ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถ่ายเทความร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้องกัน "การถ่ายเทความร้อน": การก่อกวนจำนวนมาก ([แก้ไข=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (หมดอายุ 18:37, 15 เมษายน 2562 (UTC)) [ย้าย=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (หมดอายุ 18:37, 15 เมษายน 2562 (UTC)))
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก|small=yes}}
[[ไฟล์:heat-transmittance-means1.jpg|thumb|400px|right|การถ่ายเทความร้อนจะมี3รูปแบบดังที่เห็นในรูปซึ่งทั้ง3แบบจะมีความสัมพันธ์กัน]]
'''การถ่ายเทความร้อน''' ({{lang-en|heat transfer}}) คือการถ่ายเทของ[[พลังงานความร้อน]]
== ประโยชน์ ==
 
== ประโยชน์ ==
การถ่ายเทความร้อน มีความสำคัญในชีวิตประจำวันและอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ไม่ว่าจะเป็น การใช้ความร้อนในการหุงต้มอาหาร กระบวนการแปรรูปที่เกี่ยวข้องกับความร้อนและความเย็นในโรงงานแปรรูปอาหาร เช่น กระบวนการแช่เย็น การแช่แข็ง การฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อนการอบแห้ง และการระเหย กระบวนการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนความร้อนระหว่างผลิตภัณฑ์และตัวกลางให้ความร้อน หรือความเย็นการถ่ายโอนความร้อนเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิระหว่างตำแหน่งสองตำแหน่งในมีค่าแตกต่างกันโดยความร้อนจะถ่ายเทจากที่ที่มีอุณหภูมิสูงไปที่มีอุณหภูมิต่ำเสมอ ในตัวกลางหรือระหว่างตัวกลางการถ่ายโอนความร้อน<ref>เทอร์โม-ความร้อนประยุกต์,รศ.มนตรี พิรุณเกษตร,กรุงเทพ-ซีเอ็ดเคยูชั่น,2539</ref>
 
เส้น 9 ⟶ 10:
=== การนำความร้อน ===
[[การนำความร้อน]] ({{lang-en|heat conduction}}) คือ ปรากฏการณ์ที่[[พลังงานความร้อน]]ถ่ายเทภายในวัตถุหนึ่ง ๆ หรือระหว่างวัตถุสองชิ้นที่สัมผัสกัน โดยมีทิศทางของการเคลื่อนที่ของ[[พลังงานความร้อน]]จากบริเวณที่มี[[อุณหภูมิ]]สูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า โดยที่ตัวกลางไม่มีการเคลื่อนที่
การนำความร้อนเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นบนชั้น[[อะตอม]]ของ[[อนุภาค]] เป็นหนึ่งในกระบวนการถ่ายเทความร้อน ใน[[โลหะ]] การนำความร้อนเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ(คล้าย[[การนำไฟฟ้า]])ใน[[ของเหลว]]และ[[ของแข็ง]]ที่มีสภาพการนำความร้อนต่ำเป็นผลมาจากการสั่นของ[[โมเลกุล]]ข้างเคียง ใน[[ก๊าซ]] การนำความร้อนเกิดขึ้นผ่านการสั่นสะเทือนระหว่าง[[โมเลกุล]]หรือกล่าวคือการนำความร้อนเป็นลักษณะการถ่ายเทความร้อนผ่าน โดยตรงจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่งโดยการสัมผัสกัน เช่น การเอามือไปจับกาน้ำร้อน จะทำให้ความร้อนจากกาน้ำถ่ายเทไปยังมือ จึงทำให้รู้สึกร้อน เป็นต้น วัสดุใดจะนำความร้อนดีหรือไม่ดี ขึ้นอยู่กับสัมประสิทธิ์การนำความร้อน (k)
 
=== การพาความร้อน===
[[การพาความร้อน]] ({{lang-en|heat convection}}) เป็นการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นได้ ในสสารสองสถานะคือ [[ของเหลว]]และ[[ก๊าซ]] เนื่องจากเป็นสิ่งที่สามารถเคลื่อนที่ได้โดยจะมีทิศทางลอยขึ้นเท่านั้น เนื่องจาก เมื่อ[[สสาร]]ได้รับความร้อนจะมีการขยายตัว ทำให้ความหนาแน่นต่ำลง และสสารที่มีอุณหภูมิ ต่ำกว่า (ความหนาแน่นสูงกว่า) ก็จะลงมาแทนที่ ปรากฏการณนี้มีตัวอย่างคือ การเกิดลมบก ลมทะเล เป็นต้น การนำความร้อน<ref>http://mte.kmutt.ac.th/elearning/Internal%20Combustion%20Engine%20Part%20II/page_12_2.htm</ref>เป็นการถ่ายเทความร้อนโดยการเคลื่อนที่ของโมเลกุลผ่านของแข็งหรือผ่านของไหลที่อยู่กับที่ อันเป็นผลมาจากอุณหภูมิที่แตกต่างกัน การนำความร้อนต่อหน่วยพื้นที่ ต่อหน่วยเวลา
 
[[ไฟล์:Convection-snapshot.png|thumb|400px|right|รูปนี้แสดงให้เห็นถึงการคำนวณการพาความร้อนที่ปกคลุมบนโลก สีใกล้เคียงกับสีแดงเป็นพื้นที่บริเวณร้อนและสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าเป็นพื้นที่บริเวณที่เย็น]]
เส้น 18 ⟶ 19:
====ประเภทของการพาความร้อน<ref>การถ่ายโอนความร้อนบทที่20 โดยคุณอรอุมา</ref>====
 
=====การพาความร้อนแบบธรรมชาติหรือแบบอิสระ (Natural or Free Convection)=====
-การเคลื่อนที่ของความร้อนระหว่างผิวของของแข็งและของไหล โดยไม่มีกลไกใดๆทำให้ของไหลเคลื่อนที่แต่เกิดจากแรงลอยตัวของของไหลเอง
 
-แรงลอยตัวเกิดจากผลการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่น ที่มีอุณหภูมิของของไหล แตกต่างกัน ใน 2 บริเวณ
 
=====การพาความร้อนแบบบังคับ (Forced Convection)=====
การเคลื่อนที่ของความร้อนระหว่างผิวของของแข็งและของไหล โดยของ
ไหลถูกบังคับให้เคลื่อนที่ไปสัมผัสกับผิวของของแข็งโดยกลไกภายนอก
เช่น พัดลม เครื่องสูบ
 
===3.การแผ่รังสีความร้อน (Radiation)<ref>http://physicsworld.nanacity.com/physicsworld/lesson/tran3.htm</ref>===
[[ไฟล์:การแผ่รังสีความร้อนของดวงอาทิตย์.jpg|thumb|right|ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงการแผ่รังสีความร้อนของดวงอาทิตย์มายังโลก<ref>http://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_science6/wiki/4164f/_8_.html</ref>]]
 
เส้น 51 ⟶ 52:
 
==การถ่ายเทความร้อนในร่างกายมนุษย์==
 
หลักการของการถ่ายเทความร้อนในระบบวิศวกรรมสามารถนำไปใช้กับร่างกายมนุษย์เพื่อที่จะกำหนดวิธีการที่ร่างกายถ่ายโอนความร้อน ความร้อนที่เกิดขึ้นในร่างกายโดยการเผาผลาญอย่างต่อเนื่องของสารอาหารที่ให้พลังงานสำหรับระบบของร่างกาย ร่างกายมนุษย์จะต้องรักษาอุณหภูมิภายในที่สอดคล้องกันในการที่จะรักษาการทำงานของร่างกายให้มีสุขภาพดี ดังนั้นความร้อนส่วนเกินจะต้องกระจายออกจากร่างกายเพื่อให้อุณหภูมิภายในร่างกายมีความสมดุล เมื่อมีการออกกำลังกายจะทำให้อัตราการเผาผลาญและอัตราการผลิดความร้อนในร่างกายก็จะเพิ่มขึ้น ร่างกายก็จะมีการถ่ายเทความร้อน ออกจากร่างกายเพื่อปรับสมดุลจึงทำให้ร่างกายมีสุขภาพดี
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:การถ่ายเทความร้อน]]