา]] ปฐมกษัตริย์แห่ง[[ราชวงศ์อลองพญา]]หรือราชวงศ์โก้นบอง]] ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์อลองพญา ในปี พ.ศ. 2306 พระองค์ได้ตามเสด็จพระเจ้าอลองพญาออกรบตั้งแต่อายุ 15 ปี เมื่ออายุ 17 ปี ก็สามารถเป็นผู้นำทัพเข้ายึดกรุงอังวะจากทหารมอญทั้งที่มีกำลังพลน้อยกว่ามากได้อย่างน่าประหลาดใจ ครั้นอายุ 20 ปีก็ช่วย[[พระเจ้าอลองพญา]]รวมแผ่นดินสถาปนาราชวงค์โก้นราชวงศ์โก้นบองได้สำเร็จ อีกทั้งยังได้เป็นผู้ติดตามพระราชบิดามาทำสงครามกับอยุธยาในการบุกครั้งแรกด้วย โดยในพงศาวดารของฝั่งพม่าได้กล่าวถึงราชบุตรมังระว่า เป็นผู้เตือนพระบิดาคือพระเจ้าอลองพญาว่า การบุกคราวนี้ยังไม่พร้อมพอที่จะเอาชัยชนะต่อกรุงศรีอยุธยาที่มีปราการธรรมชาติระดับนี้ได้ ซึ่งการณ์ก็เป็นไปดังนั้น และพระองค์ยังต้องเสียพระราชบิดาไปในศึกคราวนี้ด้วย
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2306 หลังจากขึ้นครองราชย์ พระองค์ปรารภในที่ประชุมขุนนางว่า ''"อยุธยาไม่เคยแพ้อย่างราบคาบมาก่อน"'' พระองค์สืบทอดเจตนารมณ์ของพระราชบิดา ด้วยการส่ง[[เนเมียวสีหบดี]]เข้ามากวาดต้อนผู้คนและกำลังพลจากหัวเมืองทางเหนือก่อนในปี พ.ศ. 2307 และได้ส่งทัพจากทางใต้คือ[[มังมหานรธา]]เข้ามาเสริมช่วยอีกทัพหนึ่ง ทั้ง 2 ทัพได้ล้อมกรุงศรีอยุธยานานถึง 1 ปีกับสองเดือน แม้ถึงฤดูน้ำหลากก็ไม่ยกทัพกลับ สามารถเข้าตีพระนครได้เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 ตรงกับวันอังคาร ขึ้นเก้าค่ำ เดือนห้า ปีกุน <ref>Myint-U, p. 90</ref><ref name=rlf-88>Myint-U, pp. 88–91</ref>
 
== พระนาม ==
พระเจ้ามังระ มีพระนามที่ปรากฏในพงศาวดารพม่าว่า "เซงพะยูเชง"'''ซีน-พยูชีน''' โดยเป็นพระนามที่พระองค์ตั้งเอง อันเป็นพระนามเดียวกับ [[พระเจ้าบุเรงนอง]] ซึ่งแปลว่า "[[พระเจ้าช้างเผือก]]" ก่อนที่จะยกทัพตีอยุธยา พระเจ้ามังระได้ยกความชอบธรรมเหนือดินแดนอยุธยามาแต่ครั้งพระเจ้าบุเรงนอง
 
พระเจ้ามังระทรงเป็นนักรบ และนักการทหารที่เก่งกาจที่สุดพระองค์หนึ่งแห่งยุค โดยจะเห็นได้จากการทำสงครามแต่ละครั้งพระองค์จะทรงเป็นผู้มองภาพรวม วางยุทธศาสตร์ใหญ่ ก่อนจะมอบหมายงานให้แม่ทัพแต่ละคนได้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่ โดยในยุคของพระองค์มีแม่ทัพที่เก่งกาจอยู่มากทั้ง ทั้ง[[อะแซหวุ่นกี้]], [[มังมหานรธา]], [[เนเมียวสีหบดี]], [[เนเมียวสีหตู]] และ[[บาลามินดินบะละมี่นทีน]] โดยจะมีพระองค์เป็นจอมทัพที่จะคอยกำหนดภาพรวมของสงคราม และคอยสนับสนุนแม่ทัพต่างๆต่าง ๆ เมื่อถึงเวลา
 
[[ไฟล์:Konbaung.png|thumb|รวมอาณาเขตที่เข้ามาสวามิภักดิ์ และอาณาเขตที่สามารถพิชิตได้ในยุคของพระเจ้ามังระ (ยกเว้นแคว้นยะไข่)]]
เส้น 41 ⟶ 42:
== ศึกกับอาณาจักรอยุธยา ==
{{บทความหลัก|การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง}}
พระองค์ทรงเป็นผู้ที่เคยติดตามพระบิดาคือ [[พระเจ้าอลองพญา]] มาทำสงครามกับอาณาจักรอยุธยา โดยพงศาวดารพม่าได้กล่าวถึงพระเจ้ามังระว่าเป็นผู้เตือนพระบิดาถึงความยากลำบากในการเข้าตีกรุงศรีอยุธยาที่มีปราการธรรมชาติยิ่งใหญ่ขนาดนี้ หากจะอาศัยแต่กำลังพลแลและเสบียงอาหารเท่าที่มีอยู่นั้น เห็นจะไม่สามารถปิดล้อมสายส่งกำลังบำรุงทั้งทางเหนือและใต้ของกรุงศรีอยุธยาได้หมด และหากยุทธปัจจัยของกรุงศรีอยุธยายังบริบูรณ์เรา พม่าจะไม่มีทางทำอะไรกรุงศรีอยุธยาได้เลย ควรยกทัพกลับไปวางแผนใหม่จะดีกว่า แต่พระเจ้าอลองพญาเชื่อมั่นในความสามารถของพระองค์จึงได้ทำการรบพุ่งต่อ สุดท้ายการณ์ก็เป็นอย่างที่พระเจ้ามังระตรัสไว้ แม้พระเจ้าอลองพญาจะพยายามอย่างมาก แต่ก็ไม่สามารถหาทางข้ามแม่น้ำเข้ากรุงศรีอยุธยาได้ ด้วยครั้งนั้นอยุธยายังเพรียบพร้อมเพียบพร้อมไปด้วยอาวุธและกำลังพล อีกทั้งสายส่งกำลังบำรุงจากทางเหนือและใต้ก็ยังสามารถส่งอาหารและกระสุนดินดำเข้าสู่พระนครได้อยู่ แลและครั้งนั้นกรุงศรีอยุธยายังได้[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]]ออกบัญชาการรบด้วยพระองค์เอง สร้างขวัญกำลังใจให้แก่ทั้งทหารและประชาชนในพระนครเป็นอันมาก จนพระเจ้าอลองพญาต้องมาสิ้นพระชนสวรรคตด้วยกระสุนปืนใหญ่แตกใส่ (ตามพงศาวดารฝ่ายไทย) หรือหากอิงตามพงศาวดารพม่าก็จะระบุว่าสวรรคตเพราะประชวร)
 
อย่างไรก็ตาม การที่พระเจ้ามังระต้องมาเห็นพระบิดาของพระองค์สิ้นไปในศึกครั้งนี้ทำให้พระองค์มีความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าที่จะพิชิตอาณาจักรอยุธยาเพื่อสานต่อปณิธานของบิดา รวมไปถึงการอ้างสิทธิมาแต่ครั้ง[[พระเจ้าบุเรงนอง]]เหนืออาณาจักรอยุธยา อีกทั้งทรงมองออกว่าการที่กบฎต่างๆกบฏต่าง ๆ สามารถฟืนฟื้นคืนกลับมาได้ในเวลาอันรวดเร็วนั้น ก็เพราะมีมหาอำนาจอย่างอยุธยาเป็นผู้หนุนหลังอยู่ ทำให้ไม่ว่าจะปราบกบฎอย่างไรก็จะไม่มีวันสิ้นสุด
 
โดยในศึกครั้งนี้พระองค์ได้ปรารภในสภาขุนนางว่า "อาณาจักรอยุธยายังไม่เคยถึงกาลต้องพินาศลงอย่างเด็ดขาดมาก่อน หากแต่จะอาศัยกำลังของเนเมียวสีบดีที่ยกไปทางเชียงใหม่แต่เพียงทัพเดียวนั้นย่อมยากที่จะตีอยุธยาให้สำเร็จได้ จำเป็นต้องให้มังมหานรธายกไปช่วยกระทำการอีกด้านหนึ่งการณ์นี้จึงจะสำเร็จ" ทรงกำหนดวิธีการพิชิตอาณาจักรอยุธยาโดยส่งแม่ทัพ[[มังมหานรธา]] และ[[เนเมียวสีหบดี]]โดยแบ่งเป็นฝ่ายเหนือ-ใต้ ให้ไล่ยึดหัวเมืองต่างๆต่าง ๆ เพื่อโดดเดียวอยุธยา จากนั้นก็ให้รวมไพร่พลระหว่างการเดินทัพ ซึ่งการมาครั้งนี้เป็นการจงใจมาในจังหวะที่อาณาจักรอยุธยาอ่อนแอ เนื่องจากแม่ทัพห่างสงครามมายาวนาน และภายในก็ระส่ำระส่ายจากขุนนางฉ้อฉน ฉ้อฉล
 
พระองค์ทรงมีบทเรียนมาจากคราวทำศึกกับอาณาจักรอยุธยาครั้งแรก โดยมองออกว่าแม้ตัวเมืองอยุธยานั้นจะบุกได้ยากเนื่องจากมีลักษณะเป็นเกาะ แต่นั้นก็เป็นเหมือนดาบสองคม เพราะหากเกาะที่ขาดกำลังบำรุงแม้จะแข็งแกร่งหรือมีไพร่พลมากซักเพียงใด สุดท้ายอาหารก็ต้องหมด การรักษาภาพรวมเช่นนี้ไปเรื่อยๆเรื่อย ๆ จนผ่านผ่านฤดูน้ำหลากไปได้ ภายในเมืองย่อมระส่ำ ระส่ายระส่ำระสาย และการณ์ก็เป็นเช่นนั้น เมื่อกองทัพพม่าสามารถพิชิตกรุงศรีอยุธยาได้ในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 ตรง กับวันอังคาร ขึ้นเก้าค่ำ เดือนห้า ปีกุน และนั้นแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่พระองค์คิดนั้นถูกต้อง กองทัพพม่าสามารถยึดกรุงศรีอยุธยาเอาไว้ได้ <ref>Phayre, pp. 188–190</ref>
 
== สงครามจีน-จีน–พม่า ==
{{บทความหลัก|สงครามจีน-จีน–พม่า}}
[[ไฟล์:สงครามจีน-พม่า ครั้งที่3.png|thumb|250px|การเดินทัพในสงครามจีน-จีน–พม่าครั้งที่3 </br>หมิงรุ่ยแบ่งกองทัพบุกพม่า 2 ทาง]]
สงครามจีน-จีน–พม่า เริ่มขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2308 มีเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างพม่ากับจีนในเรื่องหัวเมืองไทใหญ่ ซึ่งกองทัพพม่าได้ยกเข้าดินแดนไทใหญ่และรุกคืบไปเรื่อยๆเรื่อย ๆ ทำให้พวกเจ้าฟ้าไทใหญ่ได้ไปขอความช่วยเหลือจากจีน แต่จีนก็ยังไม่ส่งกำลังมาช่วยโดยรอเวลาที่เหมาะสมอยู่ และเวลานั้นก็มาถึงเมื่อจีนเห็นพม่ากำลังทำศึกติดพันอยู่กับอยุธยา จึงเห็นว่าเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกำราบพม่าลง แต่การณ์ก็ไม่ได้เป็นไปดังนั้น เมื่อกองทัพของพม่าที่นำโดย [[อะแซหวุ่นกี้]], [[เนเมียวสีหตู]], [[บาลามินดินบะละมี่นทีน]] และ[[เนเมียวสีหบดี]]ที่กลับมาช่วยในภายหลังนั้นกลับเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะต่อกองทัพต้าชิงอันเกรียงไกร ทำให้แม่ทัพของราชวงค์ราชวงศ์ชิงอย่าง หลิวเจ้าแม่ทัพกองธงเขียว (บุกครั้งที่ 1) หยางอิงจวี่แห่งกองธงเขียว (บุกครั้งที่ 2) รวมถึงพระนัดดา[[หมิงรุ่ย]]แห่งกองธงเหลือง (ขึ้นตรงต่อฮ่องเต้) ขุนพลเอกแห่งราชวงค์ราชวงศ์ชิงผู้พิชิตมองโกลและเติร์ก (บุกครั้งที่ 3) ต้องฆ่าตัวตายหนีความอัปยศ{{Sfn|Htin Aung|1967|pp=178–179}}<ref name=dyc-145>Dai, p. 145</ref>
 
หลังทรงทราบข่าวความพ่ายแพ้ของหมิงรุ่ย [[จักรพรรดิเฉียนหลง]]ทรงตกพระทัยและกริ้วยิ่งนัก จึงทรงมีรับสั่งเรียกตัว[[ฟู่ เหิง|องค์มนตรีฟู่เหิง]]ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงของ[[หมิงรุ่ย]] นักการทหารผู้ยิ่งใหญ่แห่งต้าชิงกลับมารับตำแหน่ง พร้อมด้วยแม่ทัพแมนจูอีกหลายนายเช่น [[อากุ้ย|เสนาบดีกรมกลาโหมอากุ้ย]], แม่ทัพใหญ่อาหลีกุ่น, รวมทั้งเอ้อหนิงสมุหเทศาภิบาลมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว ให้มารวมตัวกันเพื่อเตรียมบุกพม่าเป็นครั้งที่สี่ นับเป็นการรวมตัวกันของเสนาบดีระดับสูงครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในยุคของพระองค์ โดยอาศัยกำลังทั้งจาก[[กองทัพแปดกองธง|ทัพแปดกองธง]]และกองธงเขียว การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือด โดยฝ่ายจีนพยายามอย่างมากในการเข้ายึดเมืองกองตนหมู่บ้านก้องโตนอันเป็นจุดยุทธศาสตร์ แต่[[บาลามินดิน]]บะละมี่นทีนก็ยังสามารถต้านเอาไว้ได้อย่างน่าประหลาดใจ ส่วนอีกด้านหนึ่งกองทัพจีนก็รุกคืบได้ช้ามาก เนื่องจากอะแซหวุ่นกี้ได้ส่ง[[เนเมียวสีหตู]]คอยทำสงครามจรยุทธปั่นป่วนแนวหลังของต้าชิงเอาไว้ ทำให้ต้าชิงต้องพะวงหลังตลอดการศึก ถึงอย่างนั้น[[อะแซหวุ่นกี้]]เองก็มีกำลังไม่มากพอที่จะเอาชนะต้าชิงได้ในตอนนี้{{Sfn|Hall|1960|pp=27–29}}
 
แต่แล้วจุดเปลี่ยนสำคัญก็มาถึง เมื่อกองทัพของ[[เนเมียวสีหบดี]]เนเมียวสีหบดีกลับมาถึงหลังจากพิชิตกรุงศรีอยุธยาลงได้แล้ว อะแซหุว่นกี้จึงเปลี่ยนแผนโดยใช้กองทัพเข้าโจมตีจุดสำคัญในเวลาพร้อมๆพร้อม ๆ กัน เพื่อบีบให้กองทัพต้าชิงที่กระจายตัวอยู่ถอยกลับมารวมกับกองทัพใหญ่ จากนั้นกองทัพพม่าจึงเข้าตีกระหนาบและล้อมกองทัพต้าชิงไว้ได้ แม้ชัยชนะจะอยู่ต่อหน้าแล้ว แต่[[อะแซหวุ่นกี้]]ก็ไม่ได้สั่งให้ทหารพม่าเข้าทำลายกองทัพต้าชิง ทำแต่เพียงล้อมเอาไว้แล้วบีบให้ยอมเจรจา{{Sfn|Harvey|1925|p=255–257}} หลังจากการรบยืดเยื้อจนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2312 พม่าและจีนก็พักรบเนื่องจากทั้งสองฝ่ายต่างเหนื่อยล้าเต็มทน และยิ่งนานไปยิ่งไม่เป็นผลดีต่อทั้งคู่ โดยฝ่ายต้าชิงที่ติดอยู่ในวงล้อมตัดสินใจยอมเจรจากับทางพม่า การสู้รบที่ยาวนานถึง 4 ปีก็จบลงมีการทำ[[สนธิสัญญากองตนก้องโตน]] เป็นการจบสงครามระหว่าง พระเจ้ามังระ กับ จักรพรรดิเฉียนหลง เฉียนหลงลงในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2312
 
การรบครั้งนี้ทำให้ต้าชิงต้องสูญเสียฟู่เหิง กับและอาหลีกุ่น แม่ทัพใหญ่และรองแม่ทัพ ด้วยไข้มาเลเรียมาลาเรีย หลังจากนั้น 20 ปี เมื่อพระเจ้ามังระสิ้นไปแล้วราชวงค์โก้นบอง ราชวงศ์โก้นบองและจีนก็ได้ฟื้นความสัมพันธ์ขึ้นมาใหม่ในยุคของ[[พระเจ้าปดุง]]หลังพระองค์ทรงพ่ายแพ้ต่อกรุงรัตนโกสินทร์ถึง 2 ครั้ง โดยพม่ายอมส่งบรรณาการให้แก่อาณาจักรต้าชิง แลกกับการที่จีนยอมรับราชวงค์โก้นราชวงศ์โก้นบองของพม่า{{Sfn|Htin Aung|1967|pp=181–183}}
 
=== บทสรุปของสงคราม ===
* ฝ่ายราชวงค์ชิงราชวงศ์ชิง ในสงครามจีน-จีน–พม่านี้นับเป็นสงครามครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของราชวงค์ชิงราชวงศ์ชิง และถือเป็นรอยด่างเล็กๆของจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของโลก[[จักรพรรดิเฉียนหลง]] อีกทั้งพระองค์ยังต้องสูญเสียเสนาบดีกลาโหมผู้ร่วมแผ่เสนยานุภาพแทนพระองค์ถึง 2 คน ไม่ว่าจะเป็น [[หมิงรุ่ย]], [[ฟู่ เหิง|ฟู่เหิง]] และแม่ทัพใหญ่อาหลีกุ่น แต่ถึงแม้ต้าชิงจะไม่สามารถสยบพม่าได้อย่างราบคาบ แต่นั้นก็เพียงพอแล้วที่จะทำให้พม่าเห็นถึงศักยภาพในการระดมกองทัพขนาดใหญ่ ที่สามารถสั่นคลอนราชวงค์โก้นบองราชวงศ์โก้นบองได้ตลอดเวลา
* ฝ่ายราชวงค์โก้นบองราชวงศ์โก้นบอง เป็นการรบครั้งใหญ่ที่สุดและสูญเสียมากที่สุดในยุคของพระเจ้ามังระ แต่นั้นก็ทำให้ได้เห็นถึงความแข็งแกร่งของพระองค์ รวมถึงการใช้คนแบ่งงานให้แม่ทัพแต่ละนายได้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่ แม้จะสูญเสียทหารไปมากแต่ก็สามารถรักษาแผ่นดินเอาไว้ได้ ถือเป็นผลงานชิ้นเอกที่พระองค์ฝากไว้ให้ราชวงค์โก้นบองราชวงศ์โก้นบอง หลังจากสิ้นยุคพระองค์ไปแล้ว ขีดความสามารถทางการทหารของพม่าก็ไม่เคยกลับไปอยู่จุดเดิมได้อีกเลย
 
== หมายพิชิตกรุงธนบุรี ==
{{บทความหลัก|สงครามอะแซหวุ่นกี้}}
พระเจ้ามังระทราบว่าขณะนี้ทางอยุธยากำลังเกิดการเปลี่ยนแปลง ราชธานีแห่งใหม่ได้ถือกำเนิดขึ้นนั้นคือ[[กรุงธนบุรี]] แต่ในช่วงเวลานี้ภัยคุกคามจากต้าชิงสำคัญกว่ามาก เพราะหากพลาดพลั้งนั้นหมายถึงการล่มสลายของอาณาจักรโก้นบองที่พระองค์เพียรสร้างขึ้น ดั่งดังเช่นอาณาจักรพุกามที่ถูกกองทัพมองโกลทำลายล้างในอดีต หลังจากจบศึกกับต้าชิง พระองค์ประเมินแล้วว่าอาณาจักรของพระองค์บอบช่ำบอบช้ำเกินกว่าจะทำศึกต่อไปได้อีก พระองค์จึงทรงให้ไพร่พลได้พักฟื้นถึง 5 ปี ในระหว่างพักพื้นนั้นก็ได้มีการตระเตรียมเสบียงอาหารเอาไว้ เพื่อใช้สำหรับทำศึกกับอาณาจักรที่พึ่งก่อตั้งอย่างกรุงธนบุรี หลังเตรียมการเป็นอย่างดีในปี [[พ.ศ. 2318]] พระเจ้ามังระได้ให้[[อะแซหวุ่นกี้]]เป็นแม่ทัพใหญ่ลงมาทำศึกด้วยตนเอง อะแซหวุ่นกี้ได้นำทัพ 35,000 นาย พิชิตหัวเมืองต่างๆต่าง ๆ มาได้ตลอดทางรวมแล้วมีกำลังพลมากกว่า 50,000 นาย จนสามารถตีเมืองพิษณุโลกแตกและเตรียมรวมทัพมุ่งสู่กรุงธนบุรี อีกเส้นพระองค์ได้ให้[[เนเมียวสีหบดี]]เป็นแม่ทัพไปปราบปรามหัวเมืองทางเหนือจนสามารถยึดเชียงใหม่ได้ เตรียมนำกองทัพลงไปสมทบกับ[[อะแซหวุ่นกี้]]ที่เป็นแม่ทัพใหญ่อีกทางหนึ่ง ส่วนทัพทางใต้ก็สามารถตีเมืองกุย เมืองปราณได้สำเร็จพร้อมนำทัพบุกเข้ากรุงธนบุรีอีกทางหนึ่ง แต่แล้วในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2319 ราชสำนักอังวะได้แจ้งข่าวมาถึงอะแซหวุ่นกี้ ว่า พระเจ้ามังระได้เสด็จสวรรคตแล้ว [[พระเจ้าจิงกูจา]] กษัตริย์องค์พระองค์ใหม่จึง มีบัญชาให้อะแซหวุ่นกี้ยกทัพกลับกรุงอังวะในทันที <ref name=app-207>Phayre, pp. 207–208</ref><ref>Phayre, p. 206</ref>
 
== สวรรคต ==
พระเจ้ามังระสวรรคตอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2319 พระชนมายุเพียง 39 ปี ทรงครองราชราชย์ได้ 12 ปี 164 วัน โดยก่อนจะสวรรคตพระองค์ลังเลที่จะมอบราชบัลลังก์ให้แก่[[พระเจ้าจิงกูจา]] เนื่องจากทรงเห็นอุปนิสัยตั้งแต่เด็กว่าชอบดื่มสุราและมีอารมณ์ฉุนเฉียวโหดร้าย ครั้นจะยกราชสมบัติให้ราชบุตรองค์รองเจ้าชายแชลงจา ซึ่งมีสติปัญญาดีและอ่อนโยนกว่า ก็คิดว่าพระเจ้าจิงกูจาต้องไม่ยอมเป็นแน่ ไม่แคล้วคงเกิดสงครามระหว่างพี่น้องจึงได้ตัดสินพระทัยมอบราชสมบัติแก่พระเจ้าจิงกูจา งกูจาโดยหวังว่าเมื่อได้สมบัติแล้วคงไม่คิดทำร้ายน้อง แต่ครั้งนี้พระองค์คิดผิด เมื่อพระเจ้าจิงกูจาได้ราชสมบัติแล้วก็สั่งปลด[[อะแซหวุ่นกี้]] แม่ทัพคู่บารมีของพระองค์ ทั้งที่เป็นผู้ส่งต่ออำนาจให้[[พระเจ้าจิงกูจา]]งกูจาอย่างมั่นคง และที่น่าเศร้ากว่านั้นคือพระเจ้าจิงกูจาทรงระแวงพระอนุชาว่าจะคิดแย่งราชสมบัติ จึงสั่งให้นำเจ้าชายแชลงจาไปประหารด้วยเสียอีกคน <ref>Hall, p. 26</ref><ref>Myint-U, p. 299, p. 308</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 97 ⟶ 98:
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า|พระมหากษัตริย์พม่า]]<br /> ([[ราชวงศ์โก้นบอง|อาณาจักรพม่ายุคที่ 3]])
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์โก้นบอง
| ปี = พ.ศ. 2306 - พ.ศ. 2306–2319
| ถัดไป = [[พระเจ้าจิงกูจา]]
}}