ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Phraprasit thanadhammo/ทดลองเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phraprasit thanadhammo (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: นิพพาน…. เริ่มต้น.. ประวัติย่อ ผู้ที่รับเป็นเจ้าอาวาส.. ในปัจ...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:52, 14 มกราคม 2562

นิพพาน…. เริ่มต้น..

ประวัติย่อ ผู้ที่รับเป็นเจ้าอาวาส.. ในปัจจุบัน

ที่มา อย่าง รวบ รัด รวดเร็ว แต่ ได้ ใจความ สาระ อุดมประโยชน์ ..

จาก เริ่มต้น จนถึง นิพพาน

• ชื่อ เดิม ประสิทธิ์ แววศรี เป็นบุตรชาย คนที่ ๔ ใน จำนวนทั้งหมด ๙ คน ชาย ๔ หญิง ๔ ส่วน อีก ๑ เสียชีวิต เมื่อตอนเกิดใหม่ เพศอะไร ต้องถามโยมแม่ไสว

• บิดา ผู้ให้กำเนิด คือ นายจันดี แววศรี ( พ่อของพระประสิทธิ์ ) ซึ่งเป็นบุตร ปู่ สุด แววศรี อดีต ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ ๑๒ ต. นาคำใหญ่ ในสมัย นั้น ต่อมา เปลี่ยน เป็น ต. แดงหม้อ หมู่ ๑ และย่า มี ภูพวก ... เดิม ย่า มี นามสกุล ภูพวก เกิดที่บ้านแดงหม้อ ต่อ มาเปลี่ยน นามสกุล ตาม สามี กลาย เป็น แววศรี ย่า มี เป็น เป็น ลูก ของ นาย อุ้ย ภูพวก ... นาง ..... มี พี่ น้อง ทั้ง หมด ... คน ได้ แก่ นายวัน ภูพวก ( นาย วัน คือ พ่อ ของ นายทองนาค ภูพวก ) นางดี ภูพวก ( ต่อ มาเปลี่ยน เป็น ชมพูพื้น ตามสามี คือ นาย จำปา ชมพูพื้น ) นางศรี ภูพวก ( ต่อ มาเปลี่ยนเป็น ตาม สามี คือ นาย )

ส่วน ปู่สุด แววศรี นั้น เป็น ลูก ของ ............................ มีเชื้อสายเดิมมาจาก บ้าน กุดตากล้า ต. สร้างถ่อ อ. เขื่องใน จ. อุบลราชธานี ซึ่งตั้งอยู่ห่างไปทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของบ้านแดงหม้อ ประมาณ สิบกว่า กิโลเมตร

• มารดา ผู้ให้สายเลือด คือนางไสว แววศรี ( นามสกุลเดิม พื้นผา .. แววศรี คือ นามสกุลใหม่ ซึ่งเปลี่ยนตามสามี คือ นายจันดี แววศรี ) .......... นาง ไสว แม่ ( มารดา ) ของพระประสิทธิ์ ซึ่งเป็น นางไสว เป็น ธิดา ของ นางพันธ์ ภูพวก ต่อมา นางพันธ์ ภูพวก เปลี่ยนนามสกุลเป็น พื้นผา ตามสามี คือ นายเล็ด พื้นผา ( อดีต อาชีพ ครู + ผู้ใหญ่ บ้าน เดิม ย้าย มาจาก บ้าน นาคำใหญ่ ต. นาคำใหญ่ อ. เขื่องใน จ. อุบล ) ยายของพระประสิทธิ์ คือ นางพันธ์ เป็นคนเชื้อสาย เดิมของบ้าน แดงหม้อ โดยตรง เป็น ลูก ของ นาย คุย ภูพวก ( มาจาก บ้านนาตาล อ. ท่าคันโท จ. กาฬสินฬ์ ) และ นาง เพ็ง ภูพวก ...

นางเพ็ง เป็น ลูกของ นายวัน นางโค ภูพวก ซึ่ง มีภูมิลำเนา อยู่ที่ บ้านเก่าแดง หรือ วัดป่าดงใหญ่ ในปัจจุบัน วัด ที่ พระประสิทธิ์ อยู่ในปัจจุบัน จาก ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔ ถึง ปัจจุบัน ) ...

นาย คุย ภูพวก และ นาง เพ็ง ภูพวก มี พี่ น้อง ทั้ง หมด ๙ คน เรียง ตามลำดับ คือ นายดำ สายเสมา นาย ( จารย์ ) คำ ภูพวก นายดี ภูพวก นางทอง ภูพวก ( อยู่ อ. ท่าคันโท ) นาง ( สี ) จันทร์ ภูพวก นางพันธ์ ภูพวก ( พื้นผา ) นางพวง ภูพวก ( อังคุลี มาจาก สามี คือ นาย สัดทัด อังคุลี ... นาสกุล อังคุลี มี ลูก ๘ คน อยู่อำเภอท่าคันโท จ. กาฬสินฬ์ ) นายด้วง ภูพวก อยู่บ้านหนองหอย จ. นครพนม และ นายศรีจันทร์ ภูพวก อดีต ครูใหญ่ รร. บ้านแดงหม้อ )

นางไสว ( พื้นภา ) + จีนดี แววศรี มี พี่ น้อง ทั้งหมด ๙ คน เรียง จาก พี่ ไป หาน้อง คือ ... ดังนี้ ๑. นางสงวน เชาว์ชอบ ( พื้นผา ... อดีตแม่บ้าน + นักภาวนา อยู่ที่ อ. เมือง จ. สุรินทร์ ) ๒. นางหนูยวน เปี่ยมศิริ ( พื้นผา ... อดีต ครู + นักภาวนา อยู่ที่ อ. เมือง จ. นครพนม ) ๓. นางทองม้วน สำรองพันธ์ ...... ( พื้นผา .. อดีตแม่บ้าน + นักภาวนา อยู่ที่ อ. เมือง จ. นครพนม ) ๔. นางลำดวน แววงาม ( พื้นผา .. แม่บ้าน + เริ่มจะ ภาวนา อยู่ที่ อ. จอมพระ จ. สุรินทร์ ) ๕. นายสว่าง พื้นผา .. อดีตพ่อค้า ... ชอบทำบุญ .. อยู่ที่ อ. เมือง จ. สุรินทร์ ) ๖. นางไสว แววศรี ( พื้นผา ... เกษตรกร + นักภาวนา ที่ วัดป่าดงใหญ่ อยู่ที่ บ้านแดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบลฯ ) ๗. นายสมัย พื้นผา ... ครู + กำลังเริ่มภาวนา อยู่ที่ อ. นครไทย จ. พิษณุโลก ๘. นางสุดใจ สายเสมา ( พื้นผา .. เกษตรกร + นักภาวนา ที่ วัดป่าดงใหญ่ อยู่ที่ บ้านแดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบลฯ ) ๙. นางประทีป ละคร ( พื้นผา .. ครู ... เกษตรกร + กำลังฝึกภาวนา... อยู่ที่ อ. เลิงนกทา จ. ยโสธร )

นาย เล็ด พื้นผา ( ตาของพระประสิทธิ์ ) เป็น ลูก ของ นาย พื้นผา และ นาง ...... นายเล็ด อดีต เป็น คุณครูสอน อยู่ที่ โรงเรียน บ้านแดงหม้อ และ อดีตผู้ใหญ่บ้าน บ้านแดงหม้อ หมู่ที่ ๑๒ เชื้อสาย เดิมมาจาก บ้านนาคำใหญ่ ตำบลนาคำใหญ่ อ. เขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๑๕๐ ซึ่งตั้งอยู่ห่างจาก บ้านแดงหม้อไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามถนน ๒๔๐๘ ( ที่หลัก ก.ม. ๐ ) ประมาณ ๗ ก. ม.

• เกิดวันพุธ ที่ ๒๘ เดือน สิงหาคม พุทธศักราช คือ หลังจากที่พุทธเจ้าปรินิพพาน ไปแล้ว ๒๕๑๑ ปี เกิดเมื่อ ตอน เวลา ประมาณ พอดีกับที่นักเรียน กำลังเข้าแถวเคารพธงชาติไทย และไหว้พระสวดมนต์ในศาสนาพุทธ ก่อน ที่นักเรียน จะเข้าห้องเรียนในตอนเช้า เพราะบ้านที่เกิดนี้ อยู่ห่างจาก ร. ร. บ้านแดงหม้อ ไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๒๐๐ เมตร ( แม่ เล่าให้ฟัง ) เกิดที่บ้าน ( หลัง น้อย ) ในหมู่บ้านแดงหม้อ ......

ส่วนบริเวณ และบ้านหลังที่พ่อ แม่ อยู่อาศัยในปัจจุบันนี้ คือ บ้านเลขที่ ๕๑ หมู่ ๑ บ้านแดงหม้อ ต. แดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบลราชธานี ๓๔๑๕๐ พิกัด ทางแผนที่ คือ 15.295350, 104.499700 ... ถ้า จะ ดู รูป พิกัด คือ https://www.google.co.th/maps/@15.2953225,104.4998923,3a,75y,283h,90t/data=!3m7!1e1!3m5!1sdcyhX_dnnoXlWJEOQED4Lw!2e0!6s%2F%2Fgeo0.ggpht.com%2Fcbk%3Fpanoid%3DdcyhX_dnnoXlWJEOQED4Lw%26output%3Dthumbnail%26cb_client%3Dmaps_sv.tactile.gps%26thumb%3D2%26w%3D203%26h%3D100%26yaw%3D283.31793%26pitch%3D0!7i13312!8i6656 ) บ้านเลข ที่ ๕๑ นี้ ก็อยู่ห่างจากบ้านหลังเดิมที่เกิด ห่างไปทางทิศตะวันตกอีก ประมาณ ๕๐ เมตร ถ้า จะเริ่มมองจากทางทิศตะวันตก บ้านหลังที่อดีตนายประสิทธิ์เคยเกิดนั้น ก็จะอยู่ห่าง จากบ้านหลังปัจจุบัน เลขที่ ๕๑ ของ นายจันดี ไปทางทิศ ตะวันออก นับเป็นหลังที่ สอง ซึ่งก็คือ บริเวณบ้าน ของครู พิชัย ก้อนสิน ( พิกัด ตาม แผนที่ คือ 15.295322, 104.500277 ) ซึ่งอยู่ทางทิศ ตะวันออก ของบ้านนาย ทองนาค ภูพวก .. นายทองนาค ผู้เป็นสามี นาง ทองเลี่ยน ภูพวก ..ซึ่ง ก็ เป็น โยม ที่ชอบมา รักษาศีล ภาวนา เพื่อพ้นจากทุกข์ ที่ วัดป่าดงใหญ่ เป็นประจำ นี่เอง นั่น แล .. ถ้า นับ เรียง จาก ทางทิศตะวันตก ไป ทางทิศตะวันออก คือ เริ่ม ที่ บ้าน นายจันดี แล้ว ข้ามถนน แล้ว ก็ เป็น บ้าน นายทองนาค แล้ว ก็ บ้าน ที่ นายประสิทธิ์ เคย เกิด …

นายจันดี แววศรี นางไสว แววศรี ( พื้นผา ) มี บุตร ๙ คน

๑. เสีย ชีวิต ตอนเด็ก

๒. นางสายสุนีย์ แววศรี ( ศรีนาม .. อดีตครู .. คบ. วิทยาลัยครูอุบล อยู่ที่ บ้านแดงหม้อ )

๓. นายสุคล แววศรี ( คบ. วิทยาลัยครูอุบล .. อาชีพส่วนตัว ช่างแอร์ .. อยู่ที่ กทม. )

๔. นางจงกล แววศรี ( เกษศิริ .. ปวส. วิทยาลัยอาชีวะศึกษาอุบล .. อาชีพส่วนตัว เกษตรกร อยู่ที่ บ้านแดงหม้อ )

๕. พระประสิทธิ์ แววศรี ( คอบ. สจพ. กทม. อาชีพข้าราชการ ๕ ปี บวช ๒ ส.ค. ๒๕๓๖ วัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ )

๖. นางนิตยา แววศรี ( เอกสุวรรณ .. ป. โท ม. รามคำแหง กทม. ทำงานข้าราชการ เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ สำนักงานเขตประเวท กทม. )

๗. นางพิทยา แววศรี ( ป. ตรี มสธ. เป็นโสด อาชีพพยาบาล โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ .. เสียชีวิต พ.ศ. )

๘. นายทวีศักดิ์ แววศรี ( นักศึกษา ปวส. สจพ. กทม. .. เสียชีวิต หลังบวช อายุ ๒๕ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ )

๙. นายสุนัย แววศรี ( วศบ. สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน กทม. .. อาชีพ วิศวกรไฟฟ้า อยู่ที่ กทม. )

• ผิว สี ดำ แดง ไม่อ้วน สูง ๑๗๕ เซนติเมตร น้ำหนัก ๕๘ กิโลกรัม ร่างกายมี อวัยวะครบ อาการ ๓๒ ส่วน รูปร่าง ดี

• นิสัย ดั้ง เดิม ๆ ไม่ กินเหล้า ไม่สูบบุหรี่ ไม่เล่นการพนัน ไม่ชอบเอาเปรียบใครเลย ไม่ชอบเบียดเบียนใคร ไม่ขอ ชอบความยุติธรรม ไม่ค่อยพูด ซุกซน ตามประสาของเด็ก อดทนต่อความร้อน หิว หนาว คำยุแหย่ หยอก เย้า

….. ชีวิตการจะไป การจะอยู่ ความเป็นอยู่ ก็อยู่แบบง่าย อย่างไรก็ได้ ที่ดี ๆ กินง่าย อยู่ง่าย รักสงบ ไม่ชอบมีเรื่อง หาราวกับใคร อนุโลมตามเหตุการณ์ได้ดี มีความสุขกับการช่วยเหลือสังคม ชุมชน ส่วนรวม วัด กลุ่ม หมู่ เพื่อน น้อง ๆ ญาติ ๆ ชอบอยู่สงบ เงียบ แสวงหาความจริง ความถูกต้อง แสวงความหลุดพ้นลึกๆในใจ

• ความหวัง อยากเป็นคนดี ที่สุด อยากมีความสุขในชีวิต ต้องการช่วยเหลือคนมาก ๆ

• เริ่ม เรียน ระดับประถมศึกษา ( ป. ) ที่ ร. ร. บ้านแดงหม้อ บ้านแดงหม้อ ตำบลแดงหม้อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ที่ บ้านเกิด ( เกิด ๒๘ ส.ค. ๒๕๑๑ ) อายุ ๗ ขวบ ( สมัยนั้น ไม่มี ชั้นอนุบาล ) เริ่มเข้าเรียน ระดับ ชั้น ป. ๑ เข้าเรียนเมื่อ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๘ จนถึง ชั้น ป. ๖ จบ เมื่อ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ เป็นนักกีฬาฟุตบอลของโรงเรียนแดงหม้อ โดยเป็นตัวสำรอง ชอบทำงานให้ คุณครู

ช่วงที่เรียน ใน ชั้น ป. ๑ – ป. ๒ นั้น โง่ มาก ถึงขนาด ได้ ร้องให้ในห้อง เพราะว่า ทำการบ้าน บวก เลข ไม่ถูก จนคุณครู ไม่ให้ไป กินข้าว เที่ยง … แต่ ก็ ไม่โกรธ ครู..ระลึก ถึง ตลอด …คุณ ครู ก็ นาม สกุล แววศรี เหมือนกันกับนักเรียน ที่โง่ ๆ และ ก็ ยังมีคุณครู นามสกุล อื่น ๆ ก็ เป็น ญาติ กัน เหมือนกัน .. เป็นญาติทางสายโลหิต กัน ด้วย…. .. ถือว่า ..ได้หลักการ อันนั้น แหละ มาสอน ตัวเอง จนบัดนี้ ว่า …. ครู ที่ดี นั้น จะ ต้องไม่ โอ๋ นักเรียน จนเกินไป …..พอ เรียน ถึง ชั้น ป. ๓ ก็ เริ่ม สอบได้ ที่ ๑ .. ที่ ๒ ของ ห้อง จนถึง ชั้น ป. ๖ ครูใหญ่ คือ นายศรีจันทร์ ภูพวก ( เป็น น้องชาย ของ ยายพันธ์ พื้นผา ( ภูพวก ) ) ต่อมา คือ ครูวันชัย แววศรี ... ครูสีดา ครูวันชัย แววศรี ครูทัศนีย์ ครูประเวท ครูเดช ครูเสถียร ครูสมใจ ครูเทิดเกียรติ ครูโกวิท ( สอนให้นั่งสมาธิ ) ครูพิชัย

• ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สอบเข้าเรียนต่อ ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ๓ คือ ม. ๑ – ม. ๓ แผนก วิทย์ คณิต ห้อง ๑อาจารย์ประจำชั้น ห้อง ๓/๑ คือ อาจารย์อิทธิพล บำรุงกุล .. จาก จำนวน ๒ ห้อง ห้อง ละ ๔๐ คน เข้าเรียน ๒๔ พ.ค. ๒๕๒๔ จบ เมื่อ ๑๗ มี.ค. ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ที่ ร. ร. นาคำวิทยา ตำบลแดงหม้อ ซึ่งอยู่ห่างจากบ้าน แดงหม้อ ไปทางทิศ ตะวันออก ประมาณ ๓ กิโลเมตร กว่า ๆ ( ใน ปัจจุบัน เปิดสอน ตั้งแต่ ระดับ ม. ๑ ถึง ระดับ ม. ๖ ) สมัยนั้น มี นายสมภาร ทองมั่น เป็นผู้อำนวยการ มี อาจารย์ละอองศรี อาจารย์ประเสริฐ อาจารย์สมพงษ์ อาจารย์ไพจิตร อาจารย์วรนุช อาจารย์สมหมาย อาจารย์เอมอร อาจารย์วีรยุทธ อาจารย์วินัย อาจารย์มนูญ อาจารย์สุขจิต อาจารย์อิทธิพล อาจารย์นันทิยา อาจารย์คำศักดิ์ อาจารย์เกษมสุข

• สอบเรียนต่อ ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ ๑ ถึง ปีที่ ๓ ( ป. ว. ช. ๑ – ๓ .. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๑ – ๓ ) สาขาวิชาช่างยนต์ ที่ วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี อ. เมือง จ. อุบลราชธานี ( ชื่อขณะนั้น ) เข้าเรียน ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ จบ พ.ศ. ๒๕๓๐ เกรดเฉลี่ยที่เคยได้สูงสุดใน ปวช. ปี ๑ คือ ๓.๗๕

เคยได้รับ ทุนการศึกษาเรียนดี เป็นปากกาเขียนแบบ จาก วิทยาลัยเทคนิคอุบลฯ .........

มี นายบุญชู มูลพินิจ เป็นผู้อำนวยการ ต่อ มา คือ นาย สมเกียรติ พึ่งอาสน์ อาจารย์ ที่สอน ที่ ช่าง ยนต์ ก็ มี อาจารย์สมยศ อาจารย์บูรณะ อาจารย์บทชาย อาจารย์วรเชษฐ์ อาจารย์มานะ อาจารย์ธีรศักดิ์ อาจารย์สุรวัฒนศักดิ์ อาจารย์วิทยา อาจารย์ศิริชัย อาจารย์เรืองศิลป์ อาจารย์สุรชัย อาจารย์วิชัย ... อาจารย์พรชัย สอนงานเชื่อม อาจารย์นีรนารถ อาจารย์มานพ อาจารย์เดโช อาจารย์เพียรชัย อาจารย์สุวรรณลา อาจารย์วัฒนา ( สอนวิชาพุทธศาสตร์ ) อาจารย์สุนันทา อาจารย์บุญมี อาจารย์จินตนา อาจารย์ศุภชัย อาจารย์จรูญ อาจารย์โกศล อาจารย์เผด็จศึก

ช่วง ที่เรียน ปวช. นั้น เกิด อุบัติเหตุ คือ ได้ ไป ช่วย ชาวบ้านแดงหม้อ ทั้งหมู่บ้าน รื้อหัวแจก ที่วัดแดงหม้อ .. ตามที่ บ้านแดงหม้อ จะ มีประเพณี การ ทำงาน เอา บุญ บ่อย ๆ ไม่เอา ค่าจ้าง .. ไปกับ นาย เชาว์ ( เชาวลักษณ์  ภูพวก ) ลูกชายพ่อนาค ภูพวก .. ก่อน จะ ไป ที่วัดแดงหม้อ ได้ เห็น หมวก วิศวกรสีขาว อยู่ ที่ บ้านตัวเอง จึง พูด กับ เชาว์ ว่า

“ เอา หมวก วิศวกร นี่ ไป ใส่ กัน ของ ตก ใส่ หัว ”

แต่ ตอน ที่ โดนทับ ไม่ได้ ใส่หมวก .... ไป ช่วยชาวบ้านแดงหม้อ ทั้งหมู่บ้าน หมู่ ๑ หมู่ ๒ รื้อ หัวแจกเก่า ที่ วัดแดงหม้อ ( ปัจจุบัน คือ บริเวณ ที่สร้าง โบสถ์ ของวัดแดงหม้อ ที่พระประสิทธิ์ ได้ เข้า บวช เมื่อ ๒ ส. ค. ๒๕๓๖ ) ไปช่วย ใน ช่วง วันหยุดเรียน แล้ว เกิด อุบัติเหตุ หลังคาธรรมาสน์ ที่อยู่ภายในหัวแจก ที่พระท่านจะใช้ นั่งเทศน์ ที่สูง ประมาณ ๗ ชั้น ที่ซ้อน ๆ ทับ กันอยู่ พอชาวบ้านแดงหม้อ ค่อย ๆ เอียงธรรมาสน์ ลง มา เพื่อจะ เอามือคอยรับ ชั้นหลังคา ที่พื้น ชั้นของหลังคา ก็ ได้ ล้ม ทับที่กลางหัวจนบุบ จนลมล้ม แล้ว ทับที่ ลำตัว ขา ข้าง ซ้าย กระดูกร้าว แตก หักที่บริเวณ เหนือ ตาตุ่ม ฝุ่นคลุ้ง ผู้คน ร้อง ว่า เป็น ยังไง ? ... ตาย แน่ ๆ ? ..... พอ ตำรวจ สมศักดิ์ ( สมัยนั้น ) อุ้ม นายประสิทธิ์ ออกมา นอนที่แคร่ไม้ไผ่ ใน วัดแดงหม้อ ด้านทิศใต้ ของ หัวแจก แล้ว ตา คือ นายเล็ดพื้นผา มา ปลอบว่า “ ไม่เป็นอะไรหรอก ” ชาวบ้านแดงหม้อ เห็น กันทั้งหมู่บ้าน แล้ว ต่อมา ท่าน หลวงพ่อ แสวง เจ้าอาวาส วัดแดงหม้อ ได้ เมตตา มาเยี่ยม ให้กำลังใจ ที่ บ้าน เลขที่ ๕๑ บ้านแดงหม้อ ด้วย จนต้อง ไป โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ( โรงพยาบาลใหญ่ อ. เมือง จ. อุบลฯ ซึ่งอยู่ห่างจากบ้านแดงหม้อ ประมาณ ๘๐ กม. ) ต้อง ใส่ เฝือกปูน สีขาวที่ขาด้านซ้าย บริเวณ เหนือตาตุ่ม จนถึงเข่า ใช้ไม้ค้ำ ๑ ข้าง ไป เรียน ที่ เทคนิค มี นายนันตรี สิงห์คำ ( ปัจจุบัน คือ มนตรี สิงห์คำ ) นำรถมอเตอร์ไซค์ มา ช่วย รับ ส่ง ทั้ง ไป และ กลับ จาก เทคนิค มา ที่ บ้านพัก ภายใน บริเวณ บ้าน นาย มงคล ภูพวก อยู่ ที่ ถนนสุริยาตร์ ซอยสุริยาตร์ ๑ อ. เมือง จ. อุบล อดีต ครูเกษียน ที่ เมตตา ให้ ที่พัก แบบ ไม่เอาบุญ ..... ก่อนนั้น เช่าบ้าน อยู่ ที่ บ้านท่าวังหิน ใกล้ ๆ ตลาดท่าวังหิน ใกล้ ๆ บ้าน ปู่พรม แววศรี

ช่วง ที่ เรียน ช่างยนต์ ปวช. ๓ ได้ รับ แต่งตั้ง ให้ เป็น หัวหน้า ช่างซ่อม ที่ร้านซ่อมมอเตอร์ไซค์ ของ วิทยาลัยเทคนิคอุบล ซึ่ง ตั้งอยู่ ที่ ตรงกันข้าม ทุ่งศรีเมือง ฝั่งทิศตะวันตก มี อาจารย์ เรืองศิลป์ ช่วยดูแล โดยมี อาจารย์ บูรณะ สมชัย เป็น หัวหน้า ( ตำแหน่ง สุดท้าย เป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิค หลังเกษียน ปัจจุบัน ทำอาชีพเกษตร ) เพื่อนสนิท ที่ ช่างยนต์ ก็มีนายประเวท ช่วงหลัง มาบวช ฝึกกรรมฐานอยู่ช่วงหนึ่ง นายอภิชาติ นายสุรชัย นายบันเทิง บุญมา โสวรรณะ ( หัวหน้าห้อง เปลี่ยนชื่อเป็น ณัฐวุฒิ ต่อมา ได้ แต่งงาน กับ ญาติ ที่บ้านแดงหม้อ ) นายนิพนธ์ นายนันตรี ( มนตรี ) นายเกียรติศักดิ์ ฯลฯ เพื่อนช่างอื่น ที่สนิท เช่น นายชิณศรี ชมภูพื้น ช่างกลโรงงาน จบ. ป.๖ และ จบ ม. ๓ จากที่เดียวกัน คน บ้านแดงหม้อ เหมือนกัน .. นายประกิจ ( สมัย ) พาชื่น ช่างไฟฟ้า จบ. ม. ๓ จาก ที่เดียวกัน ตอนนี้ ๒๕๕๙ เป็นเจ้าของกิจการส่วนตัว ฯลฯ

{ เรียน วิชารักษาดินแดน ในปี ๑ ใน ขณะเรียน ปวช. ปี ๒ เรียน รักษาดินแดน นักศึกษาวิชาทหาร ร.ด. ปี ๒ ในขณะเรียน ปวช. ๓ เรียน ที่ วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี มีครูฝึก เป็น ทหาร มาจาก มณฑลทหารบกที่ ๒๒ ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ เลขที่ ๓๗๕ หมู่ที่ ๒ ถนนสถิตนิมานการ ตำบลแสนสุข อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ฝึกภาคสนามที่ค่ายลูกเสือหนองไหล อ. เมือง จ. อุบล ฯ

ส่วน ร.ด. ในปี ๓ เรียน ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน หน้าสนามกีฬาแห่งชาติ กทม. ฝึกที่ ศูนย์ฝึกกำลังสำรอง กองพันทหารราบ ๑ กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ ถนน พหลโยธิน แขวง อนุสาวรีย์ เขต บางเขน กรุงเทพมหานคร... และ ฝึกภาคสนามที่ สนามฝึกเขาชนไก่ ต. ลาดหญ้า อ. เมือง จ. กาญจนบุรี }

เมื่อจบการศึกษา ได้รับการคัดเลือก จาก วิทยาลัย เทคนิคอุบล เป็น นักเรียนโควตา กับ เพื่อน จากแผนกช่างยนต์ อีก คน คือ นาย มณเทียร อินทัสสิงห์ .. นอกจาก นั้น ก็ จะ มี เพื่อน ๆ จาก แผนกช่างกลโรงงาน นายมานิต? .. ช่างเชื่อม น.ส. ผ่องศรี นายไพบูลย์ .. จากแผนก ช่างไฟฟ้า นายสมเกียรติ และ จาก แผนกช่างอิเล็คทรอนิคส์ แผนกช่างละ ๒ คน ส่งไปเรียนต่อ ในระดับ ป.ว.ส. ( ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง .. ระดับ อนุปริญญา ) ใน ๒ สถานศึกษา

{ เรียน วิชารักษาดินแดน ในปี ๑ ใน ขณะเรียน ปวช. ปี ๒ เรียน รักษาดินแดน นักศึกษาวิชาทหาร ร.ด. ปี ๒ ในขณะเรียน ปวช. ๓ เรียน ที่ วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี มีครูฝึก เป็น ทหาร มาจาก มณฑลทหารบกที่ ๒๒ ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ เลขที่ ๓๗๕ หมู่ที่ ๒ ถนนสถิตนิมานการ ตำบลแสนสุข อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ฝึกภาคสนามที่ค่ายลูกเสือหนองไหล อ. เมือง จ. อุบล ฯ

ส่วน ร.ด. ในปี ๓ เรียน ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน หน้าสนามกีฬาแห่งชาติ กทม. ฝึกที่ ศูนย์ฝึกกำลังสำรอง กองพันทหารราบ ๑ กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ ถนน พหลโยธิน แขวง อนุสาวรีย์ เขต บางเขน กรุงเทพมหานคร... และ ฝึกภาคสนามที่ สนามฝึกเขาชนไก่ ต. ลาดหญ้า อ. เมือง จ. กาญจนบุรี }

คือ ๑. ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน ถนนพระราม ๑ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน ซึ่งตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับสนามกีฬาแห่งชาติ ก. ท. ม.

และ ๒. ที่ วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ ( ชื่อใน ขณะนั้น ต่อมา ชื่อ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ )

ซึ่งก็ตั้งอยู่ที่ เขตทุ่มหาเมฆ กทม. เหมือนกัน แต่ ก็ได้ตกลง เลือกเรียนที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน ( ชื่อในขณะนั้น ต่อมาชื่อ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน )

• ระดับอนุปริญญา ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ป. ว. ส. )

• เรียนที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน ( สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ) ถนนพระราม ๑ เขตปทุมวัน หน้าสนามกีฬาแห่งชาติ กทม. ใน สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เทคนิคยานยนต์ ใช้เวลาเรียน ใน ๑ ปีแรก ในรอบเช้า ห้องเก้า ถ้า จะ นับรุ่น ตาม ปี ที่ เปิด สอน ใน ระดับ ปวส. คือ ปวส. ๑๔ ถ้าจะ นับ ตาม ปี ที่เริ่มก่อตั้ง มีการสอน รร. ช่างกลปทุมวัน ตั้งแต่ ๑ ส.ค. พ.ศ. ๒๔๗๕ คือ ชก. ๕๕ อาจารย์ ที่ปรึกษา ห้อง ๙ คือ อาจารย์มนูญ ชมโฉม ....

จากบัญชี .. นายประสิทธิ์ แววศรี หมายเลขประจำตัว 3303016450 อยู่ ใน ลำดับ ที่ ๙ ห้อง ข. มี เขียน ต่อที่ท้ายชื่อในบรรทัดเดียวกันว่า “ ย้าย ไป เรียน ห้อง ๓ / ๑๗ ” แต่ละห้อง มี ๒๑ คน

ในหลักสูตร ของ การเรียน ที่ ปทุมวัน นักศึกษา จะ ต้อง ได้ ออก ฝึกงาน และ ได้ ไป ฝึกงาน ที่ บริษัทสยามกลการ ตั้งอยู่ซอยศรีจันทร์ ถนนสุขุมวิท ๖๗ ช่างพี่เลี้ยง ในการฝึก ชื่อ สมชาย ไวยจิรา ( คน นี้ เป็นคนที่ ขอ หัวหน้า วันชัย ? ( หัวหน้าคุมการฝึกงานของ บ. นิสสัน ) ให้ นายประสิทธิ์ ได้ เกรด ๔ ใน วิชาการฝึกงาน ในครั้งนี้ เนื่องจาก เห็น ว่า ต่างจาก คนอื่น ใน รุ่นก่อน ๆ พิเศษ เช่น รับผิดชอบ ใช้น้ำมันทำความสะอาดรอยเปื้อนจากคราบสกปรก คราบน้ำมัน ในพื้นที่ บริเวณหลุมที่ซ่อมระบบช่วงล่าง มีความอ่อนน้อมถ่อมตัว ปวารณาให้ สอนเต็มที่ ตรงเวลา ฯลฯ ) และ ชื่อ สมชาย ... .... ส่วนเพื่อน ๆ ทุกคน ใน ห้อง จะ แยกกัน ไป ฝึกงาน หลาย ที่ เช่น ศูนย์ซ่อม ของบริษัทโตโยต้า บริษัทนิสสัน ฯลฯ ในเขต กทม. ทั้งหมด ...

อาจารย์ช่างยนต์ ที่เคย สอน ก็ มี อาจารย์อมร อาจารย์กฤษณ์ อาจารย์มนูญ อาจารย์สมนึก อาจารย์ยุทธ อาจารย์ระวี อาจารย์อุทัย อาจารย์ประกอบ อาจารย์สมชาย ... อาจารย์ ที่สอนวิชา สามัญ ก็มี อาจารย์ปรีชา อาจารย์สุรเชษฐ์ อาจารย์ปทุมมาลย์ อาจารย์สนอง สอนเครื่องเย็น ... ไม่ได้ลงทะเบียนเรียน แต่ ก็ ไป ขอนั่งเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ๓ กับช่างอิเล็คทรอนิคส์ และ ไป รับฟังการสอนพิเศษที่ห้องประชุม ในวันหยุด เรียน วิชาคณิตศาสตร์ กับอาจารย์แพรวพิสุทธิ์ เพื่อจะ เรียนต่อ ปริญญาตรี ..

ในอีก ๒ ปีหลัง ได้ขอย้ายไปเรียนรอบค่ำ ในห้อง ๑๗ เพราะว่า ในเวลา กลางวัน จะ ต้อง ไป ทำงานที่ กรมที่ดิน ตั้งอยู่ที่ ปากคลองตลาด ( เนื่องจากพ่อที่เคยส่งลูก เรียน อย่างต่ำ จบ อนุปริญญา ๑ คน อีก หนึ่ง คน จบปริญญาโท ที่เหลือ จบปริญญาตรี มาตลอด ทั้ง ๘ คน เริ่มป่วย ในปี ๒๕๓๐ ลูก ๆ จึงต้องหาทุนเรียนเอง ) เรียน ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ถึง ปี พ.ศ. ๒๕๓๓

นอกจากนั้นยังรับ ทุนการศึกษา การเรียนดี แต่ ยากจน จากบริษัทบุญผ่อง ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเดียวกันกับ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน คือ อยู่ตรงกันข้าม กับสนามกีฬานิมิบุตร. จำนวนเงิน ๖,๐๐๐ บาท ต่อปี รับทุน อยู่ ได้ ๑ ปี ก็ งดรับทุน เพราะว่า ไปทำงาน ที่ กรมที่ดิน มีเงินเดือน ก็ จึง ยก ทุน ให้ แก่ คนอื่น ๆ

{ จากรูป คือ รายชื่อ นักศึกษา สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เทคนิคยานยนต์ ปี ๒ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน กทม. ใน รอบ เช้า ห้อง ๒ / ๙ แต่ละห้อง จะมี ๒๑ คน ........หมายเลขประจำตัว 3303016450 นายประสิทธิ์ แววศรี อยู่ ใน ลำดับ ที่ ๙ ห้อง ข. มี จำนวน นักศึกษา ห้องละ ๒๑ คน .. มี เขียน ต่อ ว่า ย้าย ไป เรียน ห้อง ๓ / ๑๗ เรียน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ถึง ๒๕๓๓ .. ....... รอบ เช้า ช่างยนต์ จะมี ห้อง ๗ ห้อง ๘ ห้อง ๙ รอบบ่าย จะมี ห้อง ๑๐ ห้อง ๑๑ ห้อง ๑๒ นักศึกษา ทุก แผนก ใน ปวส. ปี ๒ จำนวน ประมาณ ๑,๑๐๑ คน .. ยัง ไม่รวม เด็กเตรียม , รอบค่ำ }

ขณะ ที่ เรียน และทำงาน ที่ กทม. ประมาณ ๖ ปี พัก อยู่บ้านเช่า เลขที่ ๙๘๑/๔ อยู่ ในซอยสาหร่ายไพเราะ ๑ ( ถนนนี้ เดิม ชื่อว่า ซอยสุขุมวิท ๑๐๑/๑ ) อยู่หน้าโรงเรียน วชิรธรรมสาธิต ปัจจุบัน คือ ซอย วชิรธรรมสาธิต 57 แยก 19 แขวง บางจาก เขต พระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260 ( ดูในแผนที่ ได้ )

สถาน ที่เช่า บ้านอยู่ ไกล จาก สถานที่เรียน คือ ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน ถนนพระราม ๑ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน หน้าสนามกีฬาแห่งชาติ กทม. ( เรียน ระดับ ปวส. ) .................. ไกลจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สจพ. ตั้งอยู่ที่ ถนนประชาราษฎร์ ๑ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กทม. ( เรียน ระดับปริญญาตรี ) ..... ......... ไกล จาก สถานที่ทำงาน คือ กองพัสดุ กรมที่ดิน ปากคลองตลาด ถนนพระพิพิธ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กทม. .... และ ไกลจาก กองพัฒนาบ่อบาดาล ( ปัจจุบัน คือ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ) ซอยท่านผู้หญิงพหล ( ซอยงามวงศ์วาน ๕๔ ) ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. พอสมควร

ช่วง เรียน ที่ ปทุมวัน นี้ ได้ มี อาจารย์ กฤษณ์ จันทนะโกเมษกุล อาจารย์ ประจำแผนช่างยนต์ เป็น พี่ เลี้ยง ช่วย สอน .. และ มี คณะ ครู อาจารย์ ที่ ช่างกลปทุมวัน อีกหลาย ท่าน ที่ ช่วย สอนให้ กับ นักศึกษา ทุก ๆ คน ที่ สนใจ โดยไม่คิดค่าใช่จ่าย ที่ห้องประชุม เช่น อาจารย์ ผศ. แพรวพิสุทธิ์ จันเทศ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ( สอนวิชาคณิตศาสตร์ .. ชื่อ และ ตำแหน่ง ปัจจุบัน ปี ๒๕๕๘ )...... เพื่อ เตรียมตัวเรียน ต่อ .. โดย เฉพาะ นายประสิทธิ์ เพื่อ จะ ให้ เข้า เรียน ต่อ ที่ พระจอมเกล้า พระนครเหนือ กทม. ...

ท่านผู้ อำนวยการ ใน ช่วง นั้น คือ นาย จรูญ ชูลาภ ( ตำแหน่ง สุดท้าย คือ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ )

และ ต่อ มา คือ นาย สงวน บุญปิยทัศน์ ( ตำแหน่งสุดท้าย คือ รองอธิบดี กรมอาชีวะศึกษา )

ช่วย เหลือชุมชน ( ตาม นิสัยเก่า ) เคยได้ มาช่วย สร้าง อนามัยประจำบ้านแดงหม้อ ที่ บ้านแดงหม้อ ต. แดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบล บ้านเกิด ร่วมกับ คณะนักศึกษา จาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ช่วย ในงาน เล็ก ๆ น้อย ๆ ในช่วง ที่ ยัง เรียน ปวส. เทคนิคยานยนต์ ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน กทม. กลับ มา ทำช่วง ปิดเทอม ตอนเรียน รอบเช้า ก่อน จะ ย้ายไป เรียน รอบค่ำ

( ช่วง ที่ บวช แล้ว หลัง ออกพรรษา แล้ว ( ปี ๒๕๓๖ ) ได้ เกิดอาการป่วย หนัก อาเจียน มาก ในวันพระ หายใจไม่ออก ดิ้นทุรนทุราย จน มีคน ไป แจ้งให้ หมอ ฝึกงาน ( พยาบาล ) จาก อนามัยบ้านแดงหม้อ จน ต้อง เข้ามาฉีดยา ถวายให้ ที่ ใต้ถุนโบสถ์ ที่ ข้างหน้า โดยมีหลวงพ่อ แสวง เจ้าอาวาสวัดแดงหม้อ คอย ดู อาการ ด้วย ความเป็นห่วง ต่อมา ไม่นาน เมื่ออาการ ยังไม่ดีขึ้น หลวงพ่อ ก็ พาไป ที่โรงพยาบาล เขื่องใน แล้ว ก็กลับ มา แล้ว หายป่วย .. พยาบาล ชุดนั้น ได้ช่วย พระองค์ นี้ รอด ในศาสนา มา จน ถึง ปัจจุบัน นี่ คือ คุณ ของ อนามัยบ้านแดงหม้อ ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแดงหม้อ ) ..อาจจะเป็นผล มาจาก ที่ เคยได้ มาช่วย สร้าง อนามัย ในงาน เล็ก ๆ น้อย ๆ ตั้ง แต่ สมัย ที่ ยัง เรียน ปวส. เทคนิคยานยนต์ ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน กทม. ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้มีโอกาส กลับ มา ทำ อนามัยแดงหม้อ ( ชื่อเดิม ) ในช่วง ปิดเทอม ตอนเรียน รอบเช้า ก่อน จะ ย้ายไป เรียน รอบค่ำ ... การ สร้าง อนามัย สมัย นั้น มี หลวงพ่อ แสวง เป็น ผู้ นำ รวมกับ ผู้นำหมู่บ้าน ชาวบ้าน มีชาวบ้านแดงหม้อ ผู้ บริจาค ที่ดินสร้างอนามัย ที่ป่า บริเวณ ทิศตะวันตก สถานีตำรวจ? หมู่ ๒ บ้านแดงหม้อ จำนวน ๑๑ ราย ( ดู ใน ประวัติ อนามัยแดงหม้อ หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแดงหม้อ ) โดย มี คณะนักศึกษาจาก มหาวิยาลัยขอนแก่น นำโดย นางสาว หนูยวน ภูพวก เปลี่ยนเป็น กรวรรณ ภูพวก .. ลูกสาว พ่อ ทองนาค ภูพวก พ่อดีเด่น จังหวัดอุบลราชธานี ปี ๒๕๕๗ + เป็น โยม อยู่ ภาวนา ที่ วัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ )

และเนื่องจากได้เข้า สอบแข่งขันได้ในลำดับที่ ๙ จากการสอบเข้ารับราชการของคณะกรรมข้าราชการพลเรือน ( สอบ ก. พ. ) ซึ่งใช้วุฒิการศึกษาระดับ ป. ว. ช. ไปยื่นสอบ ในตำแน่ง ช่างเครื่องกล ๑ รวมเวลาที่ศึกษาระดับ ป. ว. ส. นี้ ประมาณ ๓ ปี ในปีสุดท้าย ปีที่ ๓ ได้ลงทะเบียน เรียน ๑ – ๒ วิชา เท่านั้น

ประสบการณ์

พร้อมกับมีประสบการณ์ คือ การทำงานที่กองพัสดุ กรมที่ดิน ที่บริเวณ ริมคลองหลอด ทิศใต้กรมรักษาดินแดน ก. ท. ม. , ได้ออกฝึกงานซ่อมรถยนต์ เครื่องยนต์ ช่วงล่าง ฯลฯ ที่บริษัท นิสสัน ในศูนย์ศรีจันทร์ ถนนสุขุมวิทซอย ๖๗ ก.ท.ม. ได้ ฝึกงาน ติดตั้งระบบเครื่องปรับอากาศ ( ตามที่เคยเรียนในระดับ ป.ว.ส. และ ในระดับปริญญาตรี ซึ่งเป็นวิชาบังคับ ก.ว. ของสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ) กับพี่ชายที่เป็นช่างซ่อมเครื่องปรับอากาศ ( แอร์ ) อีกด้วย ( ปัจจุบัน พี่ชายคนนี้ได้ คือ นายสุคล แววศรี ปัจจุบัน ได้เปิดบริษัทฯ ติดตั้ง ระบบเครื่องปรับอากาศ เป็นของตัวเอง )

• เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญา ตรี ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยสอบเข้าได้ ทั้งสอง สถาบันการศึกษา พร้อมกัน คือ

๑. ที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเทเวศร์ ชื่อเดิม ต่อมา เปลี่ยนเป็น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต เทเวศร์ ต่อมา เปลี่ยนเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ถนนสามเสน ซึ่งตั้งอยู่ที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งทางทิศตะวันออก เขตเทเวศร์ ก.ท.ม.

.. แต่ ก็ได้เลือก สถานที่จะ เรียน ( เพราะ เทียบเคียง ข้อดี ข้อด้อย ใกล้ ไกล จาก ที่ทำงาน บ้านพัก ความสามารถ สมองของตัวเอง การยอมรับในสังคม บริษัทห้างร้าน ในราชการ ( ก. พ. ) ตลาดที่จะรองรับ โดยได้ปรึกษา อาจารย์ที่วิทยาลัยปทุมวัน ปรึกษากับผู้รู้ทั้งหลาย ปรึกษาหัวหน้า ( นายประกิจ กนกอมรมาศ ซึ่งเคย จบ จาก ว. ปทุมวัน ทำงานอยู่ ที่กรมที่ดิน ) และปรึกษาเจ้าหน้าที่ ที่อยู่ในกรมที่ดิน ซึ่งเคยเป็นศิษย์เก่าของ วิทยาลัยช่างกลปทุมวันเหมือนกัน และ สุดท้าย ก็ ดูโอกาสในการศึกษาต่อ ดูโอกาสช่องทางในทางวิชาการ ดูเงินเดือนที่เอกชนเสนอให้ เมื่อเรียนจบ มาแล้ว

ขณะ ทำงาน ที่กองพัสดุ กรมที่ดิน นั้น จะ ได้ รับ ความเมตตา จาก ท่านอธิบดี นายทวี ชูทรัพย์ ( ประมาณ ปี ๒๕๓๒ คืนหลังจาก เสร็จ งาน ทอด กฐินพระราชทานที่ วัด ในเขตพื้นที่ จังหวัด นครราชสีมา แล้ว ได้ไป พัก ค้างคืน พัก บน เขาใหญ่ ได้ มีโอกาส นั่งโต๊ะ ร่วม กับ ท่าน อธิบดี สองต่อสอง .. อาจจะ มาจาก ไม่กินเหล้า ไม่ดูด บุหรี่ อื่น ๆ .. หัวหน้า จึง จัดให้ ไป นั่ง กับ ท่าน อธิบดี ) จาก ท่าน ผ.อ. กองพัสดุ นาย เจริญ เกวลินสฤษดิ์ หัวหน้าวิชัย หัวหน้าสมศักดิ์ หัวหน้าสุธี หัวหน้าประกิจ หัวหน้าประภา ฯลฯ พี่ ๆ อาทิเช่น นายธนัยพร ศรีเดช ( ปัจจุบัน เป็น เจ้าพนักงานที่ดิน จ. นครราชสีมา ) นายวุฒิชัย , นายสุธี , นายสุชาติ ( ปัจจุบัน เป็นเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดนครสวรรค์ สาขา หนองบัว ) นายสุรัตน์ ... นางสาวนพมาศ นางสาวนิภา นางไพเราะ ฯลฯ นายสมบัติ + เพื่อน ๆ ( นายประเสริฐ ( ปัจจุบัน ทำงาน อยู่ ธนาคารแห่งชาติ กทม. ) ฯลฯ ) น้อง ๆ ที่ร่วมงาน ที่กองพัสดุ และ จาก กองอื่น ๆ เช่น กองการเจ้าหน้าที่ เช่น นางลำพู พรมสวัสดิ์ ซึ่ง เป็น กอง ที่เคย ไปฝึกงาน ในช่วงที่ ได้ เข้ารับราชการใหม่ ๆ ที่ กรมที่ดิน ให้ ช่วยเหลือ แนะนำ มาตลอด )

๒. สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ( ส. จ. พ. ) ถนนประชาราษฏร์ ๑ เขตบางซื่อ ก.ท.ม. เรียน ใน สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม TTM22 ( ค. อ. บ. เครื่องกล รอบค่ำ รุ่น ๒๒ ) ซึ่งขณะเรียน ก็ได้ทำงานที่ กรมที่ดิน ไปด้วย โดยทำงาน ประจำอยู่ที่ กองพัสดุ กรมที่ดิน ตั้งอยู่ที่ ริมคลองหลอด ตำแหน่ง ช่างเครื่องกล ๑ ซึ่งเป็นวุฒิ ที่เคยใช้สอบ ก.พ. ได้ ที่ ๙ ตั้งแต่ เมื่อครั้ง ยัง ตอนเรียนอยู่ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน

• ช่วง ทำงานอยู่ที่ กรมที่ดิน ก็ยัง ได้สอบเลื่อนตำแหน่งเป็นช่างเครื่องกล ๒ ที่ กรมที่ดิน ได้ลำดับที่ ๑ ด้วย

ต่อมา ได้ใช้วุฒิการศึกษา ระดับ ป. ว. ส. ที่จบจาก วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน สอบแข่งขันเข้ารับราชการ ของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ( สอบ ก. พ. ) ตำแหน่งนายช่างเครื่องกล ๒ โดยสอบได้ในลำดับที่ ๑ อีก ก็เลยขอโอนย้าย จาก กรมที่ดิน ปากคลองตลาด ใกล้ ๆ สนามหลวง ในขณะ ที่ ยังเรียน อยู่ที่ สจพ.

เพื่อไปรับตำแหน่งใหม่ ที่ กองพัฒนาบ่อบาดาล กรมโยธาธิการ ซอยงามวงศ์วาน ๕๔ ถนนงามวงศ์วาน ( ซอยท่านผู้หญิงพหลฯ ) อยู่ทางทิศใต้ ตรงกันข้าม กับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กทม. ปัจจุบัน พื้นที่ บริเวณ กองพัฒนาบ่อบาดาล ได้ ยกระดับ จาก กอง เป็น กรม คือ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ซอยท่านผู้หญิงพหล (ซอยงามวงศ์วาน 54) ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ

ทั้งนี้ ก็ด้วยความเมตตา จาก เจ้าหน้าที่ กองงพัฒนาบ่อบาดาล เช่น ท่าน ผู้อำนวยการ , หัวหน้าฝ่าย , หัวหน้างาน ( นายวิสิทธิ์ ซึ่ง เคย เรียน จบ จาก วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน .. จาก พี่จ่า ... . หัวหน้าที่ ช่วย สอนงาน และ จาก พี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ ) และ ความเมตตา ของ พ่อ แม่ พี่ ๆ ญาติ ๆ เพื่อน ๆ ที่ร่วมงาน ที่ได้ เมตตา ให้โอกาส เวลา กำลังใจ เพื่อเรียนต่อ และสอบเลื่อนตำแหน่ง ...

นอกจากนั้น ยังได้ใช้วุฒิ ป.ว.ส. ไปสอบเข้า ทำงานที่ ก.ท.ม. และ ไปสอบเข้าทำงานที่ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ในคณะวิทยาศาสตร์ สอบได้ลำดับที่ ๑ จนมีชื่อ นายประสิทธิ์ แววศรี ลงใน วารสาร ของสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ว่าเป็นข้าราชการใหม่ ของสถาบัน แล้ว แต่ก็ได้ขอสละสิทธิ์ , ไปสอบเข้าทำงานได้ ที่ ก. ท. ม. ( ส่วนราชการ ของ กทม. ) และ สอบเข้าทำงานที่บริษัท ที. พี. ซี. ที่ จังหวัดสมุทรปราการ สอบได้ แต่ได้ขอสละสิทธิ์ เอาบุญ

• ปี ๒๕๓๖ จบการศึกษาได้รับปริญญาตรี เกียรตินิยม ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ( ใบ ก. ว. ) ( สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

( Mechanical Engineering )

{ ค.อ.บ. ย่อมาจาก ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต

ชื่อ ภาษาอังกฤษ B.S.Tech.Ed. Mechanical Engineering ( ย่อมาจาก Bachelor of Science in Technical Education Program in (…) ) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ( Faculty of Technical Education }

จาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ( สจพ. ) ถนนประชาราษฏร์ ๑ แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ ก.ท.ม. ได้รับ ใบ กว. ( กว. ย่อมาจาก " คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม " ) เลขที่ใบอนุญาต ภก. 9958 ( ภาคีวิศวกร ) สาขา เครื่องกล หมายเลขสมาชิก 62249 ชื่อ - สกุล นายประสิทธิ์ แววศรี วันที่ เริ่มใช้ ๓๑ ม.ค. ๓๗ .. ( ชื่อ รุ่น , อักษร ย่อ ของ สาขาที่เรียน ที่ นิยม เรียก ใน พระนครเหนือ ( ใน สจพ. ) คือ TTM 22 รุ่น ( TTM รุ่น ๒๒ .. สจพ. ต่อมาเปลี่ยน ไป เป็น มจพ. )

ขณะที่ เรียน ที่ สจพ. ท่าน อธิการบดี คือ รองศาสตราจารย์ ดร. ชนะ กสิภาร์ คณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ คือ ศาสตราจารย์ ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ ( ตำแหน่งปัจจุบัน คือ อธิการบดี มจพ. )

อาจารย์ ที่ปรึกษา ห้อง TTM22 คือ อาจารย์ .............. .. อาจารย์ ผู้ สอน ที่ คณะครุศาสตร์เครื่องกล ก็ เช่น อาจารย์ขันติพล อาจารย์สุชาติ อาจารย์ประเสริฐ อาจารย์มณฑา อาจารย์สมปอง อาจารย์ประดิษฐ์ เหมือนคิด ( ปัจจุบัน ดร. ประดิษฐ์ ที่ ได้ ติดตาม มา ทำบุญ และปฏิบัติธรรม เพื่อ เป็น โสดาบัน เป็นอย่างต่ำ ที่วัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๒ ) อาจารย์สมยศ อาจารย์วันชัย อาจารย์คณิต อาจารย์สุราษฎร์ อาจารย์พรจิต อาจารย์ชวลิต อาจารย์วัลลภ อาจารย์สุทธิพันธ์ อาจารย์วรพจน์ อาจารย์สมหวัง อ.รุ่งโรจน์ ... อาจารย์วิมล เหมือนคิด สอนวิชามนุษย์สัมพันธ์ อาจารย์จินตนา สอนสถิติ ฯลฯ

• ขณะจบ ปี ๒๕๓๖ ได้สมัคร เข้าทำงาน ที่บริษัท ที. พี. ไอ. ที่ จังหวัดระยอง โดยใช้วุฒิปริญญาตรี ทาง บริษัท ฯ ก็เสนอให้ว่า จะได้รับ เงิน เดือนประมาณ หนึ่งหมื่นห้าพันบาท ( ในสมัย ที่ ค่า ของเงิน คือ หนึ่งดอลลาร์ ประมาณ ๒๕ บาท ) เมื่อรวม ๆ ค่ารายได้ พิเศษ สวัสดิการ ต่าง ๆ ทั้งหมดแล้ว ก็จะได้ประมาณ สอง หมื่น บาท ต่อ เดือน ได้รับโบนัส ประมาณ ๖ เดือน พร้อมสวัสดิการ เช่น อาหารกลางวัน ในห้อง TTM 22 มี ผู้ สมัคร + ทำงาน ที่ บริษัท ทีพีไอ. ได้ ๔ คน คือ ทำงานอยู่ก่อน แล้ว ๑ คน ไป สมัคร ทีหลัง อีก ๓ คน.... และ ก็ยังได้มีบริษัท อื่น ๆ ที่ ดี ๆ ดัง ๆ ได้ แสดงความเมตตา มารับสมัครเอง ที่สถาบัน ฯ และยังมีอีกหลาย ๆ บริษัทที่สอบได้ และที่มีสิทธิ์ที่จะไปทำงาน เช่น บริษัท นิกอล ที่ทำงานเกี่ยวกับ กล้อง ที่ได้เชิญไปทำงาน ฯลฯ

• ปี ๒๕๓๖ ได้สมัครเข้าเรียนต่อ ในระดับ ปริญญาโท ที่สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบัง ก. ท. ม. ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ผ่านการตรวจสอบ และได้เป็นนักศึกษาแล้ว รอไปเรียนตอนเปิดเทอม รับบัณฑิตใหม่

• ตกลง มีงาน ที่รออยู่ที่ บริษัท ที. พี. ไอ. .... นี่ ๑.

มี การทำงานที่เดิม คือ ที่ กองพัฒนาบ่อบาดาล กรมโยธาธิการ ที่ได้เมตตาให้เวลา โอกาส กำลังใจ ส่งเสริม เป็นกัลยาณมิตร ให้ไปเรียนต่อจนจบ ปริญญาตรี มา ..... นี่ ๒.

ซึ่ง เป็นความหวังของ ท่านผู้อำนวยการ หัวหน้า พี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ ฯลฯ ที่ จะได้ วิศวกรรมเครื่องกล ที่พึ่งจะจบใหม่ มาร่วมงาน โดย กำลังทำเรื่องปรับวุฒิการศึกษา จาก ตำแหน่งนายช่างเครื่องกล ๒ วุฒิ ป. ว. ส. จาก ระดับ ซี ๒ เลื่อนขึ้นมาเป็น ระดับ ซี ๓ ใช้วุฒิปริญญาตรี เงินเดือนที่ได้ก็จะอยู่ในราว ๆ ประมาณ สามพันกว่าบาท ก็อยู่ได้สบาย ๆ เพราะไม่กินเหล้า ไม่สูบบุหรี่ ไม่เที่ยว ไม่เล่นการพนัน ประหยัด อดทน ถ่อมตัว เป็นเด็กเรียน

ขณะ ที่ เรียน และทำงาน ที่ กทม. ประมาณ ๖ ปี คือ ในช่วง ที่ เรียน ปวส. ๓ ปี + ช่วงที่ ปริญญาตรี ๓ ปี ได้ พัก อยู่บ้านเช่า เลขที่ ๙๘๑/๔ อยู่ ใน ซอยสาหร่ายไพเราะ ๑ ( ซอยสาหร่ายไพเราะ ๑ ... เดิม ตั้งอยู่ ใน ถนนสุขุมวิท ๑๐๑/๑ อยู่หน้าโรงเรียน วชิรธรรมสาธิต ) ปัจจุบัน คือ เลขที่ ๙๘๑/๔ ซอย วชิรธรรมสาธิต 57 แยก 19 แขวง บางจาก เขต พระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260 ( ดูในแผนที่ ได้ )

บวช

• ได้ติดสินใจ บวช เพื่อตอบแทน บุญคุณ ของค่าน้ำนม ค่าเลี้ยงดู ค่าส่งเงิน เวลา อาหาร กำลังใจ ให้เล่าเรียนจนจบ โดยขอมอบบุญ มอบ ยก อุทิศ กุศล จาก การบวช นี้ให้แด่ ทวดทั้งหลาย ปู่ ย่า พ่อ แม่ แลปวงญาติ ๆ ทุก ๆ คน ผู้บังคับบัญชา คุณครู อาจารย์ หัวหน้า พี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ มิตรสหาย สัพสัตว์ และ

ที่สำคัญของการบวชก็ เพื่อจะแสวงหาความสุขที่สุดในชีวิต ของลูกผู้ชาย คือ สุขจาก การบรรลุ นิพพาน ให้ได้

แถมสิ่งที่มีในใจลึก ๆ คือ อยากได้สมาธิจากการบวชนี้ ไปเรียนต่อ ปริญญาโท อีกด้วย

จัดงาน บวช ที่ บ้าน พ่อจันดี แววศรี ( พ่อ )….... ที่ บ้านเลขที่ ๕๑ หมู่ ๑ บ้านแดงหม้อ ต. แดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบลราชธานี ๓๔๑๕๐ คือ สถาน ที่จัดงานบวช พิกัด ทางแผนที่ คือ 15.295350, 104.499700

……………………………………………………

ได้บวช เมื่อ วันที่ ๒ สิงหาคม หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน สองพันห้าร้อยสามสิบหก ปี .. ๒๕๓๖

เมื่อ เวลาบ่าย สองโมงครึ่ง ( ๑๔.๓๐ น. )

ณ พัทธสีมาวัดแดงหม้อ บ้านแดงหม้อ ( บ้านเกิด ) อ. เขื่องใน

จ. อุบลราชธานี ๓๔๑๕๐

ภาย ซ้าย มือ คือ โบสถ์ สองชั้น ที่ วัดแดงหม้อ เป็นสถาน ที่ พระประสิทธิ์ ฐานะธัมโม บวช ที่ ชั้นล่าง เมื่อ วันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ เวลา ๑๔.๓๐ น. ( ลอก ข้อ มูล นี้ https://www.google.co.th/maps/@15.2970899,104.5006602,3a,75y,57.15h,104.32t/data=!3m6!1e1!3m4!1srvep9yhEHRYSarHLeN6RLQ!2e0!7i13312!8i6656 ) ไป ค้นหา ใน อินเทอร์เน็ต

บวช ขณะที่ กำลัง มี อายุ ๒๕ ปี .. เกิด วันพุธ ที่ ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๑

โดยมี พระครูขันตยาธิคุณ ( บุญ ขนฺตโร ( ขนฺตโร อ่านว่า ขัน – ตะ –โร ) นามสกุลเดิม มีคุณ ท่านเป็นคน บ้านแสงน้อย ต. นาคำใหญ่ อ. เขื่องใน ) เจ้าอาวาส วัดแสงน้อย เป็นพระอุปัชฌาย์ ….

พระครูอินทรวิสุทธิ์ ( หลวงปู่หนู อินฺทสโร ( อินฺทสโร อ่านว่า อิน- ทะ-สะ-โร ) นามสกุลเดิม มีคุณ ท่านเป็นคน บ้านแสงน้อย ) เจ้าอาวาสวัดบ้านบุตร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ …

พร้อมด้วย

พระครูสุนทรพัฒนากร ( หลวงพ่อแสวง อชิโต นามสกุลเดิม ชมพูพื้น ท่านเป็นคน บ้านแดงหม้อ ) เจ้าอาวาสวัดแดงหม้อ เป็นพระอนุสาวนาจารย์

ได้ ชื่อ และ ฉายาใหม่ ว่า พระประสิทธิ์ ฐานะธัมโม

ฐานะธัมโม แปลว่า ผู้ที่มีธรรมเป็นฐาน เป็นที่ตั้ง ผู้ที่ตั้งอยู่บนธรรมเป็นธรรมดา

เมื่อ บวช แล้ว อยู่ศึกษากรรมฐานกับ หลวงพ่อแสวง ที่ วัดแดงหม้อ

บวชวันที่ ๒ ส.ค. ๓๖ พอ เย็นของ วันที่ สาม ส.ค. ก็ เดินทาง ออก จากบ้านแดงหม้อ .. หลังจากบวช แล้ว อยู่ วัดที่บ้านแดงหม้อ ๑ วัน ครึ่ง กับ ๑ คืน

จำพรรษา แรก ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ที่ วัดลือชัย บ้านลือชัย ต. หนองหัวช้าง อ. กันทรารมย์ จ. ศรีสะเกษ ( บ้านลือชัย เดิม เรียกว่า บ้านบาก เป็นหมู่ บ้าน ที่ ชาวบ้าน แดงหม้อ บางส่วน อพยพ หนี น้ำท่วม จากบ้านแดงหม้อ อ. เขื่องใน ไป อยู่

)

บวช แล้ว ๒ ส.ค. ๓๖ แล้ว พักค้างที่ วัดแดงหม้อ ๑ คืน วันต่อมา วันที่ ๓ ส.ค. ๓๖ ตอนประมาณ ห้า โมง เย็น ก่อน จะอธิฐานเข้าพรรษา ในโบสถ์ วัดแดงหม้อ หลวงพ่อ แสวง ได้ แจ้ง คณะสงฆ์ที่ วัดแดงหม้อ ทราบ ว่า ใน พรรษา ปี ๒๕๓๖ นี้ ท่าน จะเดิน ไป จำพรรษา ที่ วัดลือชัย ไปองค์เดียว ... ท่าน สร้างโบสถ์ ที่ วัดแดงหม้อ เสร็จ .... ตามประเพณี นิยม ให้ เจ้าอาวาส ที่สร้างโบสถ์ เสร็จ ย้ายสถานที่ จำพรรษา จาก วัดที่ เคยสร้างโบสถ์ ไป จำพรรษา ที่วัดอื่น .. เพื่อ เป็นการ ฝึกกรรมฐาน สมาธิ ปัญญา ฯลฯ .. พอ หลวงพ่อ แสวง แจ้ง ให้ พระสงฆ์ทั้งหมด ที่ วัดแดงหม้อ ทราบ แล้ว ท่าน ก็ ให้ โอวาท ในการ จำพรรษา นานพอสมควร ใน เรื่อง การอยู่จำพรรษา ธรรมเนียม ประเพณี การฝึกกรรมฐาน การเรียน นักธรรม การลงปาฏิโมกข์ .. ระหว่างเวลา นั้น มี รถปิกอัพ ของโยม มารอ อยู่ ที่ ข้างนอก โบสถ์ด้านทิศเหนือ แล้ว คนขับ คือ นายจำรัส สลักคำ ปัจจุบัน เป็น ครูเกษียนราชการ มีครอบครัวอยู่ ที่ บ้านแดงหม้อ .. แล้ว หลวงพ่อแสวง ก็ จะออก เดิน ทาง ไป จำพรรษา ที่ วัดลือ ชัย .............

ขณะนั้น พระประสิทธิ์ ซึ่ง เพิ่ง จะบวช ได้ ๑ วัน กว่า ๆ ( ประมาณ ๒๗ ชั่วโมง ) จึง ได้ ติดสินใจ .. ออก ปาก ขอไปจำพรรษา ร่วมกับ หลวงพ่อแสวง อชิโต ผู้ซึ่งเป็นอาจารย์ องค์แรก ที่ได้ สอนกรรมฐาน.. ให้แก่ พระประสิทธิ์ .....

ส่วน มาก พระ ที่บวช ใหม่ ก็ ไม่ค่อย อยาก จะไป จำพรรษา ที่วัดอื่น ที่ ไกล จาก บ้าน พ่อ แม่ จากบ้านญาติ ของ ตัวเอง เพื่อ ต้องการ จะโปรด ญาติ ให้ ญาติ ได้ ทำบุญ ได้ เข้าวัด ภาวานา .. ยก เว้น จำเป็น หรือ ต้องการ ตัดความกังวล เพื่อความเจริญ ใน กรรมฐาน ก็ จึง ต้อง ไป จำพรรษา ในวัด ที่ห่าง จาก บ้านเกิด ห่าง ๆ จาก ญาติ ๆ เช่น ในวัดป่า ฯลฯ . .. แต่ ญาติ ๆ เมื่อ รู้ ว่า มี คน ในครอบครัว หรือ คน ที่เป็นญาติ บวช ส่วน มาก ก็ จะ สนใจ ใน เรื่องพุทธศาสนา เรื่องการ จำศีล ภายวนา เรื่อง การ ทำบุญ มาก ยิ่ง ขึ้น .... ..................

หลวงพ่อ แสวง ท่าน พา ฉัน มื้อเดียว ออกบิณฑบาตทุก ๆ วัน เดินบนหินคลุกที่ เททำถนนใหม่ ๆ เพราะว่า ช่วงนั้น ช่างกำลังสร้างถนน จากลูกรัง เปลี่ยนเป็น ถนน ลาดยาง ที่ บ้านลือชัย .. แล้ว เก็บ อาหาร ไว้ รอ ฉัน ตอน ห้าโมงเช้า .. สิบเอ็ดนาฬิกา .. วัด บ้าน ลือชัยเริ่ม เข้า พรรษ ตอน นั้น ฝน ยัง ไม่ค่อย ตกบ่อย ก็ จึง เอา แคร่ สี่ขา ไป วาง ใต้ ร่ม ไม้ ข้าง ๆ กุฎี หลวงพ่อ แสวง ที่ ทำด้วย ปูน ที่ สูง ครึ่งเมตร แล้ว แขวนกลด กับ กิ่งไม้ มุ้ง กลด เป็น แบบ ที่ เป็น มุ้ง ห่าง มองเห็น จาก ข้าง นอก มี สามเณร แขวน กลด พัก อยู่ ใกล้ ๆ พอ บาง คืน ฝน ตก ก็ อยู่ ตรงนั้นมี คืน หนึ่ง หลวง พ่อ ท่านเดิน มาจาก กลด ของ ท่าน ซึ่ง อยู่ ห่างกัน ไม่เกิน ๔๐ เมตร มา บอก ให้ ไป พัก บน ศาลา ไม้ ที่ ชั้น สอง

มีการ ฝึกกรรมฐาน อดทน พัฒนาวัดลือชัย เช่น ถนนทางเข้า ปลูกต้นไม้ นำดินจาก ที่ สูง จาก จองปลวก ไป ถม บริเวณพื้นดินในบริเวณวัด ที่ต่ำ ให้เสมอกัน ทำห้องน้ำ ทำบ่อเลี้ยงปลา ปฏิบัติแบบอยู่ง่าย ขยัน ทำวัตรสวดมนต์ แปล ทั้ง เช้า ทั้ง ตอนเย็น นั่งสมาธิ หลังทำวัตร ทั้งใน ตอน เช้า และใน ตอนเย็น เดินจงกรม ลงปาฏิโมกข์ เรียนหนังสือ เรียน นักธรรมตรี อ่านหนังสือนวโกวาท วินัยมุข พุทธสุภาษิต พุทธประวัติเล่ม ๑ ศาสนพิธี เรียนหนังสือใบลาน ( ใบลาน ที่ เขียน ตัวอักษรธรรม ที่ใช้บันทึกคำสอน ตาม ประเพณี อีสาน เมื่อ ออกพรรษา จะให้ พระที่บวชใหม่ ได้ ฝึกเทศน์ ( แสดงความรู้ทางธรรม ) ปี ๒๕๓๖ นั้น ได้เทศน์ เรื่อง “ บุญคุณพ่อ แม่ ” ใน วันออกพรรษา )

การฝึกกรรมฐาน หลวงพ่อแสวง ท่าน สอนให้ เดินจงกรม สอนให้ ฝึกสมาธิ กับ ท่าน จะ แนะ ให้ นั่ง สมาธิ ขาขวา ทับขาซ้าย นั่งตัวตรง ไม่ก้ม ไม่เงย ไม่ขยับ ไม่กระดุกกระดิก ไม่กด ไม่เกร็ง หายใจ ตามปกติ หลับตา พอดี ๆ ถ้า เครื่องนุ่งห่ม แน่น ก็ให้ คลาย ให้ พอดี ๆ

ให้ เอาสติ ( ไม่ใช่ เอาสายตา มาเพ่ง ดูลมหายใจ ) จ้องดูลมหายใจ ที่กำลังเข้า เอาสติ มาจ้องดูลมหายใจที่กำลังออก ที่บริเวณ ริมฝีปากด้านบน ( ซานดัง = ซาน ก็ คือ ชาน .. ดัง ก็ คือ จมูก .. ซานดัง = ชานจมูก คือ บริเวณ ร่อง ที่ริมฝีปาก ใกล้ ๆ ปลายจมูก คล้าย กับ ชาน บ้าน ก็ คือบริเวณ รอบ ๆ บ้าน ) ....

หรือ จะ ดู ลมหายใจ ที่กำลัง เข้า กำลังออก ที่ บริเวณ ด้านใน ปลายจมูก ก็ได้ ... หรือ จะ ดูลม ที่ท้อง ก็ ได้ ดู ลมหายใจ ไป เรื่อย ๆ ...

หรือ จะ ท่องคำว่า พุท ใน ขณะ ที่กำลัง หายใจ เข้า และ ท่อง คำว่า โธ ในขณะ ที่กำลัง หายใจ ออก ก็ได้ หายใจ ตามปกติ อย่างอยาก แบบ นี้ ง่าย ....

หรือ รู้ว่า ลมหายใจ เข้า ก็ ท่อง คำว่า พอง หนอ รู้ ว่า ตอนลมหายใจ ออก ก็ ท่อง คำว่า ยุบ หนอ ก็ได้ ... ควร จะ เลือก เอา อย่างใดอย่างหนึ่ง ..ให้ ทำไป เรื่อย ๆ อย่าอยาก ...

ตก ลง เลือก แบบ พุทโธ โดย ตอน แรก เนื่อง จาก จิต ฟุ้ง ซ่าน มาก เพราะว่า เรียน มามาก ประมาณ ๑๘ ปี รู้ว่า ตัวเอง ชอบใจ ลอย เพราะ ไม่มี สิ่ง ที่ มากำหนด ให้ ใจ นิ่ง จึง ทดลอง ทำบางอย่าง เช่น ในขณะ ที่ กำลัง หายใจ เข้า ในใจ ก็ นึก เขียน ว่า พอ พาน เขียน สระ อุ แล้ว เขียน ตัว ท ทหาร ในใจ นี่ คือ อ่าน ว่า พุท พอ ตอน กำลัง หายใจ ออก ก็ ทดลอง เขียน ใจ ว่า สระ โอ แล้ว เขียน ตัว ธอ ธง อ่าน ว่า โธ นี่ ก็ ยัง ไม่สงบ .. บางคน อาจจะ สงบ ..

ต่อมา ทดลอง กล่าว คำว่า พุท พร้อม ๆ กับ ลมหายใจ เข้า ลองกล่าว คำว่า โธ ใน ขณะ ที่ กำลัง หายใจ ออก หายใจ พอดี ๆ ไม่กด ไม่เกร็ง ด้วย ความ อดทน ไม่อยาก ...... นี่ เป็น การฝึก แบบ สมถะ

ถ้า ไม่สงบ ก็ ดู ความเจ็บ ดู ดู ว่า ร่างกายของเรา จะ ประกอบ ด้วย ธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม ร่างกาย จะ รู้ ด้วย ตัวเอง ไม่ได้ จะ ต้องมี ใจ เป็น ผู้ รู้ แล้ว ก็ จะ มี ใจ เป็น ผู้ รับรู้อารมณ์ ... ให้ ดู ว่า เวลาเจ็บ ก็ ไม่ขอเรา เมื่อ มีเหตุ ก็จะเจ็บ เมื่อ ไม่มีเหตุ ก็จะไม่เจ็บ เรียกว่า อนัตตา คือ ไม่ใช่ ของเรา อย่าง แท้จริง เป็น ของ เรา แค่ เพียง ตามสมมุติ .. ร่างกาย และ ใจ ของ เรา ทั้ง สองอย่าง นี้ บางที สุข บางที ทุกข์ บางที ก็ เฉย ๆ จะ ขึ้นอยู่ กับ เหตุ ควร ปล่อยวาง ๆ จะ มี อะไร ที่ เกิดขึ้น ในระหว่าง ฝึก สมาธิ ฝึก วิปัสสนา ก็ อย่า ตกใจ ให้ รู้ว่า ๆ ว่าทุก อย่าง ไม่แน่ ... นี่ เป็น การฝึก วิปัสสนา

จิต มีความสุข จาก การฝึก สมาธิ ตั้ง แต่ ใน

พรรษา ที่ หนึ่ง

... ได้ ทำตาม ท่าน ช่วง ในพรรษา ปี ๒๕๓๖ นั้น บางวัน ก็ นั่ง ตอน ช่วง ทำวัตร เช้า ทำวัตร เย็น บางวัน ก็ แอบ ลุกขึ้นมา นั่ง ตอน เที่ยงคืน หรือ ตีหนึ่ง ตี สอง .. คือ หลัง จาก ที่ รู้สึก ตัว ตื่น ก็ จะ ลุกมานั่ง คนเดียว ที่ ที่นอน ที่กุฎี บางคืน นั่ง สมาธิ ไป รู้สึก ว่า มีเสียง ออด แอด ที่บริเวณ คอ แต่ มีความสุขมาก ๆ ทั้งที ก็ ไม่ได้ ก้ม หัว ไม่ได้ โยก ไม่ได้หลับ เมื่อเป็น อาการ คอสั่น ออด แอด บ่อย ๆ ในช่วง การฝึก สมาธิ ตอน หลังเที่ยงคืน มี ใน ดึก คืนวันหนึ่ง ก็ จึง ลง ไป ถาม หลวงพ่อแสวง ตอน ตีหนึ่ง ตีสอง ที่ กลดของท่าน ซึ่ง ท่าน จะ แขวนกลด ท่าน ไม่พักกุฎี ท่าน จะ ให้ โยม เอา แคร่พื้นทำด้วยไม้ไผ่ มีสี่ขาตั้งบนพื้นดิน สูงประมาณ ครึ่งเมตร ทำหลังคา มุงหญ้าคา พอ แขวนกลด ภายใน ได้ พอดี ๆ ได้ ยกแคร่นี้ เคลื่อนที่ ไป ได้ ท่านให้โยม ชาวบ้านลือชัย ทำแคร่ แล้ว ให้ ยก ตั้ง กุฎี ไว้ใต้ร่มไม้ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของศาลา เมื่อ ลง ไป หา ท่าน รู้สึกว่า ท่าน จะ ไม่หลับ ท่าน บอกว่า ไม่ต้องกลัว ให้ฝึกต่อไป ไม่ต้อง กังวล กับ อาการ ที่ มี เสียง คอ เสียง หู ลั่น แต่ มีความสุข นั้น

{ ช่วง ที่ บวช แล้ว หลัง ออกพรรษา แล้ว ( ปี ๒๕๓๖ ) ขณะ ที่ พัก อยู่ ที่วัด บ้านแดงหม้อ ได้ เกิดอาการป่วย หนัก อาเจียน มาก ในวันพระ หายใจไม่ออก ดิ้นทุรนทุราย จน มีคน ไป แจ้งให้ พยาบาลฝึกงาน (พยาบาล) จาก อนามัยบ้านแดงหม้อ จนพยาบาล ต้อง เข้ามาฉีดยา ถวายให้ ที่ ใต้ถุนโบสถ์ ที่ ข้างหน้า ( ช่วง กลับ มาจากวัดลือชัย มาอยู่ ที่วัดแดงหม้อ นั้น หลวงพ่อ แสวง ท่าน ให้พัก ที่ ห้องหน้าโบสถ์ ด้านทิศเหนือ ส่วน หลวงพ่อแสวง ท่าน พัก อยู่ ห้อง ด้านทิศใต้ ... เป็น ห้อง เก่า ที่ เคย อยู่ ตั้งแต่บวชวันแรก ) โดยมีหลวงพ่อ แสวง คอย ดู อาการ ด้วย ความเป็นห่วง ต่อมา ไม่นาน เมื่ออาการ ยังไม่ดีขึ้น หลวงพ่อ ก็ ให้โยม พาไป ที่โรงพยาบาลเขื่องใน ในตัวอำเภอเขื่องใน ห่างจากวัดแดงหม้อ ไปทางทิศ ตะวันอกเฉียงเหนือ ประมาณ ๒๐ กม. แล้ว ก็กลับ มาที่ วัดแดงหม้อ แล้ว ต่อมา หายป่วย .. พยาบาล ชุดนั้น ได้ช่วย พระองค์ นี้ รอด ในพุทธศาสนา มา จน ถึง ปัจจุบัน ... นี่ คือ คุณ ของ อนามัยบ้านแดงหม้อ ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแดงหม้อ ) ..

อาจจะเป็นผล มาจาก ที่ เคยได้ มาช่วย สร้าง อนามัย ในงาน เล็ก ๆ น้อย ๆ ตั้ง แต่ สมัย ที่ ยัง เรียน ปวส. เทคนิคยานยนต์ ที่ วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน กทม. ประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้มีโอกาส มา ทำในช่วง ปิดเทอม ตอนเรียน รอบเช้า ก่อน จะ ย้ายไป เรียน รอบค่ำ และ ก่อนจะ ทำงาน ที่กรมที่ดิน ... ... มี พี่ นักศึกษา จาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นผู้ หญิง มาพัก ที่ บ้านเลข ที่ ๕๑ บ้านแดงหม้อ บ้าน นายจันดี นางไสว บ้านพ่อ แม่ ของ นายประสิทธิ์ ด้วย ๑ คน ชื่อ ...... นักศึกษา จาก มหาวิทยาลัย ขอนแก่น จ. ขอนแก่น ที่ มา ร่วม สร้าง อนามัย แดงหม้อ ก็ มี หลาย คน ที่ เคย รู้จัก ทั้ง หญิง และ ชาย มี นางสาว หนูยวน ภูพวก ( กรวรรณ ภูพวก ปัจจุบัน เปิดคลินิกกายภาคบำบัดกรวรรณ ส่วนตัว และ ทำงาน ที่ โรงพยาบาล อุบลรักษ์ จ. อุบล ) เรียน คณะ เทคนิคการแพทย์ เป็น คน บ้านแดงหม้อ เป็น ลูกสาว ของ พ่อทองนาค ภูพวก โยม วัดป่าดงใหญ่ ในปัจจุบัน นี้ รวมอยู่ด้วย }

หลัง จาก สอบ นักธรราม ตรี เสร็จ ช่วงออกพรรษา แล้ว ประมาณ ช่วง เดือน พ.ย. – ธ.ค. พ.ศ. ๒๕๓๖ ตอน นั้น หลวงพ่อ แสวง พาไป แขวนกลด ภาวนา ( ไปธุดงค์ ถือ ธุดงค์ ) อยู่ ที่ วัดเหนือ หรือ วัดป่าสัก หรือ วัดวังไฮ ซึ่ง อยู่ ทางเหนือ ทิศทางการไหล ของ แม่น้ำชี อยู่ ทางทิศตะวันตก ของ บ้านแดงหม้อ ห่าง ประมาณ ๕๐๐ เมตร หลังจาก ไปบิณฑบาต ที่ บ้านทัน กลับ มา ที่ วัดเหนือ ฉันในบาตร เสร็จ แล้ว เก็บ บริขาร ล้างบาตร ล้างกระโถน แล้ว เช็ด ตาก เก็บบาตร กระโถน อาสนะที่นั่ง กาใส่น้ำ ปัดกวาด ให้ ครูบาอาจารย์ ทำความสะอาด บริเวณ ที่ฉัน เสร็จ ก็ ได้ กลับ นั่งสมาธิ อยู่ ที่ บริเวณ กลดของตัวเอง คนเดียว .. ไม่ได้ เอา มุ้งกลด ลง .. พอ ดี หลวงพ่อแสวง ท่านเดิน มาจาก กลด ของ ท่าน เดินผ่าน มาเห็น ว่า กำลัง นั่ง สมาธิ คน เดียว

ท่าน ถาม ว่า “ จะ เอายังไง แน่ ใน ชีวิต นี้ ”

ก็ ตอบ ท่าน ว่า “ จะ เอาดี ในทาง บวช ทางพ้นจากทุกข์ ”

( พูด ง่าย ๆ จะ อยู่ เป็น พระ ต่อไป ไม่ ออก ไป เป็น โยม )

หลวงพ่อ แสวง ท่าน บอกว่า “ ถ้า อย่าง งั้น ผม จะพาไป ฝาก กับ ครูบาอาจารย์ ที่ ท่าน สามารถ ช่วยเหลือ แนะนำสั่งสอน ให้ พ้นทุกข์ ได้ ” นั่น ก็ คือ สาขา ของ วัดหนองป่าพง …

ช่วง ที่ ไป พัก แขวนกลด ภาวนา ที่ วัดเหนือ กับ หลวงพ่อแสวง นั้น ท่านเจ้าคณะอำเภอเขื่องใน องค์ ก่อน คือ พระสิริพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะอำเภอเขื่องใน วัดเขื่องกลาง อยู่ในตัวเมือง อ. เขื่องใน จ. อุบล ฯ ท่านหลวงพ่อ สมหมาย โชติปุญโญ ( บุญเอื้อ ) หรือ พระ พระสิริพัฒนาภรณ์ ได้มาตรวจการสอบธรรมสนามหลวงของพระ ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ที่ วัดแดงหม้อ และ ท่าน ก็ได้ ถือ โอกาส มาร่วม ฝึกกรรมฐานพักค้างคืน ที่ วัดเหนือ โดย ท่านจะ ทำวัตร สวดมนต์ เช้าเย็น เดินเท้าเปล่า ไม่ใส่รองเท้าตามหลวงพ่อ แสวง ฉันในบาตร ฉันครั้งเดียว ฝึกสมาธิ ภาวนา ท่านจะเรียก หลวงพ่อแสวง ว่า อาจารย์ .. ท่านเคย เคย ออกปากชวน พระประสิทธิ์ ให้ไป อยู่ ที่วัดเขื่องกลาง ช่วยท่านสอนกรรมฐาน สอนหนังสือให้ พระเณร นักเรียน... แต่ ก็ ได้ กราบขอโอกาส จาก ท่าน ว่า ยังไม่มีความรู้ ทางธรรม พอ ที่จะ สอนผู้อื่น ขออยู่ป่าภาวนา แก้กิเลสไปก่อน

ก่อน เดินทางไป วัดป่าศรีมงคล หลวงพ่อแสวง ท่าน พา บ่มบาตร เหล็ก แต่ไม่ใช่ เหล็กทั้งหมด เป็นเหล็ก ที่เรียกว่า สแตนเลส จาก ที่เป็นสีขาว ให้ เป็นสีดำ บ่ม ที่ ทางทิศตะวันออก ใกล้ๆ ศาลา ที่วัดแดงหม้อ ที่ ใต้ร่มมะพร้าว ตอนเย็น ๆ โดย เอาแผ่นกระเบื้องวางที่พื้น ที่ไม่มีสัตว์ ไม่มีพืช หญ้า แล้ว เอาทรายวาง เกลี่ย ที่พื้น กัน สัตว์ตาย กันต้นไม้ตาย กันหญ้าตาย ทำความ สะอาด บาตร.. อย่าให้เปื้อนรอยมือ คือ เอาผ้าแห้ง รองมือที่จับบาตร เพื่อกันรอยนิ้วมือ จะติดที่บาตร ที่ล้าง เช็ด ขัด จนสะอาด แล้ว และป้องกัน หลัง บ่ม ออกมา จะ มีรอยลายนิ้วมือ ที่ ผิวนอกของบาตร ด้วย ... แล้ว เอาบาตร ที่สะอาด วางบาตร คว่ำ ลงบน ก้อนอิฐแดง สามก้อน ที่วางรอง ปาก บาตร เป็น มุม เท่า ๆ กัน ( วาง อิฐ ห่างกัน เป็น วงกลม ทำมุมกัน ประมาณ ๑๒๐ องศา ) ไม่ให้ ปาก บาตร ติดกับ พื้น แล้ว เอา โอ่งน้ำ หรือ ถังเหล็ก ที่มีขนาด พอจะวางครอบ ตัว บาตร ได้ พอดี ๆ วางครอบบาตร ลงไป ให้ ปากถัง ติด กับ พื้น แล้ว ใช้ทรายเกลี่ย รอบ ๆ ถัง ที่ครอบบาตร อย่าให้อากาศ จากภายนอกเข้า ไป ภายใน ถัง จน โดนบาตร ได้ .. แล้ว เอา ฟืน เช่น ไม้ไผ่แห้ง ที่ ตัดเป็น ท่อน ๆ สั้น ๆ ด้วยเลื้อย หรือ พร้า หรือจะใช้ ฟืน จาก ไม้ อื่น ๆ ค่อย ๆ วาง ใส่ รอบ ๆ โอ่ง หรือ ถัง ให้ มาก พอสมควร ยิ่ง มาก ยิ่งดี ...............แล้ว จุดไฟเผา อย่าให้ หม้อ ขยับ

............... รอจน ไฟดับ ซึ่ง ช่วง นี้ อาจ จะนาน เป็น หลาย ชั่วโมง อยู่ ที่ว่า ฟืน เป็น ไม้แบบใด ให้หม้อเริ่ม เย็น แล้ว ค่อยๆ เปิด ถังที่ ครอบบาตร ขึ้น แล้ว ใช้ผ้า รอง มือ ก่อน จะจับบาตร ถ้า บาตร ได้ที่ มีสีดำ ก็ จะเอา น้ำมันพืช มาทาบาตร กัน สนิม เก็บบาตร เข้า ถลก เก็บ เครื่องมือ อุปกรณ์ ทั้งหมด ... ถังครอบ อาจจะนำมาใช้ได้อีก หลายครั้ง ถ้า ยัง ไม่ แตก ไม่ ทะลุ

แต่ ถ้า การบ่มบาตร ยังไม่ได้ ที่ ก็ จะเช็ดบาตรให้สะอาด ไม่ให้ มีรอย ลายมือ ไม่มี คราบน้ำมัน แล้ว วางบาตร เข้า ที่เดิม วางบาตรบน ก้อน อิฐ สามก้อน เอา หม้อครอบ เอาทรายเกลี่ย รอบ ๆ ถังครอบไม่ให้อากาศเข้าไปภายใน ใส่ฟืน เอาฟืนใส่ รอบ ๆ ถัง แล้ว จุดไฟ บ่ม บาตร ใน รอบ ที่ สอง แล้ว เปิด ดู บาตร ถ้า บาตร ยังไม่ได้ ที่ ก็ จะ บ่มบาตร ใน รอบที่สาม รอบที่ สี่ รอบที่ห้า จน ได้ที่ ...............

บางครั้งใช้ ถ่านไม้ แทนฟืน หรือผสม ถ่าน กับฟืน โดย เอาถ่านใส่ด้านในรอบ ๆ ถัง ครอบ แล้ว เอาฟืนใส่ รอบ ๆ ถ่านอีกที อาจจะใช้ถ่าน หลายกระสอบป่าน อาจจะ เกิน ๑๐ กระสอบ หรือ มากกว่า เผา เป็นเวลา เกิน สิบสองชั่วโมง ขึ้นไป หรือใช้ ฟืนแทน ถ่าน โดย ใช้ฟืน มาก ๆ มาก พอ ที่ จะจุดไฟ เผา ได้ เกิน ๑๒ ชั่วโมง โดย เผา รอบ เดี่ยว แล้ว รอ จน ถังครอบ เย็น แล้ว เปิดดูบาตร ..... เมื่อบาตร ดำ ได้ ที่ ไม่แตก ไม่เสีย แล้ว ทาน้ำมันพืช ทั้งภายนอก และภายในบาตร เพื่อ ป้องกัน สนิม .. เสร็จ แล้ว เก็บ สิ่งของ ให้ เรียบร้อย

ช่วง พัก อยู่ที่หน้าโบสถ์ ชั้น ล่าง ที่ ห้องทางทิศเหนือ จะมีหนังสือ อยู่ เล่ม หนึ่ง ชื่อ ตามรอยพระโพธิญาณ ของ หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง เป็นหนังสือ ที่ นำ ชีวิต พระกรรมฐาน หรือ พระวัดป่า ออก มา นำเสนอ ให้ ทุก คน ได้ รู้ เช่น หลังฉัน ในบาตร มื้อเดียว เสร็จ ล้าง เช็ดบาตร ผึ่งแดด แล้ว เก็บ สิ่งของ เข้าไป ที่กุฎี ซ่อมบริขาร หรือ ผึ่งผ้า เดินจงกรม ปัดกวาดบริเวณที่อยู่ แก้ง่วง หรือ ศึกษา ตำรา พระธรรม ในช่วงตอนกลางวัน เป็น ช่วง ของการ ใช้ชีวิต วิเวก ส่วนตัว ( ส่วนมาก ที่เคย ฝึกมา จะ มีงานในช่วงกลางวัน เพราะว่า วัดที่ไป อยู่ เป็นวัดที่ สร้าง พัฒนา ใหม่ ๆ .. จะมี โอกาส ฝึก กรรมฐาน เฉพาะ ตอน เช้า กับ ตอน เย็น ไม่มีการฝึกกรรมฐาน ใน ช่วง กลาง วัน ) .... เช้า และ เย็น มีการ นั่งสมาธิ ทำวัตร สวดมนต์ แปล มีการฟังธรรม มีผู้สอน เช่น อ่านหนังสือบุพพสิกขา หรือ อ่านหนังสือ อื่น ๆ ให้ กันฟัง มีการปฏิบัติตามพระธรรมวินัย .... ไม่ฉันนมตอนเย็น ไม่ถือเงิน ไม่ขุดดิน ไม่ฟันต้นไม้ ( จะได้ไม่ต้อง มาทำกัน ทั้งปี เสียเวลาปฏิบัติธรรมฐาน ) .... มีการซักย้อมไตรจีวร ด้วยน้ำร้อนต้มใส่แก่นขนุน มีการเย็บผ้า ไตรจีวร และ บริขาร เอง มีการทำไม้สีฟันเอง บ่มบาตรเอง ทำกลด ทำขารองบาตรเอง ( เป็น ช่าง ชอบ ทำเอง ) มีการทำความสะอาด บริเวณ ที่พัก ที่ฉัน ในช่วงบ่าย และ ช่วง เช้าก่อนออกรับบิณฑบาต การออกรับบิณฑบาต ที่ห่มผ้าสังฆาฏิซ้อนกับผ้าจีวร การล้างเท้าให้ครูบาอาจารย์ วิธีการรับอาหาร วิธีการฉันในบาตร การล้างบาตร มีลงปาฏิโมกข์ตลอดปี มีการปฏิบัติธรรม เป็น ช่วง ๆ มีโรงอบสมุนไพร การออกฝึกธุดงค์นอกสถานที่ ฯลฯ ................. .

พอ ได้ อ่าน และ ดู รูป ซึ่ง เป็น ภาพวาด ในหนังสือ ตามรอยโพธิญาณ แล้ว เข้าใจ ง่าย ก็ มี ความหวัง อยู่ใน ใจ ลึก ๆ ว่า เรา ควร จะ ฝึก แบบนี้ แต่ ก็ไม่ได้พูดให้ ใครฟัง .... เป็น หน้า ที่ ของ ครูบาอาจารย์ ที่จะต้อง ดู ว่า ศิษย์ จะ มี นิสัย โน้มเอียงไป ในทาง ใด ก็ ควร จะส่งเสริมในทางนั้น ๆ ที่ เป็น สัมมาทิฐิ

เริ่ม เข้า สู่ วัดกรรมฐาน วัดป่า

เมื่อ ตอน หัวค่ำ ของ วันที่ ๒๕ ธ.ค. พ.ศ. ๒๕๓๖

เริ่ม เข้า สู่ วัดกรรมฐาน วัดป่า เป็น วัดป่าสาย วัดหนองป่าพง สาขาที่ ๑๓ . . ที่ วัดป่าศรีมงคล บ้านเปือย ต. โนกาเล็น อ. สำโรง จ. อุบล มี หลวงพ่อ สี สิริญาโณ เป็นประธานสงฆ์ และ เป็น อาจารย์ กรรมฐานองค์ ที่สอง ที่ได้ สอน กรรมฐาน ให้ พระประสิทธิ์ ...... ..........

หลวงพ่อ แสวง พา เดินทาง ออกจาก วัดแดงหม้อ ไป ที่ วัดป่าศรีมงคล มี อดีตกำนัน สัมพันธ์ ชมพูพื้น หลานชาย หลวงพ่อแสวง เป็น ผู้ขับรถปิกอัพ สีขาว .. ให้ พระใหม่ นั่งหลัง .. พอ ไปถึง วัดป่าศรีมงคล ตอน หัวค่ำ ขณะที่ คณะสงฆ์ กำลัง รวมกันอยู่ ภายในศาลา หลัง จาก กราบคารวะ ทำสามีจิกรรม เรียบร้อย แล้ว ..

หลวงพ่อแสวง ท่าน ได้บอก กับ หลวงพ่อสี ว่า

“ จะ พา พระหลานชายมาฝาก กับหลวงพ่อสี เพื่อ เรียนกรรมฐาน ตั้งใจจะอยู่ต่อเป็น พระ แล้ว เพื่อ พ้นจากทุกข์ ”

( พึ่ง รู้ ว่า ตัว เอง เป็น หลานของท่านหลวงพ่อ แสวง .. ท่านพูดเอง …….. หลัง จาก นั้น พระ เณร ที่วัดป่าศรีมงคล ก็ได้ จัด ที่ พักให้ ทั้ง สอง องค์ ที่ กุฎี ทางทิศ ตะวันออก ของ ศาลา อยู่กุฎีคนละหลัง ตามปกติ พระกรรมฐาน พระวัดป่า จะ ไม่พัก อยู่ในกุฎีเดียวกัน .. หลวงพ่อแสวง ท่าน พักอยู่ ที่ วัดป่าศรีมงคล ต่อ อีก จน ถึง วันปีใหม่ วันที่ ๑ ม.ค. ๒๕๓๗ หลวงพ่อ แสวง กับพระประสิทธิ์ ก็ ได้ มีโอกาส ไปรับกิจนิมนต์ ฉัน ร่วม กับ หลวงพ่อสี ที่ บ้านโยม กับครูบาอาจารย์ จากวัดป่าสายวัดหนองป่าพง อีก หลายวัด แล้ว ท่านหลวงพ่อ แสวง ก็ได้กลับ มา ตั้ง วัดป่าดงใหญ่ แดงหม้อ ที่บริเวณ ดงใหญ่ หรือ ดงบ้านเก่าแดง ใน วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ที่บริเวณ ที่ ทำ เป็น สถานที่ เป็นจุด ที่ท่านเคย แขวนกลดครั้งแรก อยู่ ที่ ทิศตะวันออก ของ ที่จอดรถ

อยู่ ที่วัดป่าศรีมงคล กับ หลวงพ่อสี ท่าน จะพา ฝึกกรรมฐาน แบบที่ถูกต้อง ตามพระวินัย ไม่ถือเงิน ไม่ขุดดิน ไม่ตัดต้นไม้ ฉันมื้อเดียว ฉันอาสนะเดียว ฉันในบาตร ไม่ฉันนมตอนเย็น ใช้ผ้าสามผืน อยู่กลด ฝึก ทำวัตร สวดมนต์แปล นั่งสมาธิ วันละ ๓ ชั่วโมง ตื่น ตีสอง กว่า ๆ นอนประมาณ สี่ ถึง ห้า ทุ่ม วันพระ ไม่นอน ฟังธรรม มีความภูมิใจ กับ การได้เข้าวัดป่าฯ เพื่อ การพ้นจากทุกข์ เป็นครั้งแรก ....

จนถึง เย็น ของ วันที่ ๙ ม.ค. ๓๗ หลังทำวัตร ตอนเย็น หลวงพ่อ สี จึง เมตตา รับ พระประสิทธิ์ เข้าหมู่ เนื่อง จาก จะต้อง เดินทางไปปฏิบัติธรรม ที่ วัดหนองป่าพง ในช่วงวันที่ ๑๐ ถึง ๑๗ ม.ค. ๓๗ ท่านให้แสดงอาบัติ ทั้งหมด เป็นการ แสดงอาบัติ แบบใหม่กับพระ .. ที่ ขึ้นต้นด้วย อหัง ภันเต ฯ ไม่ใช่ แบบ สัพพา ตา ฯ ... จะ มีแสดง อาบัติ แยก ทีละข้อ คือ เริ่มจาก ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ทุกกฎ ทุพพาสิต แล้ว ท่าน ก็ให้ พระ เปลี่ยน บริขาร ให้ ทั้งหมด เหลือ ประคตเอว อันเดียว ที่ใช้ได้ บริขารที่เหลือ ก็ ส่งกลับ วัดแดงหม้อ ( บาง อย่างถูกต้องตามพระวินัย .... ที่ถูกต้อง คือ บริขาร ที่ ไม่ได้ ใช้ เงินซื้อ มา .. ไม่ได้ ใช้ผงซักฟอก ยาสระผม ที่พระ ซื้อมาด้วยเงินเอง แล้ว ซัก ล้าง สิ่งของ ด้วยผงซักฟอก เหล่านั้น .... ส่วน บริขาร บางอย่าง ไม่ถูกต้องตามพระวินัย ... ก็ ส่งคืนวัดเดิม ที่เคย อยู่ คือ วัดแดงหม้อ ให้ผู้อื่น ได้ใช้ .. ส่วน ที่ผิด พระวินัย จะต้อง สละทิ้งให้โยม หรือ สละสิ่งของที่ผิด เหล้านั้น ทิ้ง ด้วยการหลับตา โยนทิ้ง ตามพระวินัย )

เข้า ใจ เรื่อง สมาธิ เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ในช่วงวันที่ ๑๐ ถึง ๑๗ ม.ค. ๓๗ ข้อวัตร ที่วัดหนองป่าพง ในงานปฏิบัติธรรม ปกติ ก็ จะ

ตีระฆัง ตีสองสี่สิบห้า ตีสามทำวัตรเช้า แปล ตีสี่ นั่งสมาธิ ตีห้า ... พระภิกษุสามเณร ปะขาว ปัดกวาด ถู เตรียมอาสนะ กระโถน ที่ฉัน กรอกบาตร ซ้อนจีวรกับสังฆาฏิออกรับบิณฑบาต ส่วนโยม จะ โยมเดินจงกรม ในวัดประมาณหนึ่งชั่วโมง แปดโมงเช้า ฟังธรรม รับอาหาร พระภิกษุสามเณร ฉันในบาตร มื้อเดียว อาสนะเดียว โยมรับประทานอาหารครั้งเดียว ในกาละมัง มื้อเดียว พอสมควร ล้างบาตร ล้างกระโถน ล้างภาชนะ เก็บสิ่งของ ไม่ทิ้งขยะ ขวดน้ำเปล่า ถุงพลาสติก ในป่า ให้เก็บใส่ ถัง หรือ หลุมขยะ เก็บทำความสะอาด บริเวณที่หอฉัน พระเณร ฟังธรรม ที่ หอฉัน ห้าโมงเช้าเดินจงกรม บ่ายโมงครึ่ง นั่งสมาธิ บ่ายสองโมงฟังธรรม บ่ายสามโมงทำความสะอาด ฉันปานะ

ห้าโมงเย็น เดินจงกรม

หกโมงเย็น รวมนั่งสมาธิ หนึ่งทุ่ม ทำวัตรเย็น แปล ฟังธรรม จนถึง สี่ทุ่ม แล้ว ทำความเพียรตามอัธยาศัย หรือ บางราย ก็ จะ อยู่เนสัชชิก ไม่นอนตลอดคืน บางราย ของด รับประทานอาหาร พระบางรูป งดฉันอาหาร .. ในคืนวันสุดท้ายจะเทศน์ตลอดคืน ถือเนสิชชิก .. ทั้งพระ ทั้ง โยม จะทำข้อวัตร เหมือนกัน ยกเว้น โยม ไม่มี บิณฑบาต ไม่มีมีบาตร ใช้กาละมัง แทนบาตร ... อยู่ป่า อยู่กลด อยู่โคนไม้ รับประทานอาหาร ๑ ครั้ง ต่อ ๒๔ ชั่วโมง มีปานะ เลี้ยง เป็น เวลา ใน ช่วง เย็น ...

เวลา ประมาณ บ่ายโมง ห้าสิบนาที ๑๓.๕๐ น. ขณะ นั่งสมาธิ รวม ทั้ง พระภิกษุสามเณร ปะขาว โยม ที่ ศาลา บริเวณมุมอาสนสงฆ์ ขอบด้านซ้าย เมื่อหันหน้า เข้าหา พระพุทธรูป เป็นที่ ตั้ง โต๊ะหมู่ บูชา ในปัจจุบัน ใน วัดหนองป่าพง อ. วารินชำราบ จ. อุบลฯ ใน งานปฏิบัติธรรม + บรรจุอัฐิหลวงปู่ ชา เข้าเจดีย์ ภายใน วัดหนองป่าพง บริเวณ ที่นั่ง ในศาลา จะอยู่ ไม่ห่าง จาก ที่ตั้ง อัฐิ ของหลวงปู่ ชา ( ก่อน ที่ จะ อัญเชิญ ไป บรรจุ ในเจดีย์ ที่ทางทิศเหนือ ของ ศาลา ) บางครั้ง ยังได้ กลิ่น หอม ๆ อยู่ในขณะ ที่กำลังนั่งสมาธิ การฝึกสมาธิ ก็ใช้ การฝึก ที่หลวงปู่ชา ท่านสอน อานาปานสติ เป็นหลัก ในการฝึก สมาธิ

วิธีการ ฝึก คือ อยู่ ในที่สงบ ป่า หรือ ที่เงียบ ปราศจากบาป ใช้สติ เฝ้าดูลมหายใจ ที่กำลัง เข้า และ ใช้ สติ เฝ้าดูลมหายใจ กำลังออก ที่ปลายจมูก หรือ ใช้สติเฝ้า ดูลมหายใจ ที่กำลัง เข้า กำลัง ออก ที่ ริมฝีปากด้านบน หลับตาพอดี ๆ ไม่กดหนังตา ( อาจจะใช้สติ เฝ้าดู ลมหายใจ ที่กำลังเข้าออก ที่จุด อื่น ๆ ก็ได้ ) นั่งตัวตรง ไม่กด ไม่เกร็ง ที่ ทุก ๆ ส่วน ของร่างกาย ไม่เกร็ง ทางใจ หายใจ ตามปกติ ไม่เกร็ง ไม่อยาก ไม่หลับ ไม่สงสัย ....

บางครั้ง ก็ ใช้ คำท่อง ในใจ ว่า พุท เมื่อ กำลัง หายใจ เข้า ใช้ คำท่อง ว่า โธ เมื่อ กำลังหายใจ ออก ( การใช้สติ เฝ้าดู ลมหายใจ ที่ กำลังเข้า กำลังออก คือ อาณาปานสติ .......... การท่อง ว่า พุท และ โธ คือ พุทธานุสติ ...... ทั้ง อาณาปานสติ และ พุทธานุสติ ต่างก็เป็น วิธีการ ฝึก กรรมฐาน ฝึกสมาธิ จาก ทั้ง หมด ประมาณ ๓๘ – ๔๐ วิธี ............ ดู รายละเอียด ในการฝึกสมาธิ ใน ช่วง การ ฝึกสมาธิ

แก้กลัวผี

หน้าแล้ง ปี ๒๕๓๗ วันที่ ๑๖ ม.ค. หลัง กลับ มาจากงานปฏิบัติธรรม ที่ วัดหนองป่าพง มาภาวนา อยู่ที่ วัดป่าศรีมงคล หลวงพ่อ สี ท่านบอกให้ พระประสิทธิ์

( ปัจจุบัน หลวงพ่อ สี ท่าน จะ เรียก ชื่อ พระประสิทธิ์ ว่า “ คุณต้อย ” บางที ก็ เรียก “ อาจารย์ประสิทธิ์ ” ( คุณ เป็น สรรพนาม ที่พระ ที่ มีพรรษามาก ใช้เรียก นำหน้าชื่อ พระ ที่ มีพรรษา น้อย ... บาง ที่ ก็ ใช้ คำว่า คุณ คำเดียว ไม่มีชื่อต่อท้าย หรือบางที ก็ใช้ คำว่า ท่าน นำหน้า ชื่อ หรือ เรียก ท่าน คำเดียว ไม่มีชื่อต่อท้าย แทนคำว่า คุณ ก็มี ...... ส่วน พระ ที่ มี พรรษา น้อย จะ ใช้ คำว่า “ ท่าน ” คำเดียว ( ไม่ใช้ คำว่า คุณ แต่ อาจจะ ใช้ คำว่า อาจารย์ หรือ ครูบาอาจารย์ ) เพื่อ ใช้ เรียกนำหน้า ชื่อ ของพระ ที่มีพรรษามากกว่า ตัวเอง ) ที่ จริง ชื่อ ต่อย เป็น ชื่อเล่น มา ตั้ง แต่เกิด .. พอ ไป อยู่ ที่วัดป่านานาชาติ ครูบาอาจารย์ พระชาว ต่างชาติ ทุกท่าน ก็ เรียก ว่า “ ท่านต้อย ” พอ มาอยู่กับ หลวงพ่อสี ใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ก็ เลย มี ชื่อ ว่า คุณต้อย ไป )

ไป แขวนกลด ภาวนา อยู่ ที่ ป่าช้า ที่เผาศพ ที่ฝังศพ ของ วัดป่าศรีมงคล ไปคนเดียว จน ได้ เจอ ผี ..... จน หายกลัวผี? โดย ไม่ต้อง อาศัย พระ .... แต่ ก็ ต้อง ผ่านการ อาศัยพระ มาก่อน .

เพราะ ว่า ใช้วิธี จ้อง เข้ามาดู ที่ จิต ตัวเอง จึง ค่อย ๆ หาย กลัวผี ไม่ต้อง จ้อง ออกไปมอง หาผี ที่ข้างนอก เพราะว่า ตอนนั้น มี ศพผู้หญิง มาเผา ที่ ป่าช้า วัดป่าศรีมงคล ด้วย ... ตาม ที่ เคย มองหาผี ที่ข้างนอก รอบ ๆ ตัวเอง มองหา ผี ข้างนอก ที่บริเวณกองไฟ ที่เผาศพ ตาม ที่เคย ทำมา แต่ก่อน ทำให้กลัวผี

หนาว

.... ได้ นั่งฝึก สมาธิ ที่ศาลา วัดป่าศรีมงคล ตอน ตี สาม ถึง ตี ๕ ทุก วัน .. มีอยู่ ก่อน ตี สี่ ของ วัน หนึ่ง ได้เกิด อาการ หนาว จน ต้อง สะอึก สะอื้น ร้องให้

สาเหตุ เกิด จาก การฝึกสมาธิ อย่างต่อ เนื่อง หลัง จากที่ได้ กลับ จาก วัดหนองป่าพง แล้ว ได้ฝึก เพ่ง นิมิต เพ่ง ดู เทวดา มากเกินไป จน หลวงพ่อ สี ท่าน บอกให้ “ ถอยออกมา ถอยออกมา ”

อาการ หนาว อาจจะเกิดจาก นั่ง สมาธิ ที่พื้นหินขัด มีผ้านิสีทนะ ผืนเดียว รองนั่ง อีกส่วนหนึ่ง .... แต่ ไม่เคย เกิด อาการ ที่ หนาว จน ร้องให้ ในขณะ ที่นั่ง สมาธิ แบบ นี้ มีครั้งเดียว นับตั้งแต่ บวช ตลอด จน ถึง ปัจจุบัน ปี ๒๕๕๙ .. หลวงพ่อ สี ท่าน บอกว่า ต่อไป นี้ ถ้า พระ เณร องค์ ใด ใคร หนาว ก็ อาจจะ เอา เสื่อที่ทำด้วยหญ้า ( ไม่ใช่ ใช้ เสื่อ ที่ ยัดนุ่น มารองนั่ง เพราะว่า จะ ทำให้ พระ ผิดพระวินัย เรื่อง ห้าม พระนั่ง นุ่น สำลี ) มา รอง ปู ก่อน จะ ปู ผ้านิสีทนะ ทับ แล้ว จึง นั่ง สมาธิ ในหน้า หนาว ป้องกัน หนาวจนสั่น .. ส่วน หน้า ร้อน หน้า ฝน จะ ไม่มีปัญหา ในเรื่อง หนาว

การฝึกกรรมฐาน ต่อมา ราบรื่น ดี ... . ... นอกจากนั้น ก็ ทำหน้าที่ ตีระฆัง ทำวัตร สวดมนต์ ฝึกสมาธิ ฟังธรรม ทำข้อวัตร ปัดกวาด เช็ดถู ดูแลกุฎีครูบาอาจารย์ ศาลา โบสถ์ ฝึก สรงน้ำ ซักไตรจีวร ย่าม ผ้าปูนั่ง ( ผ้านิสีทนะ ) ซักด้วย น้ำร้อนต้มกับแก่นขนุน ฝึกกรรมฐาน ฝึกอุปัฏฐาก ช่วยเหลือทุกอย่าง

ได้ฝึก อดอาหาร เพื่อเร่งความเพียร ๖ วัน รวด จะไม่ ฉัน อาหาร ยกเว้น ปานะ มี สมอ มะขามป้อม กาแฟ น้ำตาล .... บางวัน ก็ มี น้ำผึ้ง แต่ ไม่บ่อย ปี ละ ไม่กี่ครั้ง

พรรษา ที่สอง ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ จำพรรษา ที่ วัดป่าโนนเก่า ( สาขาที่ ๑๐๓ ของวัดหนองป่าพง ) บ้านโนนเก่า ต. ก่อเอ้ อ. เขื่องใน จ. อุบลราชธานี ประธานสงฆ์ คือ อาจารย์ จำลอง กัลยาโณ เป็นสาขา ที่ เป็นลูกศิษย์ ของ หลวงพ่อจันทร์ อินทะวีโร วัดป่าบึงเขาหลวง ( สาขาที่ ๒ ของวัดหนองป่าพง ) บ้านกลางใหญ่ ต. กลางใหญ่ อ. เขื่องใน จ. อุบลฯ …

ใน พรรษา ที่ ๑ ของ การ จำพรรษา ใน วัดป่าสายหนองป่าพง นี้ ได้

เรียนปาฏิโมกข์ + นักธรรมโท

+ เรียน บาลีไวยกรณ์ ( ที่วัด ยางน้อย อยู่ติดริม ถนนแจ้งสนิท ฝั่งทิศเหนือ บ้านยางน้อย อ. เขื่องใน จ. อุบล ซึ่ง อยู่ห่างจาก วัดป่าโนนเก่า ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ ๑ กิโลเมตร กว่า ๆ ... ใน ช่วง แรก หลัง เดือน ๖ พักค้างคืนกับ ท่าน อาจารย์มหามงคล ผู้ เป็นอาจารย์สอน บาลี เรียนบาลี ที่วัดยางน้อย ........................................ ข้อวัตร ส่วนตัว คือ ฉันในบาตร ไม่จับเงิน ตื่นตีสาม นั่งสมาธิ ก่อนทำวัตรเย็น ๑ ชั่วโมง แล้ว ทำวัตรเย็น .. เช้า ประมาณ ตีสาม ๐๓.๐๐ น. นั่งสมาธิ ๑ ชั่วโมง แล้ว ทำวัตร เช้า ตอน ตีสี่ ได้ เรียน สวดมนต์บท พิเศษ เช่น แผ่ เมตตา ที่กล่าว ถึง กำเนิด ๔ ...................... ( อาจารย์มหามงคล ปัจจุบัน เป็นเจ้าคุณ ( ฝ่ายวิปัสสนา ) มีสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ “ พระภาวนาวชิรวิเทศ วิ.” ( มงคล มงฺคโล น.ธ. เอก ป.ธ.๕ ป.วค. พธ.บ. M.A. Linguistics ) วัดนวมินทรราชูทิศ เฉลิมพระเกียรติ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ อยู่ที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ..

ส่วน ท่าน เจ้าอาวาสวัดยางน้อย ในสมัยนั้น คือ หลวงพ่อ ศรี ปัจจุบัน ท่าน เป็น เจ้าคณะอำเภอเขื่องใน เป็นเจ้าคุณ ( พระราชาคณะชั้นสามัญ ) ที่ พระรัตนวิมล วิทยฐานะ ป.ธ. ๗ พธ.บ. พ.ม. วัดยางน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ..

ท่าน เจ้าอาวาส และ ท่านเจ้าคุณ ประสิทธิ์ ( หรือ ท่าน พระพรหมวชิรญาณ ฉายา เขมงฺกโร นามสกุล สุทธิพันธุ์ วิทยฐานะ ป.ธ. ๓, น.ธ. เอก พธ.ด. ( กิตติมศักดิ์ ) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เจ้าอาวาสวัดยานนาวา กทม. แต่ก่อน ท่านอยู่วัดจักรวรรดิ ( วัดสามปลื้ม ) กทม. ผู้อุปถัมภ์ วัดยางน้อย ) ...

ท่าน ทั้งสอง ได้ เคย พูด เปรย ๆ กับ พระประสิทธิ์ ซึ่ง ตอน นั้น บวช มา ยังไม่ถึง สองพรรษา ว่า จะหา พระ มาสอน วิปัสสนา ที่วัดยางน้อย ( ก็ เลย ไม่กล้า รับ .. และกราบเรียน ขอโอกาสจากท่าน ว่า จะ ขอกกรรมฐาน ไป ก่อน )

บางครั้ง ทาง วัดยางน้อย ก็ ส่ง สามเณร มาให้ พระประสิทธิ์ ฝึก ที่ชั้น สาม ของ ศาลาหลังใหญ่ ประมาณ สี่ ห้า สามเณร เคย พาสามเณร ไป ฝึก อยู่ป่าช้า ของ บ้านยางน้อย ทางทิศตะวันออก ติดถนนแจ้งสนิท ฝั่งทิศใต้ ) ...

ต่อมา ถึงวัน เข้าพรรษา จึง ต้อง กลับ มา จำพรรษา ที่ วัดป่าโนนเก่า จะเดิน ไป เรียนที่วัดยางน้อย ในตอน เช้า โดย ไปบิณฑบาต ที่ บ้านโนนเก่า ฉันตกบาตร คือ ไป บิณฑบาต ได้ เท่า ไหร่ ก็ฉันเพียง เท่านั้น ไม่รับอาหาร ที่โยม นำอาหาร ตามมาส่ง ภาย ใน วัด อีก บางที่ ถ้า ไม่ได้ กับ ได้ แต่ ข้าวเหนียว เปล่า ๆ .... ก็มี บางวัน ที่ มีอาหาร อาจารย์ จำลอง ท่าน จะ จัดอาหาร ( กับ ) จากบาตร ของ ท่าน มาใส่ ในบาตร ให้ เพราะว่า ท่าน เดิน นำหน้า จะ มีโยม ใส่ อาหาร มาก กว่า พระ ที่เดิน ตามหลัง .. แล้ว ก็ เดินต่อไป หาที่ ฉันในบาตร ที่ ป่า หรือ ตามเถียงนา ระหว่างทาง พอ ตอนเย็น เลิก เรียน บาลี จาก วัดยางน้อย ก็ เดินกลับ ไป วัดป่าโนนเก่า ระยะทาง ประมาณ ๑ กิโลเมตร กว่า ๆ มาทำข้อวัตร ที่ วัดป่าโนนเก่า เช่น การปัดกวาด เช็ด ถู

+ เรียน บุพพสิกขาวรรณณา .. อดอาหาร และ น้ำ รอบ ที่สอง

ได้ฝึก อดอาหาร และ น้ำ เพื่อเร่งความเพียร ใน สามวัน แรก ไม่ ฉันทั้งน้ำ และอาหาร ส่วน วัน ที่ ๔ ถึง วันที่ ๗ ฉัน น้ำ อย่างเดียว ไม่ฉันอาหาร +

ได้ สัตตาหะ ไป อุปัฏฐาก ศึกษาพระธรรมวินัย กับท่าน หลวงพ่อจันทร์ ที่ วัดป่าขึงเขาหลวง ใน พรรษา ด้วย ๗ วัน ........ นอกจากนั้น ก็ ได้ ฝึก ทำวัตร สวดมนต์ ฝึกสมาธิ ฟังธรรม ทำข้อวัตร ปัดกวาด เช็ดถู ดูแลกุฎีครูบาอาจารย์ ศาลา โบสถ์ ฝึก สรงน้ำ ซักไตรจีวร ย่าม ผ้าปูนั่ง ( ผ้านิสีทนะ ) ซักด้วย น้ำต้มกับแก่นขนุน ฝึกกรรมฐาน ฝึกอุปัฏฐาก ช่วยเหลือทุกอย่าง ... ฝึกไปอยู่ ที่ นอกวัด คนเดียว ห่างประมาณ ๕๐๐ เมตร คน เดียว ที่โนนชฎา อยู่ทางทิศตะวันเหนือ ของวัดป่าโนนเก่า เพื่อฝึก ฉันอาสนะเดียว ให้เติม ๑๐๐ ฝึก ตื่น แล้ว มาให้ ทัน เพื่อน ๆ ที่ศาลาวัดป่าโนนเก่า

อุปัฏฐากครูบาอาจารย์ ที่ป่วย

ช่วงประมาณ วันที่ ๑๐ ถึง ๑๗ มกราคม ๒๕๓๘ หลังจาก เสร็จ งานปฏิบัติธรรม ที่วัดหนองป่าพง ๑๗ ม.ค. ๓๘ ก็ ได้ขอเข้า อุปัฏฐาก หลวงพ่อจันทร์ อินทะวีโร เจ้าอาวาส วัดป่าบึงเขาหลวง ซึ่ง ท่าน ได้ มาพัก ที่ กุฎีพยาบาล ภายใน วัดหนองป่าพง ... คณะศิษย์ ได้เข้า ดูแลหลวงพ่อจันทร์ ร่วมกับ ครูบาอาจารย์ สามเณร อื่น ๆ หลาย ท่าน หลายองค์ แล้ว หลวงพ่อ จันทร์ พากลับ ไป ที่ วัดป่าบึงเขาหลวง พักที่ กุฎี ด้านทิศใต้โบสถ์ แล้ว ต่อมา คณะศิษย์ ก็ ได้นิมนต์ หลวงพ่อ จันทร์ เข้า โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ เนื่องจาก ท่านมีอาการ ปวดที่ท้องที่รุนแรงมาก ในช่วง แรกหลายชั่งโมง แรก ๆ หลวงพ่อจะ ยัง ไม่ไป รับนิมนต์ โรงพยาบาล ท่าน บอกว่า ดูก่อน ... หลวงพ่อจันทร์ พักรักษา ตัว ที่ ห้องพักผู้ป่วยธรรมดาภายใน โรงพยาบาลใหญ่ ( รพ. สรรพสิทธิ์ ฯ ) ต่อมา ย้ายไปพักที่ ที่ตึกสงฆ์อาพาธเดิม ( ปัจจุบัน คือ ตึกหลวงปู่ชา ) ต่อมา ย้าย เข้าห้อง ไอซียู. จนถึงวันที่ ท่าน มรณภาพ ใน วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๓๘ เวลา ๐๒.๐๙ น. ใน วันนั้น มี อาจารย์เทพทิวา มีพระประสิทธิ์ สามเณรอีก ๑ รูป และ โยมบาง คน ที่คอยดูแล หลวงพ่อจันทร์ อยู่ประจำ และ ครูบาอาจารย์ ที่ อยู่ วัดป่าบึงเขาหลวง ก็ มาดูแล ส่งเสบียง ปานะ ทุกวัน .. แล้ว ก็ ยังมีครูบาอาจารย์ โยม จากวัดสาขา วัดอื่น ๆ มา ร่วม อีก หลายองค์ เช่น อ. ทอง .... อ. โพธิปาโล .. ……………

หลัง จัดงาน บำเพ็ญ กุศล จัดปฏิบัติธรรม ที่ วัดป่าบึงเขา ๗ วัน มี คณะสงฆ์ ญาติโยม มาร่วม มากมาย ทั้งพระภิกษุ สามเณร ชี ชาบ้าน และ คณะสงฆ์ สาขา วัดหนองป่าพง ได้ประชุม ตกลง กันว่า จะ

จัดพระราชทานเพลิง ประชุมเพลิง หลวงพ่อ จันทร์ อินทะวิโร ในวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๙

โดย จะ จัดสร้าง สถานที่ คือ พิพิธภัณฑ์กลางน้ำ เพื่อ เป็นบริเวณ ที่ จัดประชุมเพลิง

แล้วพระประสิทธิ์ ก็ อยู่ ที่ วัดป่าบึงเขาหลวง ช่วย งานสงฆ์ต่อมา ... ไป รับ วัดป่าภูเม็งทอง อ. ภูเรือ จังหวัดขอนแก่น เข้าเป็น วัดสาขาของ วัดหนองป่าพง ร่วมกับ ครูบาอาจารย์ หลายรูป แล้ว ก็ กลับ ไป มา ระหว่าง วัดป่าบึงเขาหลวง กับ วัดสาขาของหลวงพ่อจันทร์ หลายวัด แต่ จะ อยู่ประจำที่ วัดป่าโนนเก่า ..................

บางครั้ง ก็ไป อุปัฏฐากครูบาอาจารย์ เช่น หลวงปู่ เสียง ที่ โรงพยาบาลใหญ่ บางช่วง ก็ ไป อุปัฏฐาก พระ ที่ป่วยเข้าโรงพยาบาล อีก

ก่อน จะ เข้า วัดป่านานาชาติ ใน วัน แรม ๒ ค่ำ เดือน ๘ วันที่ ๑๓ ก.ค. ๒๕๓๘ เวลา ก่อน จะ เที่ยง โดย อาจารย์ จำลอง พาไป ฝาก กับ อาจารย์ชยสาโร เพื่อ ไป ช่วย ทำหนังสือประวัติ หลวงพ่อจันทร์ ก็ ยัง มี ข้อมูล ที่ ได้ มีโอกาส เรียบเรียง ช่วย ครูบาอาจารย์ อยู่ ในช่วงท้าย สุด ที่ เขียน ว่า ด้วย เหตุการณ์ ในห้อง ไอซียู ในวันสุดท้าย ก่อนที่ หลวงพ่อจันทร์จะ มรณภาพ ใน วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๓๘ เวลา ๐๒.๐๙ น. ในหนังสือ ประวัติ หลวงพ่อจันทร์วัดบึง

พรรษาที่ สาม ปี พ. ศ. ๒๕๓๘ จำพรรษา ที่ วัดป่านานาชาติ ( สาขาที่ ๑๙ ของวัดหนองป่าพง ) บ้านบุ่งหวาย ต. บุ่งหวาย อ. วารินชำราบ จ. อุบล ฯ มี อาจารย์ ฌอน ชยสาโร เป็น ประธานสงฆ์ ท่านเคร่งครัด ใน เรื่อง ประเพณี ข้อวัตร ระเบียบ ศีล สมาธิ ปัญญา นิพพาน .. พูดภาษาไทยได้ ชัดเจน ชอบวิเวก ถือธุดงค์

ท่าน อาจารย์ ชยสาโร มีนามเดิมว่า ฌอน ชิเวอร์ตัน ( อังกฤษ : Shaun Chiverton ) ท่านเกิด วันที่ ๗ มกราคม เมื่อ ..... ๒๕๐๑ ที่ ประเทศอังกฤษ ท่านบวช เมื่อ ปี ๒๕๒๓ ปัจจุบัน พระอาจารย์ชยสาโร พำนักอยู่ ณ สถานพำนักสงฆ์บ้านไร่ทอสี อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

ในพรรษา นี้ มา เข้าพรรษาหลัง เพราะ ว่า มา ใน วันแรม ๒ ค่ำ เดือน ๘ ช้า ไป ๑ วัน จึง ต้อง อธิฐาน จำพรรษา หลัง และ จะอธิฐาน ออกพรรษา ช้า กว่า คณะสงฆ์ ๑ เดือน ... ได้ ฝึกกรรมฐาน อย่างหนัก .... ได้ รู้ ว่า ตัวเอง เป็น พระ ระดับ ไหน? ( ตาม พระไตรปิฎก ก็ ว่า โสดาบัน สกิทาคามี ) คือ มี คำถาม ถาม ในใจ แบบ ที่ไม่เคย เป็นมาก่อน ในขณะที่กำลัง สะพายบาตร จีวรบนบ่า เดินมาจาก กุฎี ๒๖ ที่อยู่จำพรรษา ช่วง หลัง จาก ตีระฆัง ตอน เช้า ประมาณ ก่อน ตีสาม เพื่อ จะ มา นั่งสมาธิ ๑ ชั่วโมง ก่อน ทำวัตร เช้า ที่ศาลานอก เดินมา ก่อนจะ ถึง ศาลา นอก แล้ว คิดว่า

“ เอ จะ มี หรือ ไม่ ที่ ได้เป็น อริยะ เช่น โสดาบัน สกิทาคามี แล้ว ไม่รู้ตัว ”

ในพรรษา นี้ ฝึก เนสัชชิก ฝึกทำวัตร เป็นภาษาอังกฤษ ฟังธรรม ได้ อดอาหาร ไป ประมาณ ๒๔ วัน มีอดติดต่อกัน ๓ วัน บ้าง สี่วัน บ้าง ๑ วัน บ้าง ..... ช่วง ท้าย ของ พรรษา ที่ วัดป่านานาชาติ มี อาจารย์ ปสันโน มาช่วย ที่วัดป่านานาชาติ ... ท่าน อาจารย์ ปสันโน ปลีกตัวไป วิเวก จำพรรษา ที่ สำนักสงฆ์ เต่าดำ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ .. ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ท่านอาจารย์ ปสันโน จำพรรษาที่ วัดป่านานาชาติ ...

ช่วงท้ายปีเก่า ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึง ต้นปีใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มีการจัดปฏิบัติธรรม ( Retreat = รีทรีต ) ที่ วัดป่านานาชาติ มีท่าน หลวงพ่อ สุเมโธ เป็น ประธาน มี พระภิกษุ สามเณร ชี ญาติ โยม ทั้ง ชาว ไทย และ ชาว ต่างประเทศ เข้าร่วม มาก มาก

แล้ว ได้ เดิน ทาง ไปร่วมงาน พระราชทานเพลิงศพ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ที่วัดหินหมากเป้ง จังหวัด หนองคาย ในวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙ อาศัยรถตู้ ของวัดป่านานาชาติ เดินทาง ระว่าง ทาง จาก วัดป่านานาชาติ อ. วารินชำราบ จังหวัดอุบล เมื่อหลังฉันวันที่ ๖ ม.ค. ไป ที่ จ. หนอง คาย ได้มีโอกาส แวะ กราบคารวะครูบาอาจารย์ ที่ พระชาวต่างประเทศเคยไป อยู่ศึกษาธรรม จำพรรษา ด้วย เช่น แวะ ไป กราบ หลวงปู่อุ่น วัดป่าแก้วชุมพล พักค้างคืน กับท่าน ๑ คืน ตอนเย็นฟังธรรม ตอนเช้า กราบลาท่าน เช้า วันที่ ๗ ม.ค. ๓๙ ไปบิณฑบาต ใน ตัว เมืองอุดร แล้ว ไป ฉันเช้า ที่ วัดป่าบ้านตาด อ. เมือง จ. อุดรธานี ในวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้พบ กับ อาจารย์ โสภา สุมะโน ตอนนั้น ท่านทำหน้าที่ เป็น พระ ที่ศาลานอก ท่านนิมนต์ให้ ฉัน ที่วัดป่าบ้านตาดให้ได้ เนื่อง จาก ไป ช้า จึง ไม่มีที่ ฉันบนศาลา ชั้นสอง .. ตกลง จัดที่ฉันในป่า ข้าง ๆ ศาลา แต่ อาหาร มากมาย ฉันเสร็จ ได้มีโอกาส กราบฟังธรรมบนศาลาชั้นสอง หลวงปู่มหาบัว ท่าน เทศน์ ดี แล้วคณะสงฆ์วัดป่านานาชาติ ได้ กราบ ถวายรูป หลวงปู่มั่น แด่ องค์หลวงปู่ มหาบัว ท่าน บอกว่า .. ให้ วาง ที่สูง ๆ นะ รูป หลวงปู่มั่น นี้ .. ...

แล้ว ได้ มีโอกาส แวะไปกราบฟังธรรม หลวงปู่จันทร์เรียน คูณะวะโร วัดถ้ำสหาย วัดป่าทับกุง ( วัดถ้ำสหายธรรมจันทร์นิมิต ) หมู่ที่ ๓ ต. ทับกุง อ. หนองแสง จ. อุดรธานี ท่านเทศน์น่าฟัง ท่าน ให้ โยม เอา ปานะ ลักษณะ เป็น น้ำแข็ง หัวสีแดง ๆ มา เลี้ยง พระ

ต่อจากนั้น ได้ ไปฟังธรรม วัดหลวงปู่ลี กุสลธโร วัดเกษรศิลคุณธรรมเจดีย์ ( วัดภูผาแดง ) ต. หนองอ้อ อ. หนองวัวซอ จ. อุดรธานี ท่านบอกว่า ให้ ทำจริง ๆ ภาวนา นะ ไม่นาน ต้องสำเร็จ ท่านเลี้ยงปานะ ที่ โรงน้ำร้อน ด้วย ( ปัจจุบัน หลวงปู่ลี เป็นลูกศิษย์ หลวงปู่มหาบัว ท่าน มีพรรษามาก เป็นพระที่ได้ภาวนา ปฏิบัติ ถึง ที่สุดในพระพุทธศาสนาแล้ว ได้เคย ไป กราบเรียนถาม ปัญหาธรรม เกี่ยวกับ ภาวนา กับท่าน ที่ วัดหลวงปู่เจี๊ยะ ที จ. ปทุมธานี ใน ปี ๒๕๔๔ แล้ว ถามท่านอีก ที่ เขื่อนสิรินธร ( มี เสียง บันทึกไว้ ) อีก แล้ว ถาม ที่วัดป่าบ้านตาด อีก แล้ว สุดท้ายไป ถาม เรื่องภาวนา กับ ท่าน ที่ วัดภูผาแดง ใน ครั้ง สุดท้าย นี้ ท่าน จะ เงียบ ท่าน ไม่ตอบ แต่ ถาม อย่างอื่น เรื่องอื่น ท่าน จะ ตอบปกติ )

แล้ว ก็ ไป พักค้างคืน ฟังธรรม ถึง ตีหนึ่ง ที่ วัดหินหมากเป้ง จังหวัดหนองคาย ในวันต่อมา วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ร่วม งานพระราชทานเพลิงศพ หลวงปู่ เทสก์ เทสรังสี ได้ นั่ง ห่างจากหลวงปู่ มหาบัว ไม่ถึง สองวา .. มี พระสงฆ์ สามเณร ชี ประชาชน ไปร่วม มากมาย ในหลวง พระราชินี พร้อม ราชวงษ์ เดิน ทาง ไปร่วมงาน โดย เฮลิคอปเตอร์ จำนวน ๘ ลำ ในวันที่ ๘ มกราคม ปี ๒๕๓๙ นั้น หลวงปู่ชอบ ฐานะสะโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ บ้านโคกมน ตำบลผาน้อย อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ก็ ได้ ละสังขาร ด้วย

.................................................................................................................................................

การศึกษาพระธรรมวินัย ธรรม กรรมฐาน

การฝึก ใน เรื่อง ศีล

๑. เรื่อง ศีล ก็ได้พยายามฝึก หัดรักษาศีล ทุกข้อ ตาม ในพระปาฏิโมกข์ ทุกข้อ เช่น ไม่จับเงิน ไม่ซื้อขาย แลกเปลี่ยนด้วยเงิน ทอง ไม่ขุดดิน ไม่ฟันต้นไม้ ไม่เรี่ยไร ไม่ฉัน นม โอวันตีน ไมโล อาหารเสริม นมส้ม โยเกิต และ อื่นๆ ที่ จัดว่าเป็น อาหารในตอนเย็น และ ศีลนอกปาฏิโมกข์ ก็ พยายามรักษาสุดชีวิต พยายามเป็นผู้ที่รักศีล รักระเบียบมาก

ฝึกถือธุดงค์

นอกจากนั้น ก็ได้พยายาม ๑๓ เพิ่มเติม เพื่อฆ่ากิเลส เช่น ( ไม่ได้ เรียงตาม ลำดับ ) ๑. การฉันมื้อเดียว ๒. การฉันที่อาสนะเดียว เมื่อลุกแล้วไม่ฉันอีก ๓. การฉันในภาชนะเดียว ( ปิดฝาบาตร ขณะให้พร ) ... ๓ ข้อ แรก จะเป็น การควบคุม เรื่องอาหาร เรื่อง แก้ตัณหาทางลิ้น .. ๔. การอยู่ป่า ๕. การอยู่ป่าช้า ๖. การอยู่ใต้ร่มไม้ อยู่โคนไม้ ๗. การอยู่ที่แจ้ง ๘. การอยู่ตาม ที่ท่านจัดที่อยู่ให้ ... ข้อที่ ๔ – ข้อที่ ๘ จะเป็นการฝึก อยู่ง่าย สันโดษ เรื่อง ที่อยู่อาศัย กุฎี ( ที่พัก บ้าน ) ... ๙. การใช้ผ้า ๓ ผืน ๑๐. การใช้ผ้าบังสุกุล ... ข้อที่ ๙ – เป็นการ ๑๐ ฝึกให้ ไม่ยึดติดในเรื่อง เครื่องนุ่งห่ม ... ๑๑. การบิณฑบาตทุกวัน ถ้าไม่ออกบิณฑบาต ก็จะไม่ฉัน ยกเว้น ป่วย หรือ มีเหตุ ๑๒. การบิณฑบาตตามลำดับ …ข้อ ที่ ๑๑ – ๑๒ จะ เป็นการฝึก เรื่อง การรับผิดชอบเรื่องอาหาร เรื่อง แก้ตัณหาทางลิ้น … ๑๓. การถือไม่นอนในวันพระ หรือในบางโอกาส ข้อ ที่ ๑๓ นี้ เป็นการ ฝึก ให้ มีความขยัน หมั่นเพียร ......

เคยลอง อดนอนติดต่อกัน ๖ วัน และได้ทดลองอดอาหารบ้าง เช่น อดติดต่อกันรวดเดียว ๗ วัน บ้าง มีครั้งหนึ่งที่ได้ทดลอง อดน้ำ พร้อมกับ อด อาหาร ๓ วันรวด และต่อจากนั้นได้ฉันน้ำอย่างเดียว แต่ยังอดอาหารต่อไป จนครบ ๗ วัน ถ้าจะ นับๆ ถึงปัจจุบัน ก็เคยอดอาหารมาแล้ว ประมาณ ๗๙ วัน เท่าที่นับได้ ส่วนที่นับไม่ได้ ไม่นับ ประมาณ ๘๘ วัน ( ถึง ๑๕ ม.ค. พ.ศ. ๒๕๕๙ )

ในเรื่อง การถือธุดงค์ นั้น ถ้า ในฤดูหน้าแล้ง บางช่วง ก็จะ ถือได้เกือบ แทบจะครบ ทั้ง ๑๓ ข้อเลย

ฝึก ถือวัตร ๑๔ เพิ่ม อีก

อีกทั้งในเรื่อง วัตรทั้ง ๑๔ อีกเล่า ก็ มีการช่วยเหลือคณะสงฆ์ ครูบาอาจารย์ ทำกิจวัตร ปัดกวาด เช็ด ถู การต้อนรับ กราบไหว้ รับบาตร จีวร ถวายน้ำดื่ม น้ำใช้ ล้างเท้า การกราบ ไหว้กันตามพรรษา ( อายุปีที่บวช… ผู้ที่บวช ทีหลัง จะต้องกราบ ผู้ที่บวชก่อน ) การ แจ้งกฎ กติกา ระเบียบ ประเพณี ให้ผู้ที่มาใหม่ได้ทราบ ….. การหาสถานที่อยู่ให้แก่ผู้ที่มาเยือน ทั้งที่เป็นพระภิกษุ สามเณร และที่เป็นโยมมาเยี่ยม มาพัก ให้ได้พัก ได้อาศัย หาน้ำดื่ม จอกน้ำ น้ำใช้ กระโถน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม ( ยกเว้น ผ้า หรือ บางสิ่งที่ สมาทาน ไม่ใช้ ) เทียน ไม้ขีด ไฟฉาย ยารักษาโรค เทียนสำหรับจุดให้แสงสว่าง สำหรับ ฝึกสมาธิ เดินจงกรม จัดห้องพัก ที่แขวนกลด บอกห้องน้ำ ว่าอยู่ที่ไหน ชาย หญิง ห้องน้ำของพระ ของโยมอยู่ที่ไหน ทิศไหน ก็บอก? แจ้งกฎ กติกา ระเบียบ ประเพณี ให้แก่ผู้ที่จะมาพัก ให้โยมทราบ…. ๑ การไปที่วัดอื่น บ้านอื่น จะทำตัวอย่างไร ? หลักการ เมื่อเราอยู่ในวัด ในที่พัก ในบ้านท่านแล้ว เราจะดูแล ที่อยู่ สิ่งของ ให้สะอาด เรียบร้อย ไม่รก รุงรัง ปัดกวาด ปิดประตู หน้าต่าง ลั่นกุญแจ หรือไม่ ? คว่ำถัง คืนสิ่งของ คืนกุฎี กล่าวลา กล่าว ขอบคุณ แด่ เจ้าของสถานที่อย่างไร? … ๑ เรื่องทำความสะอาดสถานที่อยู่ บริเวณ ศาลา โบสถ์ ลานวัด ฯลฯ ก็ได้ทำในตอนเวลาประมาณบ่ายสามโมงเย็น และทำในตอนหลังทำวัตรเช้า ทุกวัน….. ๑ การล้างบาตร ซัก จีวร อุปัฏฐากช่วยเหลือครูบาอาจารย์ หรือพระอุปัชฌาย์ ทำความสะอาดสถานที่อยู่ กุฏิ ห้องน้ำ ส้วม ศาลา โบสถ์ ที่พระอาจารย์ หรือสถานที่พระอุปัชฌาย์ท่านอยู่ประจำ … นี่มีแยกเป็น ๒ คือทำให้พระอุปัชฌาย์ ๑ และทำให้พระอาจารย์ เจ้าอาวาส อีก ๑ ….. วิธีการทำตัว ปฏิบัติตัวในโรงฉัน หรือโรงอาหาร… ๑ วิธีการเข้าบ้าน เช่น ไปบิณฑบาต ไปฉันในบ้าน … ๑ การให้พร การอนุโมทนา ยถา สัพพี ฯ + การ ให้กำลังใจ บอกธรรม ให้ญาติโยม เข้าใจ ฯลฯ … ๑ วิธีการอยู่ป่าที่จะต้องศึกษาเรื่องดวงดาว ทิศทาง ฤดู ภูมิศาสตร์… ๑ การใช้ห้องอบกาย ที่เติมยาสมุนไพร หรือ สปา เพื่อรักษาโรค ที่เสนอโดยหมอชีวกโสดาบัน นี่ก็เคยทำมาในฤดู ฝน + หนาวมาแล้ว … ๑ การออกรับบิณฑบาตที่จะต้องห่มจีวรและสังฆาฏิซ้อนกัน ( ยกเว้น ถ้า สังเกตเห็นว่าฝนจะตก หรือป่วย..ก็ อาจจะห่ม ผืนเดียวได้ นุ่งสบง ตลอด ) ติดรังดุมที่คอ และที่ข้างล่างทั้งสองผืน ก็ทำมาตลอด… ๑ การอยู่ป่าเหรอ? นี่เราก็อยู่ในวัดป่า วัดกรรมฐานอยู่แล้ว และมีการฝึกอยู่ทุก ๆๆ วัน ไม่มีปัญหา… ๑ เป็นต้น ก็พยายามฝึกอยู่เสมอ

การฝึกสมาธิ

๒. เรื่อง สมาธิ การฝึกสมาธิ เริ่ม ต้น ก็ ระลึก

ถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ สักสามรอบ

แล้ว แผ่เมตตา ให้ ทุก ๆ สิ่ง ให้ตัวเอง ด้วย แล้ว

ใช้การฝึกแบบ อานาปานะสติ คือ ให้เอา สติ มาเฝ้าดูลมหายใจที่กำลัง เข้า กำลัง ออก ที่บริเวณ ปลายจมูก หรือ เอาสติ จ้อง ดู ลมหายใจ ที่ บริเวณ ริมฝีปากด้านบน ... หลับตาทั้งสอง อย่างพอดี ไม่กดหนังตาจนกระพริบถี่ ๆ ไม่กด ไม่เกร็ง ที่ส่วนใด ๆ ของร่างกายทุกอวัยวะ

ลำตัวตั้งตรง หน้ามองตรงไปข้างหน้า หัวตั้งตรง ไม่ก้มจนปวดคอ ไม่เงยจนแหงนหน้าขึ้นด้านบน ไม่เอียงซ้าย ไม่เอียงขวา ไม่โยก ไม่สั่น ไม่กระตุก .... ไม่กัดฟัน ... เอา ฟัน บน กับ ฟันล่างแตะกัน เบา ๆ เอาลิ้นแตะฟันเบา ๆ ...............

ท่า นั่ง

ท่า นั่งกับ พื้น ให้ เอาขาขวา ทับขาซ้าย หรือ นั่งขัดสมาธิเพชร หรือ นั่งคู้ขา งอขา เขามา ทั้งสองข้าง ... บางที ก็นั่งโดยที่ ขา ทั้งสอง ไม่ทับกัน .. หรือ จะ นั่ง พับเพียบ ข้างซ้าย หรือ ขวา นั่งทับส้น ( ยกเว้น คนป่วย ที่ จะ นั่ง ตาม ที่ร่างกาย จะ ทำได้ )

การนั่งงอขาเข้ามาทั้งสอง ข้าง นั้น ... ถ้า เอา เท้า เข้าใกล้ ก้น ใกล้ลำตัว มากเกิน จะ ทำให้ลำตัวกระดก หน้า กระดกหลัง ถ้า เอา เท้าออก ห่างจาก ก้น จากลำตัว มาก เกินไป ก็ จะ ทำให้ หลังงอ ดังนั้น จะ ต้องหาระยะ ที่พอดี ปรับ ให้พอดี ๆ ของ แต่ ละ คน เพื่อจะ ให้ ลำตัว ตั้งตรง ไม่ให้ตาตุ่มไป ทับ ที่ เส้น เอ็น เส้น เลือด ลอง ๆ ขยับหา ตำแหน่ง การนั่ง ให้ พอ ดี ไม่ขัด ไม่งัด …….

ถ้า เครื่องนุ่งห่ม แน่น ก็ให้ คลาย ให้ พอดี ๆ

การวางมือ

มือซ้าย หงาย มือ นิ้ว ทั้งห้าเหยียด ออกสุด เอาฝ่ามือขึ้นด้านบน แล้ว เอามือขวา หงาย นิ้ว ทั้งห้าเหยียด ออกสุด วางทับที่ฝ่ามือซ้าย เบา ๆ ไม่กด หงายฝ่ามือมือขวาทับฝ่ามือซ้าย วางมือทั้งสองที่ซ้อนกันหงายลงบนตัก ให้มือทั้งสอง อยู่ใกล้ ๆ ลำตัว หน้าท้อง มาก ที่สุด ถ้า มือทั้ง สอง อยู่ห่างจาก ลำตัว จะทำให้ หลังค่อม ... นิ้วหัวแม่มือ ทั้งสองข้าง ห่างกัน ประมาณ หนึ่งข้อนิ้วมือ คือ ห่าง ประมาณ ว่า ปลายนิ้วหัวแม่มือ ของมือ ซ้าย จะ แตะกันพอดี ๆ กับปลายนิ้วชี้ของมือขวา ไม่กระดิกนิ้ว มือทั้งสองไม่แตะแน่นเกินไป แตะพอดี พอดี .. ถ้า กดแรง นาน นาน อาจจะ ปวด หรือ ร้อน ....... หายใจเข้า + หายใจ ออก ตามปกติ ตามธรรมดา ไม่สั้น ไม่ยาว ไม่กลั้นใจ ไม่ทำลมให้ยาว ไม่กดลมให้สั้น หายใจพอดี ๆ หลับ ตา พอ ดี ๆ ไม่กดตา ไม่เกร็งที่คิ้ว ไม่เกร็ง

หรือ อาจจะลืมตา เพื่อ แก้ความง่วง ถ้า ง่วง มาก ๆ หรือ ถ้า ได้ อดนอน มามาก ๆ หรือ อาจจะจ้องมองปลายจมูก ของตัวเอง ….

เอาสติ จ้อง ดูลมหายใจ ที่ กำลัง เข้า กำลังออก ที่ปลายจมูก หรือ ที่ริมฝีปากด้านบน ดู จุดที่ลมหายใจ เข้า หายใจ ออก สัมผัส ดู จุดที่ลมหายใจ วิ่งผ่าน ที่หน้าท้อง เอา สติ จ้อง ดู ลม หรือ ดู อาการที่ลมวิ่งผ่านที่ลูกกระเดือก ที่ลิ้นไก่ ที่หน้าอก ฯลฯ ...ไม่ใช่ เอาสายตาจ้อง ดูลมหายใจ ที่กำลังเข้า กำลังออก ...

ฝึกใหม่ ๆ อาจจะ เลือก ใช้ สติ มา จ้อง ดู ลมที่ จุด จุดเดียว ที่ เดียว ก่อน เช่น เลือก เอา ที่ ริมฝีปาก ด้านบน เป็น จุด เฝ้า ดูลม ตลอด

ไม่ต้อง เอา สติ ไป ตามดู ลม ที่ ปลายจมูก ที่ริมฝีปากบน แล้ว ตาม ไป ดูลม ที่ คอ กระเดือก ลิ้นไก่ หน้า อก หน้าท้อง ท้อง ฯลฯ ทั้ง ตอน ลม เข้า และ ตอน ลมออก ... ให้ ดู ที่ จุด จุดเดียว

ต่อ ไป เมื่อ ชำนาญ แล้ว ก็ จะ เห็นทั้งลม ที่ จมูก ที่ริมฝีปาก ที่ หน้าท้อง ที่ คอ ที่อื่น ๆ

ไม่เกร็งใบหน้า ลำตัว ไม่เกร็งที่หน้าอก ที่หน้าท้อง ไม่เกร็งที่ลมหายใจ ทั้งตอนหายใจเข้า ตอนหายใจออก ไม่เกร็งในตอนที่ลมหายใจหยุดอยู่ ไม่เกร็ง กด ที่ ร่างกาย เช่น ที่ เข่า ที่ขา หน้าท้อง ไม่เกร็งที่ตา คิ้ว ปาก ริมฝีปาก มือ นิ้ว ขา ก้น หลัง เอว คอ หน้า ไม่เกร็งทางใจ ไม่เผลอหลับ ( แบบหลับ ที่ไม่รู้สึกตัว ) ไม่ตื่นเต้น ไม่กลัว ไม่อยาก ไม่สงสัย ไม่เกร็งทางใจ หรือไม่ให้อ่อนแอเกินไป ไม่ปล่อยให้ร่างกายงอ ขด ก้มหน้า ไม่ให้กิเลส ตัณหามาล่อให้หยุด หรือ กิเลสจะมาบอก ว่า “ ไม่ให้สนใจลมหายใจ ที่กำลังเข้า ออก หรือกิเลสจะมาล่อไม่ให้สนใจ พุทโธ ที่กำลังท่องอยู่ … ฯลฯ ”

….. แต่.. จะสนใจ เฉพาะ ลมหายใจ ที่กำลัง เข้า กำลังออก กำลังหยุดอยู่ และสนใจ คำว่า พุท + สนใจ คำว่า โธ ที่กำลังท่องอยู่ กำลังบริกรรม อยู่ .... ตาม หลักการ จะ ต้อง สนใจ คำว่า พุทโธ ที่ กำลังท่อง ตลอด.

สรุป ในการฝึกสมาธิ ก็ คือ ทำ พอดี ๆ

ใน บางครั้ง บางเวลาก็จะใช้ คำท่อง คำว่า พุท โธ เป็น คำท่อง คำว่า คำบริกรรม ภาวนา ในใจ แต่ไม่ได้ออกเสียง ดัง ๆ แต่จะท่อง จะว่า จะบริกรรม จะภาวนา ในใจ ว่า พุท พร้อมกับตอนที่กำลัง หายใจเข้า และใช้คำบริกรรมว่า โธ ในตอนที่กำลัง หายใจออก เอาสติ จ้องดูลมหายใจ ที่ปลายจมูก หรือ ที่ริมฝีปากด้านบน ( ไม่ได้ เอาสายตา มาจ้องดู ลม เพราะ ว่า ยัง หลับตา ทั้งสองข้าง แบบ พอดี ๆ อยู่ ) โดยหายใจ เข้า หายใจออก ตามปกติ ไม่สั้น ไม่ยาว หายใจพอดี ไม่อยากให้สงบ เฝ้าดูลมด้วยใจอย่างมีสติ ใจเย็น ไม่รีบ ไม่ด่วนอยากได้ ไม่คาด ไม่หวัง ไม่เดา ฝีกไป เรื่อย ๆ ...........................................................................

ถ้า ยัง หา จุด ที่ลมสัมผัส กับ ร่างกาย ไม่ได้ ลอง หายใจ แรง ๆ

เช่น สติ จ้อง ดู ลม แล้ว ไม่เห็น ลม ที่ ปลาย จมูก ไม่เห็น ลม ที่ริมฝีปาก ไม่เห็นลม ที่ ท้อง ไม่เห็นลมที่ คอ หรือ ไม่เห็น ลม ที่ ลิ้นไก่ ไม่เห็นลม ที่ ท้อง ฯลฯ ก็ ลอง ๆ หายใจ เข้า ออก ลึก ๆ สัก สาม สี่ ครั้ง เพื่อจะ ดู จุด ที่ลมหายใจ มาสัมผัส กับ ร่างกาย ที่ จุด ที่ เรา กำลัง จ้อง ดู ลม อยู่ เช่น ถ้า เรา ใช้ สติ เฝ้า ดู ลมที่ ปลาย จมูก ก็ จะ รู้สึก ร้อน เย็นที่ ปลายจมูก ที่บริเวณ ที่ ลมหายใจ สัมผัสกับร่างกาย ... ดู ลมที่ท้อง ก็ จะ รู้ว่า ท้อง ยุบ พอง ถ้า ดู ลม ที่ คอ ก็ จะรู้สึก ว่า ลมผ่าน ที่ คอ ..... รู้ว่า ลม ผ่าน มี่ ลิ้นไก่ ....

แล้ว ต่อ ไป ก็ หายใจ ตาม ปกติ พอ ดี ของ แต่ ละคน

เปลี่ยน ท่าฝึก

บางโอกาส ก็ ไป ฝึก สมาธิ แบบเดียวกัน นี้ ยกเว้น ท่านั่ง ที่เปลี่ยน โดย เปลี่ยน มาเป็นในท่า เดินจงกรม ก็มี ....

บาง ครั้ง อาจจะ กลั้น ลมหายใจ บ้าง .. เพื่อ แก้ ง่วง เมื่อ หายง่วง แล้ว ก็ หายใจ ตามปกติ

แก้ ง่วง ... หายฟุ้งซ่าน .. สงสัย ... อยาก ... โกรธ

บางครั้ง อาจจะ สูดลมหายใจ เข้า เต็มที่ จน เต็ม ปอด แล้วกลั้นไว้ แล้ว ปล่อยลมหายใจออกจากปอดจนหมด แล้วกลั้นไว้ อัดลม เข้า เต็มปอด กลั้นไว้ ปล่อยลมออก แล้ว กลั้นไว้ .. ทำ สัก สี่ ห้า ครั้ง เมื่อ หาย ง่วง หายฟุ้งซ่าน ก็ หายใจ ตามปกติ .

ผลคือ คำว่า พุท ที่กำลังท่องอยู่พร้อมกับลมหายใจที่กำลังวิ่งเข้าไปในจมูก และ คำว่า โธ ที่ท่องอยู่กับลมหายใจที่กำลังวิ่งออกจากจมูก นั้น ได้ เบา ๆ ค่อย ๆ จาง ๆ

แล้ว คำว่า พุทโธ ก็หายไป จาก การท่อง หายไปจากใจ พุทโธ จะ หายไปจากความรู้สึก โดยไม่ได้ตั้งใจจะท่อง คำว่า พุทโธ นั้น คำว่า พุทโธ จะหายไป จะเหลือแต่ลมหายใจที่ กำลัง เข้า กำลัง ออก อย่าง เบา เย็น แต่ลมหายใจยังไม่หยุด ส่วนในใจนั้นเริ่มมีความสงบ เยือกเย็น สบาย โล่ง ปลอดโปร่ง ไร้กังวล แบบไม่เคยได้รับมาก่อน

ยังมีสติ ไม่ตกใจ ไม่หลงดีใจ

หลังจากนั้นได้ทำต่อไป คือ เมื่อ พุท โธ หายไปจากการท่องในใจ

ก็มาเอาสติมาเฝ้าดูลมหายใจ ที่กำลังเข้า กำลังออก ที่ เย็น เบา ๆ ที่บริเวณปลายจมูกนั้น ต่อๆไป จนกระทั่ง ลมหายใจ ที่กำลังเข้าออก อยู่นั้น เริ่ม แผ่ว และเริ่ม สะดุด ๆ เบา และ ในที่สุด

ความรู้สึก ที่รู้ว่า มี ลมหายใจเข้า ออก นั้น ก็หมดไปจาก ใจ ยังเหลือแต่ ผู้รู้ ที่นิ่ง สงบ รู้อยู่ภายในใจ

ส่วนร่างกาย แขน ขา หน้า ตา ลำตัวทุกอวัยวะ ได้หายไปจากความรู้สึกทั้งหมด จะมี อาการเบา ไม่หนัก สบายทางร่างกายมากที่สุด แม้ว่าจะพยายามคิดทางใจ ใน ขณะที่ยัง หลับตาอยู่ แต่ ก็ จะ คิดไม่เห็น ว่า ร่างกาย มีอยู่ .......... หรือ จะ พยายาม มองหา ร่างกาย ของตัวเอง ด้วยตาเปล่า แต่ ก็ มอง ไม่เห็น ร่างกาย ( เห็น ก็ เหมือน ไม่เห็น ไม่มีความสนใจ ติดใจ ในร่างกาย นั้น ๆ ) .. ร่างกายก็ไม่มี ( ในความรู้สึก )

แต่ ยังมีสติ อยู่ ไม่หลับ ไม่หลง มีความสงบ สุข เหนือความสุขใดๆ ทุกสิ่งที่เคยได้รับมาในชีวิต ตลอด ประมาณ ๒๕ ลบ ๗ ปี ย้อนหลัง ๑ – ๗ ปี นั้น ยัง เด็ก ยัง ไม่รู้ประสา มาก

และอาการที่ ไม่ต้องท่อง พุท โธ และ การที่ จับลมหายใจ ไม่ได้ นั้น ( เหมือนกับไม่หายใจ ) ก็เป็นอยู่ เกือบจะ ทุก ๆ ท่า ทั้งในท่ายืน ท่าเดิน ก้ม เหลียวไปไหน มาไหน คุย นิ่ง เหนื่อย หิว ร้อน หนาว ก็จะมีอาการลมหมดจากความรู้สึก อยู่เกือบจะตลอดเวลา แต่ไม่ตาย สบายดีมาก

ซึ่งในตอนแรก อาการที่ ลมหมด พุท โธ หมดนั้น จะไม่เป็นเฉพาะในตอนที่กำลังนั่งสมาธิ เท่านั้น จะเป็นตลอด คือ ครั้นพอหยุดนั่งสมาธิ แล้วลุกออกจากสมาธิ ไปเดิน ไปบิณฑบาต ทำข้อวัตร จะอุปัฏฐากครูบาอาจารย์ จะทำวัตร สวดมนต์ เดินจงกรม นั่งสมาธิ อ่านหนังสือ บุพพสิกขาฯ หนังสือวินัยมุข หนังสือนวโกวาท อ่านพระไตรปิฎก ปัดกวาด เช็ด ถู เดินจงกรม เดินไป กลับ จากบิณฑบาต ฯลฯ ก็จะยังมีอาการที่ พุท โธ หาย ไปจากความรู้สึก มีอาการที่ พุท โธ หายไป จากการท่อง อยู่ ความรู้สึกว่า ร่างกาย มีอยู่ ก็จะหายไป แต่ มีความสุข มาก

ผล ของ การฝึก สมาธิ

ในเวลา ต่อ ๆ มา ส่วนมาก ก็จะฝึก โดยไม่ต้องท่อง พุท โธ ไม่ต้องคิดถึงคำว่า พุท โธ อีก และ จะเอาสติมาจับลมหายใจที่บริเวณปลายจมูก ก็ไม่ค่อยจะได้ จะตั้งใจเอาสติจับลมหายใจที่กำลังเข้า ออก จะกำหนดอย่างไร ก็หาไม่ค่อยเจอลม ( ไม่ใช่หลับ ไม่ใช่ขาดสติ ) แต่ ก็มี อาการสงบ มีผู้รู้เด่น อยู่ในใจ ตลอด สงบ สบาย เหมือนได้ นิพพาน ที่คาดเดาเอาเอง เป็นอยู่ประมาณ ๒ ปี กว่า ๆ

ต่อ ไป นี้ เป็น บาง ส่วน จาก ทั้งหมด ของ “ วิธีการฝึกสมาธิ ” ที่ เรียบเรียง โดย ประสิทธิ์ ฐานะธัมโม วัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ

๑๑ ข้อ จาก อุปักกิเลสสูตร พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๒ เล่มที่ ๒๓ ข้อที่ ๔๓๙ หน้า ๑๒๔ จากชุด ๙๑ เล่ม

ในการฝึกสมาธิ จาก ทั้งหมด ทั้ง ๔๐ วิธี ก็มีอยู่หลายสาเหตุที่ ทำให้สมาธิถอน เป็นเหตุให้สิ่งที่ควรเห็น เช่น รูปภาพต่าง ๆ แสงสว่างต่าง ๆ อารมณ์วิตก วิจาร ความสงบ ปีติ สุข เอกัคคะตา ไม่ชัดเจน อาจจะหายไป หรือไม่ได้สมาธิ ก็ได้

จะเรียงตามลำดับหัวข้อ เพื่อให้จำง่าย มีดังนี้

๑. พยายามอย่าสงสัย ว่าที่เราทำอยู่นี้ผิด หรือถูก ? เพราะเมื่อเราทำตามที่แนะนำมาแล้ว ท่านั่งก็ถูก วิธีการก็ถูก จะสงบหรือไม่? จะบรรลุหรือไม่หนอ? หรืออาจจะเห็นรูปบางอย่าง ก็คิดว่านี่อะไรหนอ ? ได้ฌานรึยัง ? ได้ปีติ รึยัง ? บางครั้ง ก็มี คิด ขึ้นมาว่า จะได้ อะไร แล้ว จะเป็นอะไร ? นาน หรือ เร็ว ? .. เลิกหรือยัง ได้เวลาหรือยัง? มีใครเห็นหรือไม่? เมื่อไหร่จะสงบซะทีหนอ? ไม่ถูก.. ละมั้ง ?? ฯลฯ นี่ คือความสงสัย

ดังนั้น ไม่ต้องสงสัย เดี๋ยวก็เป็นวิจิกิจฉา จำได้นะ มันก็คือ โฉมหน้าของ นิวรณ์ ตัวหนึ่งนั่นเอง คือมีความคิดสงสัย โน่น นี่ ขึ้นมา ความคิดนี้ก็จะไปรบกวนอารมณ์สงบ.. รบกวน อารมณ์เดียวที่หยุดคิด ของสมาธิ ก็เลยทำให้สมาธิถอน หรือไม่ได้เลย

ถ้าสงสัยว่า สงบ หรือยังหนอ? ก็ต้องทำตามที่ท่านบอก คืออย่าสงสัย ลองทำดู ไม่ต้องสงสัย แต่จะต้อง ฝึกไปเรื่อย ๆ กำหนด พุทโธ ไปเรื่อย ๆ บริกรรมไป พิจารณาไป ไม่หยุด ไม่หย่อน แล้วก็จะหายสงสัย

เหตุให้เกิดวิจิกิจฉา

วิจิกิจฉา ย่อมเกิดได้ด้วยอโยนิโสมนสิการ ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งวิจิกิจฉา. ความเคลือบแคลง เพราะเป็นเหตุแห่งความสงสัยบ่อย ๆ ชื่อว่าธรรมเป็นที่ตั้งแห่งวิจิกิจฉา. เมื่อภิกษุทำอโยนิโสมนสิการให้เป็นไปมาก ๆในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งวิจิกิจฉานั้น วิจิกิจฉาย่อมเกิด. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ ( ในสังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ) ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายธรรมเป็นที่ตั้งแห่งวิจิกิจฉามีอยู่ การทำให้มากซึ่งอโยนิโสมนสิการในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งวิจิกิจฉานั้น นี้เป็นอาหารเพื่อความเกิดแห่งวิจิกิจฉาที่ยังไม่เกิดหรือเพื่อทำวิจิกิจฉาที่เกิดมีอยู่เดิมแล้ว ให้กำเริบเสิบสานยิ่งขึ้นดังนี้.

เหตุละวิจิกิจฉา

แต่วิจิกิจฉานั้น จะละได้ก็ด้วยโยนิโสมนสิการในธรรมมีกุศล เป็นต้น. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสไว้ ( ในสังยุตตนิกายมหาวารวรรค ) ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เป็นกุศล อกุศล ธรรมที่มีโทษ ไม่มีโทษ ธรรมที่ควรเสพ ไม่ควรเสพ ธรรมที่ทราม ประณีต ธรรมที่เทียบด้วยของดำ ของขาว มีอยู่ การทำให้มากซึ่งโยนิโสมนสิการในธรรมเหล่านั้นนี้ เป็นอาหารเพื่อความจะไม่ให้เกิดแห่งวิจิกิจฉาที่ยังไม่เกิด หรือ เพื่อละวิจิกิจฉาที่เกิดมีอยู่แล้ว ดังนี้.

ธรรมสำหรับละวิจิกิจฉา

อีกอย่างหนึ่งธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อละวิจิกิจฉา คือ ๑. การสดับ ได้ยินได้ฟัง ได้อ่าน ได้ศึกษามาก

๒. การได้สอบถาม

๓. ความชำนาญในวินัย

๔. ความมากด้วยความน้อมใจเชื่อ

๕. การมีกัลยาณมิตร

๖. การเจรจาแต่เรื่องที่เป็นที่สบาย. จริงอยู่ แม้เมื่อภิกษุร่ำเรียนทั้งบาลี ทั้งอรรถกถานิกายหนึ่ง สอง-สาม-สี่ หรือ ห้า นิกาย ก็ย่อมละ วิจิกิจฉาได้ ด้วยความเป็นพหูสูต. เมื่อภิกษุมากด้วยการปรารภพระรัตนตรัย สอบถามก็ดี มีความชำนาญอันสั่งสมไว้ในวินัยก็ดี มากไปด้วยความน้อมใจเชื่อ กล่าวคือศรัทธาที่ยังกำเริบได้ในพระรัตนตรัยก็ดี คบกัลยาณมิตร เช่นท่านพระวักกลิ ผู้น้อมใจไปในศรัทธาก็ดีย่อมละวิจิกิจฉาได้. แม้ด้วยการเจรจาแต่เรื่องที่เป็นที่สบาย อันอาศัยคุณของพระรัตนตรัย ในอิริยาบถทั้งหลาย มียืน นั่ง เป็นต้น ก็ละวิจิกิจฉาได้. เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อละวิจิกิจฉา.

ภิกษุย่อมรู้ชัดว่า วิจิกิจฉาที่ละได้ด้วยธรรมเหล่านี้ ย่อมไม่เกิดต่อไป ด้วยโสดาปัตติมรรค ดังนี้.

คำว่า อิติ อชฺฌตฺตํ วา หรือภายใน ความว่า พิจารณาเห็นธรรมในธรรม ( นิวรณ์ คือวิจิกิจฉา = ความลังเลสงสัย แล้วไม่ยอมทำดี นี้ ) ทั้งหลายของตน ในธรรมทั้งหลายของคนอื่น หรือในธรรมทั้งหลายของตนตามกาล ของคนอื่นตามกาลด้วยการกำหนดนิวรณ์ ๕ อย่างนี้อยู่. ก็ความเกิดและความเสื่อม ในคำว่าพิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดและความเสื่อมนี้ ที่กล่าวแล้วในนิวรณ์ ๕ ด้วยอำนาจ อโยนิโสมนสิการ คือ ในสุภนิมิต และ โยนิโสมนสิการ คือในอสุภนิมิต เป็นต้น บัณฑิตพึงนำมาเทียบเคียง. ข้อต่อไปนี้ ก็มีนัยดังกล่าวมาแล้วนั้น แล.

วิธีการ กำหนด สติกำหนดนิวรณ์ให้เป็นอริยสัจ ๔

สติอันกำหนดนิวรณ์เป็นอารมณ์ เป็นทุกขสัจ ตัณหามีในก่อนอันทำ สร้างทุกขสัจนั้นให้ตั้งขึ้นเป็นสมุทัยสัจ ความไม่เป็นไปแห่ง สัจจะทั้งสอง คือทุกข์ และสมุทัย ) เป็นนิโรธสัจ อริยมรรคที่กำหนดรู้ทุกขสัจ ที่ละสมุทัยสัจ ที่มีนิโรธสัจเป็นอารมณ์ เป็นมรรคสัจ. ภิกษุโยคาวจร ขวนขวายด้วยอำนาจสัจจะ ๔ อย่างนี้ ย่อมบรรลุความดับทุกข์ ( นิพพาน ) ได้ฉะนี้. พึงทราบว่าเป็นทางปฏิบัตินำออกจากทุกข์ ของภิกษุผู้กำหนดนิวรณ์ เป็นอารมณ์.

๒. ให้กำหนดให้ดี ให้แยบคาย เช่นกำหนดลมก็มีสติดูลมดี ๆ ถ้าเพ่งกสิณ ก็ ให้ทำติดต่อกันไป เพ่งอย่างพอดี ๆ สิ่งที่ทำให้สมาธิถอนก็คือ เมื่อเห็นรูป ก็คิดว่า ต่อไปนี้เราจะไม่สนใจอะไรอีก นี่เราเรียกว่า อโยนิโสมะนะสิการะ คือกำหนดไม่แยบคาย ไม่ละเอียด คือ การเห็นว่า เที่ยง สุข อัตตา

ถ้า โยนิโสมนสิการ ก็คือการ มอง ทุกอย่าง ( ยกเว้น นิพพาน ) ว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ อนัตตา

๓. ต้องระวังอย่า ให้ความง่วงเล่นงานเราได้ สาเหตุ ที่มาของความง่วง นั้น ก็เกิดจากความคิดที่ว่า “ เราจะไม่ใส่ใจอะไรอีก” จึงทำให้เราง่วง ต้องตั้งสติ ให้ดี หางานให้จิต ทำ เช่น พุทโธ ๆ ๆ เข้าไว้ เพ่งดวงกสิณเข้าไว้ แผ่เมตตา เข้าไว้ พยายามทำกรรมฐานตามที่ตนถนัดเข้าไว้ พิจารณาธรรมต่อไป ๆ ๆ เช่น เพ่งความว่าง ก็ให้มีความรู้อยู่ในความว่างนั้นด้วย อย่าให้ว่างแบบไม่รู้อะไร หรือไม่ให้หลงความว่าง จนง่วง หรือจะเพ่งที่ความสุข ปีติ เบา สบาย อย่าให้จิตว่างจากงานได้ ถ้าว่าง ก็มีสิทธิที่จะหลับ ได้ วิธีแก้ก็กล่าวไว้ในเรื่องการแก้นิวรณ์ ๕ ขุนโจร แล้ว กลับไปอ่านดูได้ ถ้ามีความง่วง สมาธิก็หลุด กลายเป็นหลับ

เหตุให้เกิดถีนมิทธะ

ถีนมิทธะ ย่อมเกิดด้วยอโยนิโสมนสิการในธรรมทั้งหลาย มีอรติ เป็นต้น. ความไม่ยินดีด้วยกับเขา (ริษยา) ชื่อว่า อรติ. ความคร้านกายชื่อว่า ตันที. ความบิดกาย (บิดขี้เกียจ) ชื่อว่า วิชัมภิตา. ความมึนเพราะอาหารความกระวนกระวายเพราะอาหารชื่อว่า ภัตตสัมมทะ. อาการ คือ ความย่อหย่อนแห่งจิต ชื่อว่าความย่อหย่อนแห่งจิต. เมื่อภิกษุทำอโยนิโสมนสิการให้เป็นไปมาก ๆ ในอรติ ตันที เป็นต้นนี้ ถีนมิทธะย่อมเกิด. เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ (ในสังยุตตนิกายมหาวารวรรค) ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความไม่ยินดี ความคร้านกาย ความบิดกาย ความเมาอาหาร ความหดหู่แห่งจิตมีอยู่ การทำให้มากซึ่งอโยนิโสมนสิการในธรรมเหล่านี้ นี้เป็นอาหารเพื่อความเกิดแห่งถีนมิทธะที่ยังไม่เกิด หรือเพื่อทำถีนมิทธะที่เกิดแล้วให้กำเริบเสิบสานยิ่งขึ้นดังนี้.

เหตุละถีนมิทธะ

แต่ถีนมิทธะนั้น จะละได้ด้วยโยนิโสมนสิการในธรรมทั้งหลายมี อารภธาตุ เป็นต้น. ความเพียรเริ่มแรก ชื่อว่า อารภธาตุ. ความเพียรที่มีกำลังกว่า อารภธาตุ นั้น เพราะออกไปพ้นจากความเกียจคร้านแล้ว ชื่อว่า นิกกมธาตุ. ความเพียรที่มีกำลังยิ่งกว่า นิกกมธาตุ แม้นั้น เพราะล่วงฐานอื่น ๆ ชื่อว่า ปรักกมธาตุ (ก้าวไปข้างหน้า, บากบั่น). เมื่อภิกษุทำโยนิโสมนสิการให้เป็นไปมาก ๆ ในความเพียร ๓ ประเภทนี้ ย่อมละถีนมิทธะได้.

เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ ( ในสังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ) ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายธาตุคือความเริ่มความเพียร ธาตุคือความออกพ้นไปจากความเกียจคร้าน ธาตุคือความก้าวไปข้างหน้ามีอยู่ การทำให้มากซึ่งโยนิโสมนสิการ ในธาตุเหล่านั้นนี้เป็นอาหารเพื่อความไม่เกิดแห่งถีนมิทธะที่ยังไม่เกิด หรือเพื่อละถีนมิทธะที่เกิดแล้ว ดังนี้.

ธรรมสำหรับละถีนมิทธะ

อีกอย่างหนึ่ง ธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อละถีนมิทธะ คือ

๑. การกำหนดนิมิตในโภชนะส่วนเกิน

๒. การผลัดเปลี่ยนอิริยาบถ

๓. การใส่ใจถึงอาโลกสัญญา (คือความสำคัญว่าสว่าง ๆ)

๔. การอยู่กลางแจ้ง

๕. การมีกัลยาณมิตร

๖. การเจรจาแต่เรื่องที่เป็นที่สบาย

เพราะว่า เมื่อภิกษุบริโภคโภชนะ เหมือนพราหมณ์ที่ชื่อ อาหารหัตถกะที่ชื่อ ตัตรวัฏฏกะ ที่ชื่อ อลังสาฏกะ ที่ชื่อ กากมาสกะ และที่ชื่อ ภุตตวมิตกะ เมื่อได้นั่งในที่พักกลางคืน และที่พักกลางวัน กระทำสมณธรรม ( ภาวนา ) อยู่ ถีนมิทธะย่อมมาท้วมทับได้เหมือนช้างใหญ่ แต่ ถีนมิทธะนั้นจะไม่มีแก่ภิกษุที่เว้นโอกาสบริโภค ๔ - ๕ คำ คือเหลืออีก ๔ -๕ คำจะอิ่ม ก็หยุด แล้ว ดื่มน้ำเพื่อยังอัตตภาพให้เป็นไปเป็นปกติ เพราะเหตุนั้น เมื่อภิกษุกำหนดนิมิต ในโภชนะส่วนเกินอย่างนี้ ย่อมละถีนมิทธะได้ เมื่อภิกษุเข้าสู่ถีนมิทธะในอิริยาบถใด เปลี่ยนอิริยาบถเป็นอย่างอื่น จากอิริยาบถนั้นเสียก็ละถีนมิทธะได้. เมื่อภิกษุใส่ใจแสงจันทร์ แสงประทีป แสงคบเพลิง ในเวลากลางคืน แสงอาทิตย์เวลากลางวันก็ดี อยู่ในที่กลางแจ้งก็ดี เสพกัลยาณมิตรผู้ละถีนมิทธะได้ เช่น ท่านพระมหากัสสปเถระก็ดีก็ ละถีนมิทธะได้. แม้ด้วยการเจรจาแต่เรื่องที่เป็นที่สบาย ที่อาศัยธุดงค์ในอิริยาบถทั้งหลาย มียืน นั่งเป็นต้น ก็ละถีนมิทธะได้. เพราะฉะนั้นท่านจึงกล่าวว่า ธรรม ๖ ประการนี้ ย่อมเป็นไปเพื่อละถีนมิทธะ.

ภิกษุย่อมรู้ชัดว่า ถีนมิทธะที่ละได้ด้วยธรรม ๖ ประการ จะไม่เกิดต่อไปด้วยอรหัตมรรคดังนี้.

๘. โมคคัลลานสูตร ว่าด้วย วิธีแก้ง่วง? ก่อน ได้เป็นอรหันต์ ภายใน ๗ วัน หลังบวช

[๕๘] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลา มิคทายวันใกล้สุงสุมารคีรนคร แคว้นภัคคะ ก็สมัยนั้นแล ท่านมหาโมคคัลลานะนั่งโงกง่วงอยู่ ณ บ้านกัลลวาลมุตตคามแคว้นมคธ พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระมหาโมคคัลลานะนั่งโงกง่วงอยู่ ณ บ้านกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ที่ล่วง ( เหนือ ) จักษุมนุษย์ ครั้นแล้วทรงหายจากเภสกลามิคทายวันใกล้สุงสุมารคีรนคร แคว้นภัคคะ เสด็จไปปรากฏเฉพาะหน้าท่านพระมหาโมคคัลลานะ ณ บ้านกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธ เปรียบเหมือนบุรุษมีกำลังเหยียดแขนที่คู้หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดแล้ว

ครั้นแล้ว ก็ได้ตรัสถามท่านพระมหาโมคคัลลานะว่า “ ดูกรโมคคัลลานะ เธอง่วงหรือ? ”

ท่านพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า “ อย่างนั้น พระเจ้าข้า ” ฯ แล้ว

พระพุทธเจ้ากล่าวว่า

๑. ดูกรโมคคัลลานะ เพราะเหตุนั้นแหละ เมื่อเธอมีสัญญาอย่างไรอยู่ ความง่วงนั้นย่อมครอบงำได้ เธอพึงทำไว้ในใจซึ่งสัญญานั้นให้มาก ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ถ้าเธอยังละไม่ได้ ( ถ้า กำลังคิดด้วยสัญญา คือความจำอะไรอยู่ แล้ว ได้เกิดเผลอหลับ ง่วงไป ก็ให้คิดสัญญานั้น มากๆ ทำในใจเกี่ยวกับสัญญานั้น ระลึก คิดถึงเรื่องนั้นมากๆ ถี่ๆ บ่อย ๆ แรงๆ จริง ๆ ดูว่าความง่วงจะเกิดขึ้นที่ใด? ที่ตา หรือคิ้ว หรือที่ใจ ที่ขมับ ปาก ที่การ หาว หัวใจ หรือที่ขา หน้าท้อง หนังตา เปลือกตา หรือ ที่ใดแน่ ? )

๒. ต่อจากนั้นเธอพึงตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ตนได้สดับแล้ว ได้เรียนมาแล้วด้วยใจ ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ ( อาจระลึก ทบทวนธรรม บทเรียนในใจ )

๓. จากนั้นเธอพึงสาธยายธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วได้เรียนมาแล้วโดยพิสดาร ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ ( อาจจะออกเสียงทำวัตร ทบทวนธรรม บทเรียน เขียน อย่างละเอียด ซอกแซก มากมาย การว่าตามเสียงที่มาจากที่อื่น การสาธยายคนเดียว หรือหลายคน ทำหลาย ๆ เที่ยว ถี่ ๆ เช่น พุทโธๆๆๆ )

๔. จากนั้นเธอพึงยอนช่องหูทั้งสองข้าง เอามือลูบตัว ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้

( เกี่ยวกับสิ่งที่มากระทบ สัมผัสกับร่างกาย เช่น อบอุ่น เย็น ขยับ กระดก ร้อน พื้นที่นั่งที่แข็ง สาก ที่ยืนไม่เรียบ บิดหู ถูที่ท้ายทอย จี้ที่รูหู ลูบที่ร่างกาย หน้า ลูบตาม ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย จักกะจี้ ที่จะช่วยเรา เพื่อจะแก้ง่วง )

๕. จากนั้นเธอพึงลุกขึ้นยืน เอาน้ำล้างตา เหลียวดูทิศทั้งหลาย แหงนดูดาวนักษัตรฤกษ์ ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ถ้ายังละไม่ได้ ( เกี่ยวกับการใช้น้ำเย็น ร้อนมาแตะ มาสัมผัสที่ดวงตา เปลี่ยนท่าทาง เปลี่ยนทิศทางระดับการมองสายตาจากต่ำไปสูง การก้ม เงย แหงน ขยับ บิด กระตุก สั่น กด กัดฟัน สั่น บิด คลาย ดึง เคลื่อนที่ การหมุนลำตัว ศีรษะ มือ เท้า ขา แขน นิ้ว ลิ้น ปาก ฟัน เอว คอ ทุก ๆ ส่วนที่ถนัด )

๖. จากนั้นเธอพึงทำในใจถึงอาโลกสัญญา ตั้งความสำคัญในกลางวันว่า กลางวันอย่างไร กลางคืนอย่างนั้น กลางคืนอย่างไร กลางวันอย่างนั้น มีใจเปิดเผยอยู่ฉันนี้ ไม่มีอะไรหุ้มห่อ ทำจิตอันมีแสงสว่างให้เกิด ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ ( เกี่ยวกับการอยู่ในที่มีแสงสว่าง โล่ง แจ้ง ไม่มืด ทึบ ให้ คิดถึงกลางวันตลอด ๆ เวลา ทั้งในตอนกลางวัน และกลาง คืนก็ให้คิดถึงสว่าง ตลอด ๆ ทำใจให้สว่าง ไม่มืดมัว ไม่หม่นหมอง ให้ร่าเริง เบิกบาน ใส สว่าง แจ่ม ใส )

๗. จากนั้นเธอพึงอธิษฐานจงกรม กำหนดหมายเดินกลับไปกลับมา สำรวมอินทรีย์ ทั้ง ทางตา หู จมูก ลิ้น ทางสัมผัสที่ร่างกาย และ ทางใจ มีใจไม่คิดไปในภายนอก ข้อนี้จะเป็นเหตุให้เธอละความง่วงนั้นได้ ถ้ายังละไม่ได้ ( มีสติรู้ทางร่างกายว่า เคลื่อน หยุด ก้าว เดิน มีสติรู้ทางใจจอย่างต่อเนื่อง)

๘. แต่นั้นเธอพึงสำเร็จสีหะไสยาคือนอนตะแคงเบื้องขวาซ้อนเท้าเหลื่อมเท้ามีสติสัมปชัญญะ ทำความหมายในอันจะลุกขึ้น พอตื่นแล้วพึงรีบลุกขึ้นด้วยตั้งใจว่าเราจักไม่ประกอบความสุขในการนอน ความสุขในการเอนข้างความสุขในการเคลิ้มหลับ( นอนตะแคงขวาก็เป็นพระ แต่ถ้าตะแคงซ้ายเป็นชาวบ้าน ถ้านอนหงายเป็นเปรต นอนแบบราชสีห์ คือ แบบพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับทิศทางอาหารที่เคลื่อนในลำไส้ใหญ่ และ ทิศทางการไหลของบอาหารในกระเพาะอาหาร ก็เลยนอนตะแคงขวา )

ดูกรโมคคัลลานะเธอพึงศึกษาอย่างนี้แล เพราะเหตุนั้นแหละ เธอพึงศึกษาอย่างนี้อีกว่า เราจักไม่ชูงวง [ ถือตัว ] เข้าไปสู่ตระกูล ( ครอบครัว )

ดูกรโมคคัลลานะ เธอพึงศึกษาอย่างนี้แล ถ้าภิกษุชูงวงเข้าไปสู่ตระกูล และในตระกูลมีกรณียกิจหลายอย่าง ซึ่งจะเป็นเหตุให้มนุษย์ไม่ใส่ใจถึงภิกษุผู้มาแล้ว เพราะเหตุนั้นภิกษุย่อมมีความคิดอย่างนี้ว่า เดี๋ยวนี้ใครหนอยุยงให้เราแตกในสกุลนี้ เดี๋ยวนี้ดูมนุษย์พวกนี้มีอาการอิดหนาระอาใจในเรา เพราะไม่ได้อะไร? เธอจึงเป็นผู้เก้อเขิน เมื่อเก้อเขิน ย่อมคิดฟุ้งซ่าน เมื่อคิดฟุ้งซ่าน ย่อมไม่สำรวม เมื่อไม่สำรวม จิตย่อมห่างจากสมาธิ ฯ เพราะฉะนั้นแหละ โมคคัลลานะ เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า

เราจักไม่พูดถ้อยคำซึ่งจะเป็นเหตุให้ทุ่มเถียงกัน

ดูกรโมคคัลลานะ เธอพึงศึกษาอย่างนี้แล เมื่อมีถ้อยคำซึ่งจะเป็นเหตุให้ทุ่มเถียงกัน ก็จำต้องหวังการพูดมาก เมื่อมีการพูดมาก ย่อมคิดฟุ้งซ่าน เมื่อคิดฟุ้งซ่าน ย่อมไม่สำรวม เมื่อไม่สำรวม จิตย่อมห่างจากสมาธิ ฯ อนึ่ง เราหาสรรเสริญความคลุกคลีด้วยประการทั้งปวงไม่

แต่ก็มิใช่ว่าจะไม่สรรเสริญความคลุกคลีด้วยประการทั้งปวงก็หามิได้ คือ เราไม่สรรเสริญความคลุกคลีด้วยหมู่ชนทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิต ก็แต่ว่าเสนาสนะอันใดเงียบเสียงไม่อื้ออึง ปราศจากการสัญจรของหมู่ชน ควรเป็นที่ประกอบกิจของผู้ต้องการความสงัด ควรเป็นที่หลีกออกเร้น ( อยู่วิเวก ) เราสรรเสริญความคลุกคลีกับด้วยเสนาสนะเห็นปานนั้น ฯ

ท่านพระมหาโมคคัลลานะทูลถามว่า: ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โดยย่อ ด้วยข้อปฏิบัติเพียงไรหนอ ภิกษุจึงเป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะสิ้นตัณหา มีความสำเร็จล่วงส่วนมีธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะล่วงส่วนเป็นพรหมจารีล่วงส่วนมีที่สุดล่วงส่วนประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯ ? พระพุทธเจ้า:

ดูกรโมคคัลลานะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้สดับว่า

ธรรมทั้งปวงไม่ควรถือมั่น

ครั้นได้สดับดังนั้นแล้ว เธอย่อมรู้ชัดธรรมทั้งปวงด้วยปัญญาอันยิ่งครั้นรู้ชัดธรรมทั้งปวงด้วยปัญญาอันยิ่งแล้ว ย่อมกำหนดรู้ธรรมทั้งปวง

ครั้นกำหนดรู้ธรรมทั้งปวงแล้ว ได้เสวยเวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง สุขก็ดี ทุกข์ก็ดี มิใช่สุขมิใช่ทุกข์ก็ดี ย่อมพิจารณาเห็น ความไม่เที่ยงในเวทนาเหล่านั้น พิจารณาเห็นความคลายกำหนัด พิจารณาเห็นความดับ พิจารณาเห็นความสละคืน

เมื่อเธอพิจารณาเห็นอย่างนั้นๆ อยู่ ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่สะดุ้งเมื่อไม่สะดุ้ง ย่อมปรินิพพานเฉพาะตัวทีเดียว ย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้วพรหมจรรย์อยู่จบแล้วกิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ( บรรลุอรหันต์ ) ดูกรโมคคัลลานะ โดยย่อด้วยข้อปฏิบัติเพียงเท่านี้แล ภิกษุจึงเป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะสิ้นตัณหา มีความสำเร็จล่วงส่วน เป็นผู้เกษมจากโยคะล่วงส่วน เป็นพรหมจารีล่วงส่วน มีที่สุดล่วงส่วนประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯ จบสูตรที่ ๘

ทำไมหนอ ? พุทโธ จึง สอนให้พวกชาวพุทธ ทั้งนักบวช และประชาชนทั่ว ๆ นอนตะแคงขวา และให้นอนประมาณวันละ ๔ ชั่วโมง คือ จาก สี่ทุ่ม ถึง ตี ๒ ตื่น

เรามาดูลักษณะของกระเพาะอาหาร และลำไส้ของคน ว่ามีทิศทางการไหลของอาหาร + น้ำ ไปในทิศใด บ้าง ?

ขวา << ---------------------->> ซ้าย ขวา < ------------------------------ > ซ้าย

ทำไม พุทโธ จึง สอนให้นอนตะแคงขวา ประมาณ ๔ ชั่วโมง จาก เวลาสี่ทุ่ม ถึง ตี ๒ เพื่อจะได้พักผ่อนทางร่างกาย ให้มีกำลัง เพื่อจะได้ต่อสู้กับกิเลส.. ตั้งแต่ ตี ๒ ถึง สี่ทุ่ม ของอีกวันใหม่จะอยู่ด้วยการ เดิน การนั่ง เพื่อแก้ บรรเทา ความง่วง ต่อๆ ไป จนบรรลุนิพพาน เป็นอรหันต์

เรื่องการนอนตะแคงขวานั้น ( เพื่อเป็นการ ธัมวิจัย = ศึกษา สอดส่อง เลือก เฟ้น หาธรรมที่เหมาะกับเหตุการณ์มาใช้ เพื่อแก้วกิเลส แก้ความลังเลสงสัย ให้สามารถเข้าใจธัม จน บรรลุนิพพานได้ ) เราลองมาดูลักษณะของกระเพาะอาหาร และลำไส้ของคน ว่ามีทิศทางการไหลของอาหาร+น้ำอย่างไรบ้าง ลองดูที่กระเพาะอาหารก่อน อาหาร+น้ำจะไหลจากทางซ้ายมือไปทางขวาของตัวเอง ถ้านอนตะแคงขวา ( ท่านอนที่พระพุทธเจ้า + หรือพระ + โยม ที่ปฏิบัติสมถะ + วิปัสสนากรรมฐาน เพื่อหาทางที่จะพ้นจากทุกข์ นิยมนอน ) อาหารจะไหลจากข้างบนลงสู่ข้างล่าง ตามหลัก แรงโน้มถ่วงของโลก ที่น้ำจะไหลจากที่สูง ลงสู่ที่ต่ำ เสมอ ๆ จะไหลอย่างพอดี ๆ จะไหลสะดวก ไหลจากซ้ายมือ ไปทางขวามือ ตามรูปทรงของกระเพาะอาหาร อาหารจะไม่ไหลย้อนทางขึ้นข้างบน แต่ ถ้านอนตะแคงซ้าย ( ท่านอนที่คนเสพกามนอน ) อาหารจะไหลย้อนทาง จากล่างขึ้นบน ไม่ไหลจากบนลงล่าง และ ถ้านอนหงาย ( ท่านอนที่ เปรตนอน ) หรือนอนคว่ำ อาหารก็จะไหลไม่สะดวก เพราะว่า ทิศทางการไหลจากขนานกับพื้นราบ. อาหารเก่าที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่ ก็เหมือนกัน อาหารเก่าจะไม่ไหลขึ้นทางด้านบน จะไหลตามทิศทางที่สะดวก เพราะว่า นอนเอาร่างกายทางซีกขวาลงล่าง เอาร่างกายทางซีกซ้ายมือขึ้นด้านบน

ไม่ตกใจ ไม่มีการตื่นเต้น กับสิ่งที่เกิดขึ้น ในความรู้สึก

๔. ระวังอย่า หวาดเสียว ตกใจ กับสิ่งที่ปรากฎขึ้น เช่น เกิดขึ้นในทางใจ ก็อาจจะเห็น เทวดา เห็นท้องฟ้าในขณะที่หลับตา ถ้าเกิดทางทางจมูก ได้กลิ่นที่หอม หรือ เกิดทางหู ก็ได้ยินเสียงที่เราไม่เคยได้ยิน ได้รับสัมผัสทางลิ้นที่มีรสชาติดี ๆ หรือได้รับความเย็นทางร่างกาย มีความอบอุ่น เมื่อได้เห็นรูปต่าง ๆ ก็กลัว บางที ก็ เกิดในทาง จิต เช่น คิด โน่น ๆ นี่ นี่ แล้ว ก็กลัว หรืออาจจะเกิดผสมกันหลาย ๆ ทาง เช่นกลัวว่าจิตจะไม่สงบ กลัวว่าขาจะขาด กลัวว่าจะป่วยก่อนที่จะได้สมาธิ ข้อนี้รับรองว่ายังไม่เคยได้ยินว่า คนฝึกนั่งสมาธิแล้วขาขาด บางทีก็กลัวจะเจ็บ กลัวว่าจะเป็นบ้า แต่จริง ๆ แล้ว สมาธิ ที่มีสติช่วยหนุน มีสัมปชัญญะคือความรู้ตัวทั่วพร้อมช่วยทั้งทางร่างกาย และทางจิตใจ ก็จะช่วยรักษาคนบ้าให้เป็นคนดีมามากต่อมากแล้ว ถ้า ทำตามคำแนะนำที่ว่ามา บางคนก็ กลัวผี กลัวว่าตัวเองจะทำได้ไม่ดี กลัวว่าตัวเองผิดศีล ถ้าเป็นพระก็ไปแสดงอาบัติให้เรียบร้อย กลัวว่าคนจะชม จะว่า จิปาถะ

กลัวว่าเมื่อเจอกับสมาธิแล้ว จะไม่รู้จักสมาธิ กลัวว่าเมื่อบรรลุธรรมแล้ว จะไม่รู้ แล้วจะทิ้งธรรมที่บรรลุเสีย กลัวว่า เมื่อเจอกับพระนิพพานแล้ว จะไม่รู้จักพระนิพพาน แล้วนิพพานจะหายไป ตอบว่า ไม่เป็นไรหรอก เพราะ ในสมาธิ จะ ไม่มีป้ายบอก การบรรลุธรรมก็ไม่มีป้ายบอก ยิ่งพระนิพพานด้วยแล้ว ก็ยิ่งไม่ต้องหาป้ายบอกเลย ( แต่นิพพานนั้น จะมีความสุขมากที่สุดในโลก) ไม่เหมือนป้ายบอกชื่อหมู่บ้าน หรือป้ายบอกทาง บอกสถานที่ตามข้างถนนหรอก อย่าหวาดเสียว อย่ากลัวสิ่งที่เกิดขึ้น เพราะสิ่งเหล่านี้เมื่อเกิดได้ ก็ต้องดับได้ เป็นธรรมดา อาจจะจริงบ้าง ไม่จริงบ้าง ก็มี ธรรมดา

ลมหายใจดับ หยุด หายใจ จะให้ ทำไง ดี ??..

บางครั้ง กำหนดดูลม ไป ไป ไป เออ ..ลมหายใจของเราไปไหน น้อ ?.. คือมีความรู้สึกว่าลมหายใจดับไป ที่จริงการฝึกดูลมนี้ ยิ่งเราดูไป เรื่อย ๆ ก็จะเกิดอาการที่ว่า ลมค่อย ๆ เบา ๆ ๆ หาย ๆ ไป สำหรับการดูลมหายใจจะเป็นแบบนี้ ไม่เหมือนกรรมฐานอย่างอื่น ที่ยิ่งดู ก็ยิ่งชัด เช่น เพ่งกสิณ ยิ่งดูยิ่งชัดเจน แต่อานาปานะสตินี้ ยิ่งดูลมที่กำลังเข้า กำลังออกตามปกติ โดยที่เราก็ไม่ได้กลั้นใจ ไม่ได้ดึงลมให้ยาว ให้สั้น แต่ลมหายใจก็จะยิ่งเบา ลงเรื่อย ๆ ทีนี้ ถ้าไม่มีครูบาอาจารย์คอยแนะนำ เราอาจจะคิดว่า เอ… ยังไง ยังไง อยู่นา นี่…???

ไม่ต้องกลัว ไม่ต้องลุกไปถามท่านอาจารย์ เราก็นั่งอยู่ในท่าเดิมนั่นแหละ เราก็ถือว่า เป็นของมันเอง เป็น เรื่องธรรมดา ของการดูลม

วิธีการแก้ก็คือ เราต้องค่อย ๆ ย้อนคิดดูแบบตื้น ๆ ว่า คนที่ไม่หายใจ ก็คือ คนที่ดำอยู่ใต้น้ำ เท่าแหละที่จะไม่หายใจ หรืออยู่ในท้องแม่ คนที่เข้าฌาน ๔ เท่าแหละที่จะไม่หายใจ คนที่สลบสไล ( ตายคืน ) คนที่ได้รูปภพ และอรูปภพ ( พวกพรหมที่มีรูป ที่เกิดจากผู้ที่ได้ฌาน ๔ และ พวก อะรูปพรหม ) คนที่เข้านิโรธสมาบัติ ( พระอนาคามี และพระอรหันต์ ที่ได้ฌาน ๘ ท่านนั้น ที่เข้าได้ ) แล้วก็คนตายเท่าแหละที่จะไม่หายใจ ส่วนเรา เหรอ?...... ก็ยังนั่งอยู่นี่ไง ยังไม่ตาย ไม่ได้ดำน้ำ อยู่นอกท้องแม่แล้ว ไม่ได้สลบ ยังไม่ได้ฌาน ๔ เลย

แล้ว เรามี ความรู้สึก ว่าลมหมด ตัวความรู้สึก ว่า ลมหมดนี่ละ คือสิ่งที่จะไม่ทำให้เราตาย เราจะรอดก็เพราะความรู้สึกว่า ลมหมดนี่แหละ หลวงปู่ชา ท่านบอกไว้ว่า ให้จับ ผู้รู้ไว้ ผู้รู้ ก็คือ ความรู้สึก ว่าลมหมดนี่เอง ผู้รู้นี้เองคือสิ่งที่อยู่กับเรา เราจะไม่เป็นอันตรายอะไร หรอก แล้วก็เอาสติจ้องดูลม ให้จ้องดูอยู่ที่จุดที่เราเคยเห็นลม ในคราวก่อนที่ลมจะหมดไปนั่นแหละ ดูจุดที่เราเคยจับลมได้นั่นแหละ ไม่นานหรอก ลมก็จะกลับคืนมา หายใจเข้า ออก ตามเดิม

แล้วเราก็จะเข้าใจเองว่า อ๋อ… ที่แท้จริงแล้ว เราขาดสติ ใจลอยไป หรือเผลอม่อยหลับไป (ต้องแก้ด้วยการหายใจเข้าออกแรง ๆ จนกว่าจะจับลมได้) ก็เลย ทึกทักเอาว่า ลมหมด เพราะว่า เมื่อก่อนจะนั่งสมาธิ ตอนเราเดินไป มา ทำการทำงาน เราก็ไม่ค่อยจะรู้ว่าตัวเอง ว่า เราหายใจอยู่ หรือเปล่า? ไม่เคยสังเกต ไม่เคยจ้องมองดู ( เอาใจ คือสติ จ้องมอง ไม่ใช่ เอาตามอง ) ก็ยังเคยเป็น นี่หายสงสัย ก็เลยไม่ หวาดเสียว ไม่กลัวตาย จากอาการที่ว่า ไม่หายใจ

ส่วนถ้าได้ฌาน ๔ ก็จะไม่หายใจ (ในความรู้สึก ) มีความรู้สึกว่า ไม่หายใจ เพราะว่าจิตเราละเอียดมาก สบายมาก เพราะไม่มีวิตก วิจาร ปีติ สุข ก็ไม่มีทั้งนั้น ก็เลยมีแต่ เอกัคคะตาจิต กับ อุเบกขา ตามองค์ของฌานที่ ๔ เท่านั้น ทีนี้จิตก็เลยไม่สนใจกับลมหายใจที่กำลังเข้าออก และตามปกติลมก็จะเบาอยู่แล้ว ทั้งนี้ ก็เพราะว่าเรานั่งอยู่เฉย ๆ ไม่ต้องกด ต้องเกร็ง ไม่ต้องใช้กำลังมาก ลมก็เลยเบา ๆ

อ๋อ..... แต่ในขณะนี้ เรากำลังฝึกสมาธิให้จิตสงบ มีสติ ดูลมอยู่ตลอด จนลมเริ่มเบา ๆ เย็น ค่อย ๆ ลงไป แผ่วเบา จนแทบจะหมดไปจากความรู้สึก ตามบทสวดในอานาปานะสติสูตร ที่กล่าวว่า

“ เราเป็นผู้ทำกายสังขาร ( ร่างกายที่ไม่โยก และลมหายใจ ) ให้รำงับอยู่ ,

จัก หายใจ เข้า หายใจออก, ”

ก็เลยไม่ตกใจ อะไรเลย เพราะว่า ถ้ามีอารมณ์ ตกใจ หวาดเสียว แทรก ในอารมณ์สงบ อารมณ์เดียวของสมาธิ แล้ว สมาธิก็ถอน

๕. อย่าตื่นเต้น ต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในทางกาย เช่น มีอาการเย็น เบา ร่างกาย หรืออวัยวะบางส่วน เช่น แขน ขา หัว เอวหายไป ในความรู้สึก แต่จริง ๆ ร่างกายก็ยังอยู่ครบทุกส่วน หรืออาจจะกระตุกนั่น คันนี่ เหมือนมีอะไรไต่ไปมาอยู่บน ใบหน้า แขนขา บางทีก็น้ำตาไหล เหมือนกับมีลมพัดผ่านร่างกาย ซึ่งส่วนมากก็เกิดจากปีติ เกิดในทางที่ดี ก็มี เกิดจากกิเลส ก็มี และเมื่อเกิดมีบางอย่างทางจิต เช่น เกิดปีติ ความเย็นทางใจ ความตื้นตัน เกิดนิมิต ทำให้ เห็นภาพ เทวดา เห็นพระ บางท่านก็เจอกับความสงบ ความว่างความเย็น ชนิดที่ที่บรรยายได้ยาก

หลวงปู่ ชา เคยสอนไว้ว่า ความสงบ ก็ดี วิตก วิจารณ์ ปีติ สุข เอกัคคะตา สมาธิ ศีล ปัญญา เหล่านี้ ไม่มีชื่อ ไม่มีป้ายบอก จะมีก็เพียงแต่ อาการของสิ่งเหล่านั้นเกิดขึ้นให้สัมผัสทางกาย และใจได้ เท่านั้น เพราะฉะนั้น ก็อย่าตกใจ ว่าจะต้องตื่นเต้น ว่าจะต้องรีบแสดงความดีใจ จะต้องรีบไปบอกท่านอาจารย์ ต้องรีบไปพูด ไปรายงานให้คนอื่นฟัง อารมณ์เหล่านี้ เราไม่ต้องไปตื่น

เพราะว่า ทุกสิ่งเกิดได้ ก็ต้องดับได้ หลวงปู่ชา สอนว่า ให้จับ ผู้รู้ ไว้ ให้จับผู้ที่ไปรู้ จับผู้ที่ไปเห็น รูป ภาพ จับผู้ที่ไปรู้กลิ่น จับ ผู้ที่ได้ยินเสียง จับ ผู้ที่รับรู้รสชาติ ผู้ที่รับรู้การสัมผัสว่า เย็น แข็ง นิ่ม ร้อน อ่อน ไว้ให้ได้ จับผู้ที่รู้ว่า เรากำลังคิด ผู้รู้ ที่ไปรู้ว่า เราดี เราชั่ว เรากำลังพูด กำลังมอง กำลังคิด จับผู้รู้ที่ไปรู้ ในตอนที่เรากำลังอยากดี โกรธ อิจฉา ฯลฯ ไว้ให้ได้ แล้วภาพ อาการเหล่านั้น ซึ่งส่วนมากจะเกิดจากสัญญา ( ความจำ ) เก่า ๆ ก็จะไม่มีอันตราย ต่อเราเลย……… เพราะว่า.........มันไม่แน่

แต่เหตุ ที่ทำให้สมาธิถอน ก็เพราะ อารมณ์ความตื่นเต้น ไปรบกวนอารมณ์ที่สงบ อารมณ์เดียว ของสมาธิ

๖. ให้ระวังร่างกายจะงอ ท่านเรียกว่าความเกียจคร้านทางกาย หลังก็งอ คอก็งุ้ม เอียงซ้าย เอียงขวา มือหลุดจากหน้าตัก อย่างนี้ต้องระวัง จะหลับ ต้องตั้งสติ แล้วยืดร่างกายที่ผิดจากท่าตอนเริ่มต้น ให้เข้าสู่ท่านั่งที่กล่าวไว้ในตอนเริ่มนั่ง คือต้องตั้งร่างกายให้ตรง กระดูกสันหลังทั้ง ๑๘ ท่อนตั้งตรง ( กระดูกสันหลังของคนเรานั้น จะมีอยู่ทั้งหมด ๒๖ ท่อน ท่อนที่ไม่ตั้งตรงจะอยู่ที่ก้านคอ ต้นคอ และอยู่ที่ก้นกบ ) ให้มีสติที่มั่นคงอยู่ต่ออารมณ์ที่เป็นปัจจุบันเสมอ ๆ หรืออาจจะ เอาสติไว้แถว ๆ ใบหน้าของเรา เช่น ที่ ตา จมูก ริมฝีปาก ลูกตา ปาก คาง ลิ้น กระหม่อม ที่ปลายจมูก ที่ริมฝีกปากบน ถ้าเราดูลมซึ่งจะมีอาการร้อน ๆ เมื่อหายใจออก และลมหายใจจะเย็น ๆ เมื่อหายใจเข้า จะรู้สึกได้จากจุดที่ลมหายใจกระทบ เช่น ที่ปลายจมูก หรือที่ ริมฝีปากบน ฯลฯ หรือตั้งสติต่ออารมณ์กรรมฐานของเราดีๆ เช่น ตั้งสติจดจ่อ ต่อ พุทโธ ธัมโม มรณะ อุปสะมะ ( นิพพาน) สติจดจ่อทอยู่ที่ลมหายใจที่กำลังเข้า กำลังออก ยุบหนอ ต่อ คำที่เรานำมาบริกกรรม นำมาท่อง เพ่งต่อดวงกสิณ เพ่งมองภาพอสุภะ เพ่งเจริญพรหมวิหาร ต่ออกรรมฐานทั้ง ๔๐ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่ตนถนัดต่อสิ่งที่เรากำลังเพ่งมอง ทั้ง ที่อยู่ภายนอกร่างกาย และที่อยู่ภายในร่างกาย เพื่อแก้อาการหลังงอ ตัวเอน ตัวสั่น บิดไปมา ถ้าร่างกายกระสับกระส่าย หด งอ ดิ้น กระตุก ผงกหัว แล้ว จิตก็ส่ายด้วย ทำให้สมาธิถอน

๗. อย่ากำหนด แรงเกินไป อย่า ซีเรียส เกร็ง หน้านิ่ว คิ้วขมวด กลัดกลุ้มเกินไป ลุ้น ว่า ต้องอย่างนั้น ต้องขนาดนี้นะ ต้องได้ ต้องสงบ ฯลฯ อย่าขยันเกินไป เช่น การดูลมหายใจ ก็เพียงแต่ประคองสติให้อยู่กับลมอย่างพอดิบพอดี ๆ ไปเรื่อย ๆ ไม่กด เกร็งที่ใด ๆ ทุกส่วน ตั้งแต่หัวจรดเท้า เช่น ที่กระบอกตา ที่ระหว่างคิ้ว ที่หน้าอก ที่กระดูกสันหลัง ที่ท้อง ที่ใจ ที่ความรูสึก ที่มือ เท้า เข่า ปาก ฟัน คาง เหมือนการจับนกตัวเล็ก ๆ ถ้าเราจับแรง ๆ นกนั้นก็จะตายได้ ในที่นี้ นกก็คือ ลมหายใจ มือที่จับก็คือ สติ ถ้า กำหนดแรงเกินไป สมาธิก็จะถอน

๘. อย่ากำหนดกรรมฐานผ่อนเกินไป เช่นการดูลม การท่อง การจ้องที่ดวงกสิณ ที่ผ่อน เบา น้อยเกินไป อย่ากระทำแบบย่อหย่อน เช่น กำหนดูลมก็ดูลมน้อยไม่ค่อยตั้งใจเท่าที่ควร จะทำให้สติขาด หรือหลับ เหมือนการจับนกที่เป็น ๆ ในมือที่หลวม ๆ นกนั้นอาจจะหลุดมือได้ การกำหนดกรรมฐานอันใดอันหนึ่ง ใน ๔๐ วิธี ต้องกระทำให้พอดี ต้องอย่าให้เบาเกินไป เดี๋ยวสมาธิก็หลุดได้

๙. ถ้าหากมีสิ่งมากระซิบทางใจ ในเรื่องที่ไม่ดี เรียกว่าตัณหา เช่น จะบอกเรา กระซิบว่า พอแล้ว ได้แล้ว หยุด เหนื่อยแล้ว ง่วงแล้ว อยากได้นั่น อยากเป็น เห็นอันนี้ ฯลฯ เหล่านี้อย่าไปหลงเชื่อ เพราะจะกลายเป็นอารมณ์อื่นดังที่ว่ามา แทรกในสมาธิที่กำลังสงบ จะต้องอดทน ไม่หลงชื่ออารมณ์ที่ไม่ดี ที่จะพาเราให้ขี้เกียจ พาเลิก พาท้อถอย พาโกรธ พาโลภ พาหลง พาอิจฉา ฯลฯ ให้พยายามกำหนดกรรมฐานของเราต่อไป ๆ ๆ ๆ อย่างใจเย็น ทำเป็นไม้รู้ไม่ชี้กับอารมณ์ที่ไม่ดีเหล่านั้น ก็จะสำเร็จได้

๑๐. เกิดความสนใจหลาย ๆ อย่างในสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น เห็นนิมิตแล้ว เห็นรูป แล้ว ก็อยากเห็นมาก ๆ หลาย ๆ อย่าง อันนี้ทำให้สมาธิถอนได้ เพราะมี ความคิดอยาก ซ้อนเข้าไปในอารมณ์สงบของสมาธิ อย่าลืมว่า อารมณ์สมาธิต้องมีอารมณ์เดียว เท่านั้น

๑๑. อยากเพ่งอยากดูสิ่ง ๆ เดียว เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น อยากจะเห็นนิมิต ภาพของญาติที่ตายไปแล้ว อยากจะดูดวง ดูหวย ลอตเตอรี่ อยากเห็นโน่น ต้องการเจอนี่ ๆ ที่จะเพ่งอย่างเดียว จะดูรูปอย่างเดียว ๆ แล้วจะทำให้สมาธิขาดหรือถอนได้ เพราะมี ความคิดอยาก หรือกามฉันทะ จะดูนั่นเองไปปิดกั้นอารมณ์สงบ อารมณ์เดียว ของสมาธิ ทำให้สมาธิถอนได้

ทั้ง ๑๑ รายการที่ทำให้สมาธิ ถอน นี้ น่าศึกษาไว้นะ สำหรับเราชาวกรรมฐาน เพื่อแก้ไข อาการสมาธิไม่แนบแน่น จนไม่สามารถเห็นรูป หรือภาพต่างๆ ได้ ถ้ารู้ก็เป็นพหูสูตได้แล้ว เพราะการที่จะบรรลุสมาธินั้น จะต้องเป็นพหูสตด้วย เรื่องนี้มีอยู่ใน อุปักกิเลสสูตร ในมัชฌิมะนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุตตันตปิฎก ซึ่งมีต้นเค้ามาจาก ท่านพระอนุรุทธะเคยปฏิบัติอยู่กับเพื่อนภิกษุอีก ๒ รูป ในป่าที่วิเวกดีมาก ก็มาจากที่ท่านเห็นรูปบ่อย ๆ เมื่อครั้งฝึกสมาธิ นั่นเอง ไปเปิดดูเองก็ได้ แล้วเกิดมีปัญหาในเรื่องสมาธิ ว่า เห็นภาพ รูป บ้าง ไม่เห็นรูป ภาพ บ้าง แล้วจะทำอย่างไร ? แล้วก็ได้คำแนะนำจาก พระพุทธเจ้า ว่า ให้แก้ด้วยวิธการทั้ง ๑๑ ข้อ ดั่งที่ว่ามาแล้วนี้

จบ. ๑๑ ข้อ .. จาก อุปักกิเลสสูตร พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๒ เล่มที่ ๒๓ ข้อที่ ๔๓๙ หน้า ๑๒๔ จากชุด ๙๑ เล่ม

การฝึก ปัญญา ในท่า จงกรม

หลังจากนั้นได้ทดลอง ??

เนื่องจาก ได้สังเกตเห็นว่า ( เพราะว่า ช่วงนี้ ได้พยายาม ดูจิตตัวเอง มาตลอด ) ไม่มีกามราคะ ( กิเลส เกี่ยวกับ เพศ ตรงกันข้าม เกี่ยวกับ สิ่งของ ) มารบกวน ในอารมณ์ปกติ ยกเว้นในฝัน อารมณ์โกรธ ก็หาแทบจะไม่เจอ

……….. แต่ว่า การภาวนา ก็ยังไม่หลุดพ้น ( ยังไม่เป็นพระอรหันต์ ยังไม่บรรลุนิพพาน ) สักที

การพิจารณา รูป หรือ ร่างกาย

และแล้ว … วันนั้น ( วันที่ ๑๕ ก. ค. ๓๙ ) ได้ เกิดความน้อยใจ ว่า การภาวนาของตัวเอง ไม่ก้าวหน้า .. จะ ตรงกับ บทสวด การพิจารณาของ บรรพชิต ที่ว่า

“ วันคืน ล่วงไป ล่วงไป ในเมื่อ เรากำลังเป็นอยู่ใน สภาพเช่นไร ดังนี้ ”

.. อีก อย่างคือ นักบวช บรรพชิต ควร คิดว่า

“ บรรพชิตพึงพิจารณาเนือง ๆ ว่า ญาณทัสสนะวิเศษ อันสามารถกำจัดกิเลส อันควรแก่พระอริยเจ้า อันไม่ใช่วิสัยธรรมดาของมนุษย์ ( อุตตริมนุสสธรรม ) ที่ เราได้บรรลุแล้ว มีอยู่ ใน กาย ใน ใจ เรา อยู่ หรือหนอ เพื่อ เรา จะไม่ต้องเป็น ผู้ที่ เก้อ เขิน เมื่อ ถูก เพื่อนนักบวช ถาม ในภายหลัง ”

ก็เลย คิด ตัดสิน ใจ ว่า

“ ตายเป็นตาย ถ้า ไม่บรรลุนิพพาน จะไม่ยอม ”

…. และได้ยอม ให้ มีความกำหนัด ยินดี กระสัน เงี่ยน เกิด ขึ้นมา ในใจ ในขณะที่เดินจงกรมอยู่ ที่ทางจงกรม หน้าศาลาบนภูเขา ที่สำนักสงฆ์เต่าดำ ... ( ตามปกติ ส่วนมาก จะ ใช้ อสุภะ จะใช้การ สำรวม เป็นตัว ควบคุม ความกำหนัด ไว้ ใน ระดับ ที่ปลอดภัย ไม่ให้ ความกำหนัด เกิด ขึ้น )

วันนั้น ใส่สบง ( ผ้านุ่ง ) กับ อังสะ

.... แต่ ก็ มีข้อแม้อยู่ว่า ทั้งนี้ก็จะต้องอาศัยความมั่นใจ ในการฝึกสมาธิที่ตัวเองได้เคยฝึกมา ว่า คงจะไม่มีอันตราย จากการคิดถึง สุภะ หรือ ความงาม เพราะปกติเป็นคนรักศีลมาก

โดยส่วนมากแล้วจะไม่กล้าคิดถึง ความงาม ( สุภะ ) แต่ จะพิจารณา คิดถึงอาการ ๓๒ ของอวัยวะในร่างกาย ว่า สกปรก มีข้อเสีย ( อสุภะ ) เป็น ส่วนมาก

.. และมีความกลัวอาบัติ คือความผิด ในเรื่องเกี่ยวกับ ผู้หญิง มากยิ่งกว่า กลัว ผี ซะอีก

ตาม ปกติ

การ พิจารณา ร่ายกาย การพิจารณา อสุภะ เพื่อ แก้ ความกำหนัด นั้น ใน ทุก ๆ ท่า ทั้ง ท่ายืน เดิน นั่ง ท่านอน .. นิยม พิจารณา ร่างกาย ของ เพศ ที่ไม่เกิด ความกำหนัด ยินดี .. ไม่นิยม พิจารณา ในร่างกาย ของ ผู้ ที่จะ ทำให้ เกิด ความกำหนัด เช่น ชาย ก็ พิจารณา ร่ายกาย ของ ชาย ... หญิง ก็ พิจารณา ร่างกาย ของ หญิง ... ยกเว้น ประเภท ชาย ชอบ ชาย .. หญิง ชอบ หญิง ก็ ต้องเลือกใน ร่างกาย ของคน ที่ไม่ให้เกิด อารมณ์ ความต้องการ ทางเพศ เช่น ชาย พิจารณา ร่างกายของ หญิง กรณี ชาย ชอบชาย .. หญิง พิจารณา ร่างกายของ ชาย กรณี หญิงชอบหญิง

ที่กล้าคิดถึงความงาม ก็เพราะว่า มีความ มั่นใจในพลังของ สมาธิ นั่นเอง

ถ้า ยังไม่ได้ ฝึกสมาธิ ก็คงไม่กล้าที่จะคิดถึง ความงาม เลย… นี่ สำคัญ

และก็เป็นการทำเพื่อ จะ ฆ่ากิเลส ไม่ใช่ ทำเพื่อ จะ เพิ่มกิเลส

ดังนั้น วันนี้ ( ประมาณ วันที่ ๑๕ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๓๙ เวลา ประมาณ ๖ โมง เย็น ที่ ศาลาบนภูเขา ณ สำนักสงฆ์ เต่าดำ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ สาขาของของวัดป่านานาชาติ ( วัดป่านานาชาติ เป็นสาขาที่ ๑๙ ของวัดหนองป่าพง ) ขณะ ที่ กำลังเดินจงกรม ที่ทางจงกรม ที่อยู่ ระหว่าง ทิศเหนือ กับ ทิศใต้ ที่บริเวณ หน้าศาลา บนภูเขา .. วันนั้น นุ่งสบง กับ อังสะ ........ ..............................................................................................

ได้ทดลอง ใช้ สัญญา ( ความจำ ) ที่ มีอยู่ แล้ว ที่เป็น ความจำ ที่ เก่า ๆ ย้อน นำ เอา สัญญา นั้น มา ระลึกถึง ความ ดี งาม สวย คือ คิดถึง สุภะอารมณ์ ( อารมณ์ที่ สวย งาม ) ของสิ่งของ เครื่องใช้ ของเพศตรงกันข้าม โดยคิด อารมณ์สุภะ

โดยการ ทำบ่อย ๆ คิดบ่อย ๆ

เมื่ออารมณ์ สุภะ หรือ ความงาม หายไป ก็กำหนด ระลึก สุภะ ขึ้นมาใหม่อีก ครั้น หายไปก็ทำใหม่ คือ กำหนด คิด สุภะ ขึ้นมาอีก เรื่อย ๆ เพื่อจะฆ่ากิเลส ฆ่าราคะ เพื่อจะดูว่า ราคะคืออะไร ? มาจากไหน สาเหตุมาจาก ? วิธีฆ่าราคะ? วิธีทำไม่ให้ ราคะเกิดอีก เมื่อฆ่าราคะแล้ว .. มีเวทนา ร่วมกับ ราคะ ไหม??

ผลปรากฏ ว่า ใจ จะเกิดความกำหนัดก่อน แล้ว จึง จะส่งผลไปที่ ร่างกาย เช่น ลมหายใจจะหยาบ แรง เจ็บที่หน้าอก หน้าท้อง ที่อวัยวะเพศ แต่ก็ทน เพราะว่า เป็นการทดลองทำเพื่อการฆ่ากิเลส ไม่ใช่ทำเพื่อจะให้เกิดกิเลส จากอาการที่ กำหนัด นี้เอง

ทำให้ ใจ เริ่มรู้จัก ..... อย่างเป็นจริง ( วิปัสสนา )

กับ อารมณ์ ของการ วิปัสสนา คือ

ใจ เริ่มรู้จัก ร่างกาย ( รูป ) +

ใจ เริ่มรู้จัก กับ อารมณ์ ของการ วิปัสสนา คือ นาม ( ความรู้สึกนึกคิด )

หรือ เรียก รูป เรียก นาม ทั้ง สอง นี้ว่า ชีวิต หรือเรียกว่า รูปนาม หรือเรียกว่า มนุษย์ คน

รูป คือ

ร่างกาย แขน ใบหน้า ท้องที่เกร็ง ลมหายใจที่สะดุด ใจ ที่สั่น ปากสั่น มือสั่น อวัยวะเพศที่เกร็ง เอ็น หนังตา คิ้ว ตา ผิวหนัง ที่หด สั่น แข็ง อ่อน เย็น ร้อน กระตุก สยิว ทนได้ยาก ยาก ยาก… จัดเป็น รูป

นาม คือ

ใจ เริ่มรู้จัก เวทนา ที่มีอาการ สุข ทุกข์ เฉยจริง ๆ …. จัดเป็น นาม

ใจ เริ่ม รู้จัก สัญญา ที่จำเรื่อง เก่า ๆ มา จริง ๆ .... จัดเป็น นาม

ใจ รู้จักกับ สังขารที่ ปรุงแต่งไปทางดี ทางชั่ว ทาง กลางๆจริง ๆ… จัดเป็น นาม

ใจรู้จัก วิญญาณ ทั้งวิญญาณที่รู้ทางอวัยวะทางร่างกาย และ ทั้งวิญญาณที่รู้ทางใจอยู่ ในขณะที่กำลังเจอกับความกำหนัดนั้นๆ… จัดเป็น นาม

โดยรู้ ขันธ์ ๕ ใน ขันธ์ ๕ อย่างจริง ๆ ไม่ใช่ จำมาจากตำราเรียน ไม่ใช่ จำมาจากพระไตรปิฎก เพราะว่า

เคยอ่านพระไตรปิฎกภาษาไทย ชุด ๔๕ เล่ม ปกสีน้ำเงิน จนจบทุกเล่ม มาก่อนแล้ว ( ใน ช่วง หลัง จากวัน มาฆบูชา ของ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ )

ก่อนที่จะมาเจอ ความจริง ๆ มาสัมผัสอาการของขันธ์ ทั้ง ๕ อย่าง แบบจริง ๆ จะ จะ แจ่ม แจ้ง ๆ ในวันนี้

และ มารู้ว่า การรู้จากการ อ่านพระไตรปิฎก กับ การเจอในความจริง ในจิต นั้น ต่างกัน……. แต่ ก็ จะ ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน

คือได้ รู้ว่า ขันธ์ ๕ มีอาการที่ อนิจจัง คือ ไม่แน่ ... ชั่วคราว ... แปรเปลี่ยนไปมา ... ตรงกันข้ามกับ ความเที่ยง ( เช่น ความไม่เที่ยง นั้น จะมีอาการที่ ตรงกันข้ามกับ ความเที่ยง ที่เคยเจอกับ ความสุข ในการฝึกสมาธิ )

ได้ รู้ว่า เกิดความทุกข์ในขันธ์ทั้ง ๕ คือ ทุกข์ นั้น จะ มีอาการที่ ทนได้ยาก ... ขัดแย้ง ... บีบคั้น ... ทรมาน ... ไม่มีสุข ... ตรงกันข้ามกับ ความสุข ( เช่น ความทุกข์ นั้น จะมีอาการที่ตรงกันข้ามกับ ความสุข ที่เคยเจอกับ ความสุข ในการฝึกสมาธิ )

แต่ตอนนี้จิตก็ยังไม่มีอาการรู้ ว่า หลุดพ้น ยังคลุมเครือ ในใจ ตัวเอง

ก็เลยคิดเหมาเอาเองว่า เอ… พระอริยะ มรรค ผล นิพพาน

และ โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ จะหมดแล้ว มั้ง ?

แต่ก็ไม่ถอย ยังได้ ฝืน คิด ระลึก กำหนด สุภะ คือ ความงาม ขึ้นมาอีก อย่างอดทน ใจเย็น มีสติ

ในช่วงนี้ ถ้า เกิดมี กิเลส เกิดความกำหนัดมาก ๆ จนจะทนไม่ไหว สั่น สยิวมาก ร้อนไปทั่วร่างกาย

ก็จะหา วิธีการที่จะ บรรเทา ป้องกัน กามกิเลส กันราคะ ก็คือ

เรื่องท่าทางในการเป็นอยู่ของร่างกาย

ตามปกติ ในการเดินจงกรมนั้น จะใช้มือซ้ายกำหลวม ๆ ทับที่มือขวา ปล่อยแขนทั้งลงสุด ๆ ลำตัวตั้งตรง ไม่ก้มหน้า มองหน้าตรง สายตาทอดลง ห่าง จาก ลำตัวไปข้างหน้าประมาณ ๙ คืบ เดินไม่ช้า ไม่เร็ว มีสติ ไม่มองโน่น มองนี่ ..

เมื่อ สถานที่ จงกรม พร้อม ตัดความกังวล ทั้งหมด หันมาสนใจ ตัวเอง

ก่อนอื่น ยืนที่ ปลายสุดของทางจงกรม แล้ว ระลึก ถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นการ ไหว้ ครู ก่อน ...

แล้ว แผ่เมตตา ให้เกิด ความสุข ให้แก่ ทุก ๆ สัตว์ ทุก ๆ สิ่ง ใน ๓๑ ภูมิ ...

แล้ว เริ่ม ก้าวเดิน ที่ขาข้าง ขวา ก่อน พร้อมกับ กล่าวในใจ ว่า พุท พอ ก้าว ขาซ้าย ก็ กล่าวในใจ ว่า โธ ... ขวา พุท ซ้าย โธ ๆๆ ไป เรื่อย ๆ เดิน พอดี ๆ ไม่ช้า เกินไป ไม่เร็วเกินไป พอเดินไป ถึง ปลายสุด ของทางจงกรม ก้ หยุด แล้ว ก็ หันไปทางขวา ( ขวาหัน ) หมุนกลับมา ที่ทางจงกรม แล้ว เริ่ม ก้าวขาขวา ก่อน พร้อมกับ กล่าว คำว่า พุท ใน ใจ พอก้าว ขาซ้าย ก็ กล่าว คำว่า โธ ในใจ ๆๆๆ เดินไป เรื่อยๆ จน ถึง ปลายสุดของทางจงกรม ก็ หันกลับ ทางขวาอีก เริ่ม ก้าว ขาขวา ก่อน .. เดินจงกรม ไป เรื่อย จะ เมื่อจิต สงบ เป็นการฝึก สมาธิ ล้วน ๆ ก็ ได้ หรือ เมื่อ จิตสงบ เป็น สมาธิ แล้ว ก็หันมา ใช้ปัญญา พิจารณาธรรม ก็ได้ หรือจะ เริ่ม พิจารณา ธรรม เป็น วิปัสสนา ล้วน ๆ ก็ได้ เดิน ไป จน ถึง เวลา ที่ สมควร พอ ตอน จะเลิก ก็ ทำเหมือน ตอน เริ่ม คือ ยืนที่ ปลายสุดของทางจงกรม แล้ว ระลึก ถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นการ ไหว้ ครู ... แล้ว แผ่เมตตา ให้เกิด ความสุข ให้แก่ ทุก ๆ สัตว์ ทุก ๆ สิ่ง ใน ๓๑ ภูมิ อีกในตอน ก่อนจะเลิก จาก เดิน จงกรม ….. นี่เป็นหลักในการเดินจงกรม ทั่วไปๆ

อานิสงส์ของการเดินจงกรม จาก จังกะมะ สูตร อังคุตตะระนิกาย ปัญจะ

( พระพุทธเจ้า ตรัสสอนว่า ) ดูกร ภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในการเดินจงกรม ๕ ประการนี้ ใน ๕ ประการนี้ เป็นไฉน ?..

1. คือ ภิกษุผู้เดินจงกรม ย่อมเป็นผู้ที่มีความอดทนต่อการเดินทางไกลที่มีระยะทางไกล ๆ อดทนกับระยะเวลาที่ยาวนาน ทำงานได้ทน ทนได้ทุกงาน เมื่อเราอดทน จะเป็นทางไปสู่สวรรค์ นิพพาน ทำให้คนทั่วไปยอมรับนับถือในความอดทน ใจเย็น รอบคอบ ไม่บุ่มบ่าม มีเหตุ มีผล อีกทั้งเทวดาก็รักเรา เมื่อเรา มีความอดทนฯ

2. ย่อมเป็นผู้อดทนต่อการบำเพ็ญเพียร ทนต่อการภาวนา ฝึกกรรมฐาน ทนการถือธุดงค์ ทนต่อความเพลีย ความโกรธ โลภ หลง อิจฉา ทนต่อมานะที่เป็นกิเลส ทนการทดสอบ ทนยอมรับฟังคำสอนได้อย่างเข้าใจดี ทนต่อการนั่ง ยืน ก้ม เงย ทนต่อการฟังเพื่อฆ่ากิเลสให้บรรลุธรรมได้ง่าย ๆ ไม่เมื่อย ไม่ขัด ยอก ไม่บ่น ไม่ท้อแท้ ไม่รำคาญ มีใจที่เพลิดเพลินในการภาวนาฆ่ากิเลสฯ จนกว่าจะบรรลุนิพพาน ที่แสนสุข สบาย

3. ย่อมเป็นผู้มีอาพาธน้อย ไม่ป่วย ไม่อ้วน ไม่ฉุ ไม่อ่อนแอ หุ่นดี สมส่วนสัด น่าดู น่าชม แข็งแรง เข้มแข็ง ทำงานได้แทบทุกอย่างที่ไม่ผิดศีล ว่องไว รวดเร็ว กระฉับกระเฉง ไม่อืดอาด ไม่ง่วงนอน ฯ

4. อาหารที่กินดื่ม เคี้ยว ลิ้ม ฉัน รับประทานแล้วย่อมย่อยได้ง่ายดี ทำให้อายุยืน เพราะอาหารย่อยง่าย เพิ่มการออกกำลังกาย บริหารกาย สุขภาพดี ฯ จากหลักการนี้ แพทย์ในปัจจุบันก็น่าจะเอาไปจากหลักการที่ พุทโธ ( ซึ่งท่านเคยเป็นอดีตนายแพทย์ใหญ่ ) ได้นำมาสั่งสอนไว้ในพระไตรปิฎกมาก่อนๆ แล้ว นี่เอง

5. จิตที่เป็นสมาธิที่ได้เพราะการเดินจงกรมนี้ ย่อมจะตั้งสมาธิอยู่ได้นาน ทรงสมาธิอยู่ได้นาน นิมิตก็แน่วแน่ เพราะว่า ถ้าได้สมาธิ ได้ความสงบ ได้ปีติ หรือได้นิมิตจากการเดินจงกรมซึ่งเป็นท่าที่เคลื่อนที่ เดินกลับไป กลับมา ๆ แล้ว เมื่อจะไปนั่ง ไปยืน นอน หรือท่าอื่น ๆ การรักษา การทรงสมาธิไว้ก็จะทำได้ง่าย เพราะเป็นท่าที่ไม่ต้องเคลื่อนที่ เป็นท่านิ่งๆ ใจก็จะมีความแน่วแน่ ใจที่มีสมาธิแล้ว จะทนต่อการกระทบทางตากับรูป หูกับเสียง จมูกกับกลิ่น ลิ้นกับรส ทางร่างกายกับการแตะต้องสัมผัส กระทบ และทนในทางใจที่คิดๆ ทนต่อผัสสะต่างๆ เมื่อเราจะไปนั่ง ยืน ไปทำวัตร ไปทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา เช่น นักเรียน นักศึกษา หรือไปภาวนา ไปทำงานอื่น ๆ อ่านหนังสือ อ่านพระไตรปิฎก พิจารณาธรรมตามบทธรรม ต่างๆที่เราสนใจ เพื่อให้บรรลุธรรมเร็วๆ ก็จะทำได้ง่าย ราบรื่น ฯ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้คือ อานิสงส์ในการเดินจงกรม ๕ ประการแล

( ผู้ที่เสนอให้พระ และนักภาวนาทั้งหลาย เดินจงกรม ( +โรงอบกาย ๑ ใน วัตร ๑๔ ) ก็คือ หมอชีวก โสดาบัน เมื่อสองพันห้าร้อยกว่า กว่าปีมาแล้ว

เพื่อแก้ร่างกายที่ประกอบด้วยโทษ มีโรคมาก เช่น โรค เสมหะ อ้วน ไขมัน ฯลฯ

จากพระไตรปิฎก วินัยปิฎก จุลวรรค ทุติยภาค เล่ม ๙/๗๙/๒๙ ชุด ๙๑ เล่ม )

ลักษณะของทางจงกรมที่ดี ๕ อย่าง คือ

1. พื้นทางจงกรมที่เรียบ ไม่ขรุขระ ไม่แข็ง ถ้ามีหลุม เป็นแอ่ง แข็งมาก มีหิน ดิน เศษไม้ รากไม้ ตอไม้ เศษกระเบื้องหรืออย่างอื่น มีร่อง เมื่อจะเดิน จะวางเท้าก็ไม่สะดวก จิตก็จะไม่ได้เอกัคคะตา คือไม่เป็นอารมณ์เดียว ไม่ได้สมาธิ จะแก้ฟุ้งซ่านไม่ได้ ข่มกามราคะไม่ได้ กรรมฐานไม่เจริญ บางที่อาจจะเกลี่ยทางเดินด้วยทรายให้พื้นเรียบ ไม่เอียงไม่สะดุด สะดวกในการเดิน แต่ว่า.. พระจะขุดดินเหนียวเองไม่ได้ ก็ให้โยมหรือสามเณรช่วยทำ จะเป็นบุญกับโยมมาก ๆ โดยพระ จะพูดด้วยคำพูดที่ไม่ผิดวินัย ส่วนดินที่พระขุดได้ ไม่ผิดพระวินัย ก็คือ ดินทราย หิน หรือดินที่เพิ่งจะมีการเทใหม่ ๆ ภายใน ๔ เดือน ที่ไม่มีตัวสัตว์เล็ก ๆ ไม่มีต้นไม้ ไม่มีรากไม้ที่ยังไม่ตาย

2. ที่กลางทางจงกรมตลอดสาย ทั้งที่ภายใน ที่ท่ามกลาง และในที่สุดปลายของทางจงกรม ควรจะว่างเปล่า ปราศจากจากต้นไม้ กิ่งไม้ตอไม้ ทั้งเล็ก ทั้งใหญ่ เพราะว่า..... ถ้ามีต้นไม้บนทางจงกรมแล้ว จะกีดขวาง ผู้ที่ประมาท อาจจะโดนกิ่งไม้ทิ่ม ที่เท้า ร่างกาย หน้าผาก ที่ศีรษะได้

3. รอบๆ ข้างๆ ของทางจงกรม ที่ใกล้ ๆ พื้นดิน ก็ควรจะโล่ง ไม่ปกปิดรกชัฏ ด้วยหญ้า เถาวัลย์ ที่รกชัฏ เดินไป เดินมา หันกลับ ได้อย่างถนัด สะดวก เช่น ถ้า มีหน่อต้นไม้เล็ก ๆ มีต้นหญ้า หรือมีเถาวัลย์ ก็อาจจะมีสัตว์ อาจจะมีแมลงต่าง ๆ งู มด หอย ปลวก ไส้เดือน หรืออื่น ๆ มาแอบซ่อนตัวอาศัยอยู่ตามธรรมชาติของสัตว์ หรืออาจจะมากัด มาต่อย หรือเราอาจจะเหยียบสัตว์บาดเจ็บ หรือตาย หรือเกิดความกังวล หรือมีสิ่งที่กีดขวางที่รอบๆ ทางจงกรม ซึ่งอาจจะทิ่ม ชน ตำ เท้า เล็บ นิ้ว ขา เข่า ของผู้เดินจงกรม ทำให้เดินไม่สะดวก อึดอัด กังวล..ฯลฯ ถ้าเป็นพระ พระจะตัดเอง จะเด็ดต้นหญ้า ต้นไม้นั้นๆ เอง และสั่งให้คนอื่นให้ทำ ก็ไม่ได้ วิธีการแก้โดย.. ก็โดยการให้โยมหรือสามเณรมาช่วยทำให้ โดยที่พระจะใช้คำพูดที่ไม่ผิดวินัย เช่น พระจะบอกโยมว่า “ โยมมาพิจารณาที่นี่ให้หน่อย ” หรือเอาเสียม จอบ ไปวางไว้ ให้โยมรู้ว่า พระจะทำอะไร? ( ทำทางจงกรม ) เพื่อเปิดให้โยมได้มีโอกาสสร้างปารมี ทั้ง ๑๐ สร้างทางไปสวรรค์ สร้างสุข ปีติ สร้างนิพพาน ให้แก่พระภิกษุ สามเณร ผ้าขาว ชี โยมและนักจำศีล ภาวนาฯ แต่ ถ้าทางจงกรมที่โล่งรอบๆ การเดินจงกรมก็จะดี จะส่งผลให้จิตเกิดมีสติ ปีติ สมาธิดี เบา สบาย สุข หายห่วง โล่ง เกิดปัญญา ฉลาด จะมองเห็นไตรลักษณ์ทั้ง ๓ แล้ว ก็จะช่วยให้บรรลุธรรมเร็ว.

ไตรลักษณ์ ๓ มี ๑. อนิจจัง = แปรปรวน ชั่วคราว เกิดดับ ไม่เที่ยง ตรงกันข้ามกับ เที่ยง, ๒. ทุกขัง = บีบคั้น ทรมาน ทนได้ยาก ตรงกันข้ามกับ สุข, ๓. อนัตตา = ว่างเปล่า ไม่มีเจ้าของ บังคับตามใจไม่ได้ ไม่ใช่เรา ของเราอย่างแท้จริง ตรงกันข้ามกับ ตัวตน ( อัตตา ) อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

4. ทางจงกรม ต้องไม่แคบจนเกินไป เช่น กว้างแค่ครึ่งศอก หรือ กว้างแค่ ๑ ศอก ซึ่งผู้ที่เดินก็อาจจะตกทางจงกรม หรือว่าเล็บเท้าอาจจะทิ่มที่ข้าง ๆ ขอบทางเดินได้ หรืออาจจะลื่นได้ เกิดกังวลใจกลัวตกได้ ฯลฯ ขนาดความกว้างของทางจงกรม (ที่เดิน) ขนาดเล็ก ก็จะกว้างจากขอบทั้งสองข้างประมาณ ๑ ศอก กับอีก ๑ คืบ ( รวม ๓ คืบ ) ส่วนบริเวณรอบ ๆ ทางจงกรมตลอดทั้งเส้น คือที่ทางด้านข้าง ๆ ทั้งสองข้างที่ต่อจากขอบ จากริมของทางจงกรมออกมา และที่ทางด้านหัว ด้านท้ายทั้งสองข้าง ก็ควรจะกว้างประมาณ ๑ ศอก ( ๒ คืบ ) มีพื้นอ่อนเกลี่ยทรายไว้เรียบเหมาะสม ที่ว่ามานี้ ว่าถึงขนาดทางจงกรมที่เล็ก ( อนุจังกะมัง ) เราอาจจะขยายได้ตามพื้นที่ ที่มีอยู่ ก็ได้

5. ถ้าทางจงกรมที่กว้างเกินไป จิตก็จะส่าย ไม่นิ่ง ไม่มีปีติ สุข ไม่ได้สมาธิ ไม่เกิดปัญญา ส่วนมากใจจะวิ่งไปมาตามขนาดทางจงกรมที่กว้างๆ ใหญ่ๆ เกินไปนั้น ดังนั้น จึงควรจะมีขนาดความกว้างที่พอดี อย่างเล็กก็ประมาณหนึ่งศอกกับหนึ่งคืบ หรือโตกว่า ถ้า ทางจงกรมมีขนาดกว้างเท่าๆ กับถนนที่รถวิ่ง เช่น กว้าง ๔ หรือ ๘ เมตร แล้ว ก็รู้สึกว่าใจจะวิ่ง จะส่าย จะต้องใช้เวลานาน หรือจะต้องใช้ความชำนาญมากๆกว่าที่จะเดินจงกรมให้การฝึกกรรมฐาน+ภาวนาเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์ ( จาก พระไตรปิฎก ในอปทาน ภาคที่ ๒ เล่ม ๗๑ หน้า ๑๙๔ และ จาก พระอภิธรรมปิฎก (เล่มแรก) เล่ม ๗๕ ในอรรถกถา หน้า ๗๕ จากชุด ๙๑ เล่ม )

และความยาวของทางจงกรมจากหัวถึงท้าย ( เท่าที่เห็นจากพระไตรปิฎกในอปทาน ภาคที่ ๒ เล่ม ๗๑ หน้า ๑๙๔ และจากพระอภิธรรมปิฎก ( เล่มแรก ) เล่ม ๗๕ ในอรรถกถา จากชุด ๙๑ เล่ม ) ก็ยาวประมาณ ๖๐ ศอก บางที่จงกรมก็ถึงยาวประมาณ ๑๐๐ ศอก ก็มี ส่วนที่ครูบาอาจารย์แนะนำก็ยาวประมาณ ๑๕ ถึง ๓๐ ก้าว หรือตามที่จะหาได้ อาจจะสั้นกว่า หรือยาวกว่า ก็ได้ การเดินทางไปบิณฑบาตของพระภิกษุสามเณร ก็คือการเดินจงกรม หรือการเดินไปในสถานที่ต่างๆ อย่างมีสติ เช่น การเดินไปที่ทำงาน เดินไปที่สำนักงาน ที่โต๊ะ ที่จุดทำงาน การเดินออกกำลังกาย เดินอยู่ที่บ้าน เลี้ยงเด็ก เลี้ยงสัตว์ การเดินเวียนเทียน เดินเทิดพระเกียรติ เดินการกุศล นักบวชออกเดินรับอาหารบิณฑบาต และ การเดินอื่น ๆ ที่มีสติ ๆ ในการเดิน ที่ใจไม่ลอย ไม่ฟุ้งซ่าน ใจนิ่งกับสิ่งที่กำลังคิด พิจารณา แล้ว การกระทำนั้นๆ ก็คล้าย ๆ กับการเดินจงกรมไปในตัว นั่นเอง

ส่วนความสูงของพื้นทางจงกรม ก็ตามที่จัดหาได้ เห็นอยู่ในประไตรปิฎกบางที่ ก็สูง ประมาณ ๕ ศอก หรืออาจจะต่ำกว่า คือ เป็นพื้นเดียวกับระดับเดิม ๆ หรืออาจจะสูงกว่าระดับเดิม เช่น สูง ๑ คืบ สูง ๑ ศอก หรือจะสูง ๔ ศอก ก็ได้ คือทางที่เดินจงกรมนั้นสูงกว่าระดับปกติ ของพื้นที่ทั่วๆ ไป ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริเวณเดิมๆ นั้นว่ามีพื้นที่ กว้าง แคบเพียงใด สูง เอียง ลาด เท่าไหร่ และหลังคาทางจงกรมนั้น ก็อาจจะมุง หรือไม่มุง จะมีหลังคาสูง หรือต่ำ เอียง ชัน กว้าง ยาว เท่าไหร่ อย่างไร? ก็ให้จัดทำตามพื้นที่ ตามกำลัง ความสามารถ ตามสถานที่ วัสดุ ตามฝน ตามทิศทางของลม ทิศทางของแดดที่มีอยู่ อาจจะมุงด้วยวัสดุอย่างอื่น เช่นแผ่นพลาสติกก็ได้ หรือว่าใช้ต้นไม้ ร่มไม้แทนหลังคา จะอยู่ในที่โล่ง ที่แจ้ง ก็ได้ อาจจะมีที่กันยุง ถ้ายุงชุม มีเทียนให้แสงสว่าง ถ้ามืด หรืออาจจะมีทางสำหรับเดินขึ้น ลงจากที่จงกรม หรืออาจจะมีราวที่ทางขึ้นลงเพื่อจับสำหรับจับพยุงตัวขึ้นลง หรือว่ามีราวยาวตลอดรอบๆ ทางจงกรม สำหรับไว้ให้จับกันล้ม หรืออาจจะมีฟูกปูที่พื้นทางจงกรม หรือจะมีดินอย่างเดียว มีทราย อาจจะฉาบด้วยปูนขาว หรืออย่างอื่น .... อาจจะทำทางจงกรมที่บ้าน ในห้อง ข้างบ้าน ใต้ร่มไม้ กลางแจ้ง ที่ระเบียง ที่ข้างศาลา ในศาลา โบสถ์ กุฎี ในป่า ถ้ำ ในบ้าน ในห้อง ที่ว่าง ๆ ฯลฯ จะมีสิ่งต่าง ๆ ใด ๆ ก็ได้ ตามที่เห็นว่าจะได้สับปายะ ( สัปปายะ คือการช่วยให้ข่ม ฆ่า ละ เลิก กิเลส ได้ ) คือ ตามที่จะสกัดกั้นกิเลสได้ ที่จะป้องกันกิเลส กันนิวรณ์ ๕ ( คือ ๑. กามะฉันทะ ๒. พยาบาท ๓. ถีนะมิทธะ ( ง่วงเหงา หาวนอน ท้อแท้ ) ๔. อุทธัจจะกุกกุจจะ ( ฟุ้งซ่าน รำคาญ ) ๕. วิจิกิจฉา ( ลังเล สงสัย ) ) ได้, ไม่ง่วง ไม่เวียนหัว ไม่เกิดความอยาก ไม่โกรธ ไม่หลง ไม่ท้อแท้ จะทำให้มีศีลดี ศรัทธา มีปีติ มีสุข เบา สบาย จะสร้างสมาธิ สร้างฌาน เจริญสติ สร้างปัญญา ความเพียร ศรัทธา ส่งเสริมความเจริญ ก้าวหน้า ทำให้กรรมฐานดี ฝึกวัตร ๑๔ ได้ดี ฝึกถือธุดงค์จากทั้งหมด ๑๓ ข้อได้ง่าย ทำไห้บรรลุธรรมฝ่ายกุศลจนบรรลุ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ ปริยัติธรรม ๑ ก็ให้ทำ เถิด.. ถือว่าได้สับปายะ

ส่วนทิศทางการเดินจงกรมว่าจะมีทิศทางเอียงขนานไปตามทิศไหน? ทิศทางหัวและท้ายของทางจงกรมนั้น เท่าที่ได้เห็นก็มีในอรรถกถา คือเรื่องที่อธิบายบาลีในประไตรปิฎก จะเห็นได้จากขณะที่พระพุทธเจ้ากำลังเสวยวิมุติสุข หลังจากได้บรรลุนิพพานโดยท่านเอง ท่านได้เป็นพระอรหันต์ใหม่ ๆ แล้วท่านก็ได้เดินจงกรม จากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยได้เดินจงกรมในช่วงอาทิตย์ที่ ๓ ตลอดประมาณ ๗ วัน จากที่เสวยวิมุติทั้งหมดประมาณ ๗ อาทิตย์ คือรวมประมาณ ๔๙ วัน และในวันที่ท่านทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ให้แก่พวกคนนอกศาสนาดู ก่อนที่จะไปจำพรรษาในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในพรรษาที่ ๗ เมื่อท่านมีพระชนอายุ ประมาณ ๔๒ ปี ( ๓๕+๗ = ๔๒ ) ก็มีการอธิฐาน ที่เดินจงกรม จากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อเป็นการพิจารณาอภิธรรม ๗ คัมภีร์ และการแสดงฤทธิ์ในที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเดินจงกรม กล่าวโดยสรุปในส่วนมากแล้ว ท่านก็จะได้ทรงเดินจงกรมบนที่จงกรมที่ทอดจากทางทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เราก็อาจจะเลียนแบบ พุทโธ ก็ได้ ถ้ามีสถานที่พอเพียง เกี่ยวกับทิศทางนี้ ผู้เรียบเรียงมีความเห็นว่า น่าจะขึ้นอยู่กับสถานที่ พื้นที่ บริเวณที่มีอยู่เดิม เท่าที่เห็นในพระไตรปิฎกที่เป็นบาลี เกี่ยวกับการเดินจงกรมของพระ หรือในพระสูตรเกี่ยวกับการจงกรมของพระสงฆ์ ( หรือท่านที่อ่านเจอจากที่อื่น ๆ ก็ขอให้บอกๆ ต่อๆ กันไปด้วยว่ามีเขียนไว้ที่สูตร / เล่ม /ข้อ /หน้า ใด? บ้าง ) ก็ไม่ได้จำกัดว่า เดินจงกรม จากทิศใดไป ทิศใด ถ้ามีสถานที่ตามทางทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกได้ก็ยิ่งดี หรืออาจจะเอาตามหลักการที่ว่า ทางจงกรมที่ดี จะต้อง แสงไม่ส่องหน้า ไม่ส่องตา ไม่มีเสียงอึกทึกรบกวน ไม่มีสิ่งกีดกันไม่มีสิ่งรบกวน ไม่มีคนสัตว์มารบกวน ทางจงกรมบางที่อาจจะทำไห้ง่วงได้ ถ้าไม่โล่ง หรือถ้าทางเอียง หรือขึ้นๆ ลงๆ

หรือทางจงกรมที่สั้นมาก ๆ อ้อมไป มา โค้ง ๆ วน ๆ ที่จะต้องกลับตัวไปมาบ่อย ๆ หรือโค้งเป็นวงแคบ ๆ มาก ๆ ก็อาจจะทำให้เวียนหัว หรือที่จงกรมที่อับ ทึบ มืด ชื้น เย็น ร้อน หนาว ลมพัดแรงมาก ๆ เสียงดังมาก ๆ มีคนผ่านไปมามาก ๆ มีกลิ่น มาก ๆ หรือว่ามีสิ่งที่ทำให้คัน มีควัน ฝุ่น มีกลิ่นยา มีสารเคมี มีสิ่งแวดล้อม มีมลภาวะที่เป็นพิษ ก็ไม่เหมาะ รอบ ๆ ทางจงกรมจะต้องเป็นที่สงบ จะทำให้จิตสงบ เยือกเย็นได้ง่าย อากาศดี ไม่อับ ไม่ชื้น เย็น ร้อน หนาว แห้ง ฯลฯ เกินไป เพราะบางที่ไม่มีพื้นที่บริเวณที่จะเดินจงกรมจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ก็ต้องดัดแปลงเอาตามพื้นที่ ตามสถานที่บริเวณที่มี ๆ อยู่ ก็น่าจะได้ ขอจงลองทำ ลองเดินดู เถิด ...... จะพบของดี

ผู้ที่ได้ เสนอให้มีการเดินจงกรม ก็คือ หมอชีวก ซึ่งบรรลุธรรมขั้น พระโสดาบัน ซึ่งถือว่าเป็นบรมครูของวงการหมอไทย ที่ได้เสนอกราบนิมนต์ให้พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พระทั้งหลายเดินจงกรม เพื่อแก้โรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการฝึกกรรมฐานในท่าเดียวนาน ๆ เช่น นั่งนานเกินไป และเพื่อให้ได้อานิสงส์ ทั้ง ๕ ข้อ ตามที่ได้ว่ามา แล้วในตอนต้น

วิธีการเดินจงกรม

การเดินจงกรม ก็เป็นเพียงแต่เปลี่ยนท่าจากการภาวนาในท่าอื่น ๆ มาเป็น การฝึกภาวนา ในท่า เดิน เป็นการเปลี่ยน จากการฝึกสมาธิ หรือฝึกกรรมฐาน ( ทั้งสมถะโดยใช้อารมณ์ จาก ทั้ง ๔๐ กรรมฐาน หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่ถนัด และทั้งการวิปัสนาโดยใช้อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง จาก ๔๐ กรรมฐาน ) ในท่านั่ง หรือ ในท่าอื่น ๆ มาเป็นการฝึกสมาธิใน ท่าเดิน ท่ายืน ท่าเคลื่อนที่ เท่านั้นเอง เพราะว่า การจงกรม คือ การเดินกลับไปๆ กลับมาๆ อย่างมีสติ ๆ ส่วนวิธีการ การฝึกสมาธิ วิธีการฝึกปัญญา เทคนิคการฝึกสติ การฝึกความเพียร อดทน การรักษาศีล การพิจารณาในสิ่งต่าง ๆๆ ที่จะพาให้พ้นทุกข์ ไม่ใช้เพิ่มทุกข์ เพิ่มกิเลส แต่พิจารณา เพื่อนิพพานในท่าเดินจงกรมนั้น ก็เหมือนๆ กับการพิจารณา ที่เคยฝึกภาวนา มาตามที่แต่ละท่านถนัด ถือว่า เป็นการเปลี่ยนท่าทาง อิริยาบท อวัยวะต่าง ๆ ให้ผ่อนคลาย ไม่เจ็บ ป่วย แก้โรค ซึ่ง หมอชีวก ผู้ซึ่งเป็นโสดาบันเป็นผู้เสนอให้พระ นักภาวนาได้เดินจงกรมเพื่อแก้โรค ที่เกิดจากการไม่ได้เคลื่อน มิให้เป็นการทรมานทางร่างกายมากเกินไป เพราะว่า กิเลสที่เราพยายามที่จะฆ่ามันนั้น มันอยู่ที่ใจ ไม่ใช่กิเลสนั้นมันจะมาอยู่ที่ร่างกาย การเดินจงกรม จะทำให้ผ่อนคลายเวทนาจากการฝึกภาวนาในท่าอื่น ๆ ให้บรรเทาได้ แต่...ก็ขอให้มีสติ คือรู้ว่าเรากำลังทำอะไร ๆ อยู่ เช่น ถ้ากำลังเดินอย่างเดียว ก็รู้ว่ากำลังเดินอยู่ ที่นิยมกันก็เอามือฝ่ามือ ข้างซ้าย วางจับทับที่หลังมือหรือที่ข้อมือ ข้างขวา ปล่อยแขนลงสุด ไม่ต้องงอข้อศอก เป็นส่วนมาก … ใบหน้า ลำคอ ตั้งตรง หรืออาจจะจะเอามือทั้งสองให้นิ้วประสานกันที่ข้างหน้าท้องแล้วปล่อยลงมาสุดแขนทั้งสองข้าง หรือจะยกมือทั้งสองที่จับกันตามวิธีต่าง ๆ นั้น ขึ้นมาไว้แถว ๆ สะดือ หรืออาจจะเอามือทั้งสองจับกันแล้วเก็บมือไว้ที่ข้างหลัง หรือจะพนมมือทั้งสองไว้ที่หน้าอก หรือจะเอามือกอดอกก็ตามถนัด หรือจะเอามือข้างหนึ่งไว้ข้างหน้า อีกข้างเอาขัดหลัง หรือมือ อีกข้าง ก็อาจจะเอาไว้ข้างหลัง อีกข้างเอาไว้ที่ใดก็ได้ หรือปล่อยลงข้าง ๆ ลำตัวทั้งสองมือ จะแกว่งมือ หรือไม่แกว่งแขน ถ้า ไม่แกว่งแขน แล้วจิตก็ยังสงบดี ก็ไม่ต้องแกว่งแขน ก็ได้ หรือตามถนัด คือ เมื่อเดินไปแล้วจิตภาวนาดี สติดี ไม่หลง มีสมาธิ ก็เดินตามถนัด เถิด

เช่น อาจจะเอามือขัดหลัง ข้างเดียว อีกข้างปล่อยลงข้าง ๆ ลำตัว เพราะว่าป่วย หรือพิการ ก็ได้ เอาเป็นว่าที่จะไม่กด ไม่เกร็งทั้งในทางกาย และไม่เกร็งในใจ ส่วนทางร่างกายนั้น ก็ไม่กด ไม่เกร็ง ที่ขา แขน ลำตัว หน้า คิ้ว มือ เท้า หน้าท้อง ไม่เกร็ง ลมหายใจ ในส่วนทางใจก็ไม่เกร็ง ไม่ลุ้นที่ใจเกินไป ไม่อยากเกิน แต่ไม่ใช่ขี้เกียจ ก็มีความตั้งใจทำอยู่ในตัว ให้เดินจงกรม ให้ทำ ให้มีสติ ให้ภาวนา ให้กำหนด บริกรรม ให้ท่อง หรือไม่ท่อง หรือจะวางเฉย แล้วเดินจงกรมไป มาอย่างมีสติ ก็เลือกเอาตามสบาย ตามความเหมาะสมของแต่ละ สถานที่ โอกาส เวลา นาที ชั่วโมง วัน เดือน ปี ฤดู เถิด พอดี ๆ แต่ก็ไม่ใช่ปล่อย หรือวาง หรืออ่อน จนล้ม หรือเซ หรือจนง่วงนอน การเดินจงกรมจะต้องไม่ท้อแท้ ให้ลำตัวตั้งตรง หัวตั้งตรงซึ่งจะน่าดูน่าชม สง่างาม ไม่จำเป็นต้องก้มมาก หรือจะไม่ก้มเลยก็ยิ่งดี ป้องกันไม่ต้องปวดคอ ใช้สายตา – ลูกตามองดูทางเดินแทนการก้มหน้ามองดูพื้น แก้ปวด เกร็งที่คอ ส่วนสายตา ลูกตา ระดับของสายตาก็มองไปที่พื้นทางจงกรมข้างหน้า ห่างไปจากตัวผู้เดินประมาณ ๙ คืบ หรือ เท่ากับระยะชั่วแอก ( ระยะจากตัวผู้ไถนาถึงระยะแอกหลังของการไถนาด้วยไถไม้ หรือ ไถเหล็กแบบโบราณ ที่ลากไถด้วย วัว หรือควาย ) ก็ คือ มองห่างจากตัวเราไปข้างหน้าประมาณ ๑ วา กับอีกหนึ่งคืบ รวมเป็น ๙ คืบ ( หนึ่ง วา ของเราจะยาวประมาณ ๘ คืบ สองคืบ ยาวเท่ากับ หนึ่งศอก สี่ศอก ยาวเท่ากับ หนึ่งวา ) ไม่เกร็งสายตา คงจะไม่หรี่ตา หรือจะหรี่ตา? ส่วนมากจะไม่หรี่ตา จะมองด้วยสายตาที่พอดี ๆ นี่เรียกว่ามีสติทางร่างกาย การเดินจงกรม ควรจะถอดรองเท้า ( ยกเว้นเท้าเจ็บ หรือ ทางมีหิน หรือพื้นเย็นมาก ๆ.. หรือหนาวมาก ๆ ... การถอดรองเท้าเดินหรือยืนโดยเอาผ่าเท้าสัมผัสพื้นโดยตรง จะเป็นการนวดฝ่าเท้าไปในตัว ทำให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าช่วงไหนที่ อารมณ์ไม่ดี ลองถอดรองเท้าเดินตามพื้น ทั้ง ที่เรียบ และไม่เรียบ อย่างช้า ๆ มีสติในการาเดิน อาจจะทำให้อารมณ์ดีขึ้นก็ได้ เคยลอง )

ก่อน จะเริ่ม จะเดิน จงกรม ควรจะ ยืนที่ ปลายสุดของทางจงกรม แล้ว ระลึก ถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นการ ไหว้ ครู ... แล้ว แผ่เมตตา ให้เกิด ความสุข ให้แก่ ทุก ๆ สัตว์ ทุก ๆ สิ่ง ใน ๓๑ ภูมิ เริ่ม ก้าวขาขวา ก่อน ให้มีสติรู้ในการยกเท้าก็รู้อยู่ การก้าวขา การเคลื่อนเท้า สืบเท้าไปข้างหน้าก็รู้อยู่ การวางเท้าลง เมื่อเท้าแตะกับพื้นก็รู้อยู่ เมื่อเท้าเริ่มลงเต็มพื้นก็รู้อยู่ เมื่อเท้ากดพื้นก็รู้อยู่ เท้าบิดก็รู้อยู่ เปลี่ยนจากเท้าซ้ายไปเท้าขวา ก็รู้อยู่ ใช้สติดู ไม่ต้องก้มหน้ามองดูเท้าก็ได้

๑. เมื่อเท้าทั้งซ้าย ขวา ค่อยๆ ยก คือเผยอส้นเท้า ก็รู้อยู่ ๒. เมื่อเท้าเริ่มยก ก็รู้อยู่ ๓. เมื่อเท้าเริ่มเคลื่อน ก็รู้อยู่ ๔. เมื่อเท้าลง ก็รู้ ๕. เมื่อเราเริ่มแตะพื้น ก็รู้

๖. เมื่อเหยียบกดลงที่พื้นเต็มที่ ก็รู้

โดยมีสติรู้ตลอดทุกท่าทุกอาการ ทุกวินาที ว่า เคลื่อนที่ไป เลื่อนไป นี่.. เรียกว่ามีสติรู้ตามร่างกาย เมื่อเกิดอะไรขึ้น ก็ให้รู้ๆๆ อยู่ รู้จริง ๆ ด้วย ไม่ใช่ท่องเอาอย่างเดียว ขณะที่เดินจงกรม ต้องมีสติ ยอมรับความจริง ต่อไป เช่น ดีใจหรือเกิดกลัว ก็ให้รู้ว่าดีใจ รู้ว่า กลัว หรือไม่กลัวก็ให้รู้อยู่ น้ำตาไหลก็รู้อยู่ ขนลุก.. ก็รู้อยู่ กระตุก.. ก็รู้อยู่ เหนื่อยก็รู้อยู่ เดินเร็ว ก็รู้ว่า เร็ว เดิน ก้าวขา ยกขา ช้าก็รู้ว่าช้า เดินพอดี ก็รู้ว่าพอดี ขาดสติก็รู้ว่า ขาด ไม่ขาดสติก็รู้ว่ามีสติ เหมือนกับไม่รู้ ก็รู้ว่าเป็นอย่างนั้น ๆ ว่าง..ก็รู้ว่า ว่าง มีปัญญา ก็รู้ ไม่มี ก็รู้ มีสิ่งต่าง ๆ หรือผสมกัน หรือ เดี่ยว ๆ ก็รู้ อยู่ ว่าเป็นอย่างนั้น ๆ เมื่อไม่มีสิ่งต่าง ๆ หรือผสมกัน ก็ให้รู้ว่า ไม่มี เมื่อขยัน ก็รู้ว่าเป็นอย่างนั้น เมื่อตัวหนัก แข็ง อ่อน ก็ให้รู้ ๆ ไปเรื่อย ๆ ไม่เป็นไร ฉลาดก็รู้ โง่ ใจเต้น หรือหายใจแรงก็รู้ เห็นก็รู้ว่าเห็น เช่น เห็นงู นก เห็นปลา สี เทวดา เห็นตัวเองลอย ก็รู้อยู่ เมื่อรู้สึกว่าตัวเองย่อ ขยาย หรือตัวยืด หด ก็ให้รู้อยู่ จะตัวแตก ร่างกายหายไป มีสัตว์มาล่อ ( ทั้งมีเห็นด้วยตา ได้ยินด้วยหู จมูก ลิ้น กาย หรือเป็นความรู้สึกในใจ ฯลฯ ) ก็รู้อยู่ มีเสียง มีกลิ่น มีอาการสัมผัสที่ขาแขนร่างกาย ที่หัว ก็ให้รู้ เกิดศรัทธา สมาธิ ขยัน กล้าหาญ...ก็ให้รู้อยู่ ไม่หิว ไม่เหนื่อย รู้เหตุที่มาของสิ่งเหล่านั้น ๆ รู้ผล ๆ ด้วย จะรู้ทั้งทางร่างกาย และรู้ทางจิตใจ หรือจะรู้ทางร่างกายอย่างเดียว ก็รู้อยู่ หรือจะรู้ทางใจอย่างเดียว ก็รู้ จะมีอาการเฉย.. ก็รู้ และมีอาการอื่นๆ ก็ให้รู้ไปๆ เมื่อ ทางร่างกาย และใจ ไม่มีก็รู้ว่า ไม่มี อย่าตกใจ อย่าเชื่ออะไรง่าย ๆ เช่น บอกว่าตัวเอง ลอย ที่จริงตัวเองก็ยังอยู่ที่พื้น แต่ ว่า จะมีอีกความรู้สึกหนึ่ง บอกว่า ลอย หรือบอกว่า ตัวเอง เป็นอย่างนั้น อย่างนี้ นี่... ก็อย่าหลง มีสติรับรู้ไว้ สรุปว่า ในท่าอื่น ๆ เรา ระวัง อย่างไร ( ระวังที่จะหลง ) การฝึกในท่าเดินจงกรม นี้ ก็ให้ระวัง เหมือน ๆ กัน จะเกิดอะไรขึ้น ก็ให้รู้ไปทุกเรื่อง ให้ รู้ว่า ทุกอย่าง จะ อยู่ภายใต้กฎ ไม่แน่ เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของเราอย่างแท้จริง ( ยกเว้น นิพพาน ที่ สุข เที่ยง ) เมื่อ ไม่รู้... ก็รู้ว่า ไม่รู้ รู้ไปทุกท่าทาง ทุกวินาที เพราะมันไม่แน่ มีเกิดได้ ดับได้ เหมือนๆ ดูหนัง ดู ที. วี. แต่ให้มีสติตลอด ว่า มันไม่แน่ ๆๆ.. ไม่เป็นไร

บางท่านในขณะที่กำลังเดินจงกรมก็อาจจะเอาใจมาดูลมหายใจที่กำลังเข้า กำลังออกที่ปลายจมูก หรือดูลมที่ริมฝีปากบน หรือดูลมที่แตะกับปอด กับลมที่ดันที่ท้อง หรือดูลมที่แตะที่ลูกกระเดือก หรือที่อื่น ๆ ที่ลมไปสัมผัส ก็ได้ โดยใช้ใจ ดูลมที่กำลังเข้า กำลังออก ไม่ใช่เอาสายตาไปมองดูลมหายใจที่กำลังเข้าออก ให้ใช้สติรู้ลม อย่ากด อย่าเกร็ง หายใจอย่างปกติ ไม่กลั้นลม ไม่ดึงลม ให้หายใจเข้าออกเหมือนตอนที่เราอยู่ปกติธรรมดา ถึงแม้ว่า ลมจะสั้นก็รู้อยู่ ลมจะยาว ลมจะเย็นก็รู้อยู่ ลมจะแผ่ว ลมจะสะดุดก็รู้อยู่ จะนุ่ม นิ่ม ละเอียด สุข หยาบก็ให้มีสติรู้ตามอาการของลมหายใจ ตามสิ่งที่เกิดขึ้น อาจจะเย็น นุ่ม เบา โล่ง สบาย หรือ ลมจะหมดไป จากความรู้สึก เหมือน ไม่หายใจ ก็ให้รู้ว่า ไม่มี ความรู้ที่ว่า ไม่มีลม นั่นและ ที่จะพาให้เรา อยู่ได้ ไม่ตาย ไม่เป็นไร? อาจจะมีลมหายใจคืนมามาตามความรู้สึก ก็รู้ว่าลมหายใจคืนมา อาจจะ มีปีติ มีสุขก็รู้อยู่ มีสมาธิ รู้อารมณ์ที่เข้ามาสู่ใจก็รู้อยู่ รู้อารมณ์ทั้ง ๕ ที่มาจาก ทางตา หู จมูก ทางลิ้น ทางร่างกายที่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม ที่มาจากทางร่างกายก็ให้รู้ไว้ ก็ให้รู้ไว้ทุกทาง หรือจะรู้ที่ละทาง สองทาง ก็ได้ อาจจะมีความปราโมทย์ หรืออาจจะไม่มีอะไร.. ก็รู้อยู่ ไม่มีสุข ก็รู้ว่า ไม่มีสุข ไม่มีปีติ ก็รู้ว่า ไม่มีปีติอยู่ หรือ ไม่รู้ ไม่เห็นอะไร ก็รู้ ๆ อยู่ ก็ขอให้เรารู้ว่า ไม่รู้ ไม่เห็นนั่นแหละ เมื่อรู้ทั้งเหตุของทุกอย่าง รู้ทั้งผลของทุกอย่าง ก็ใช้ฝึกต่อไปได้แล้ว อาจจะเห็น อนิจจัง เห็นการดับ เห็นการปล่อยวางอารมณ์ไปเรื่อย ๆ ของตัวเอง เห็นว่าได้สลัดอารมณ์ ก็รู้อยู่ ได้ส่งคืนอารมณ์ให้เป็นไป ให้ผ่านๆ ไป ให้รู้ไป นี่ก็ให้รู้ตลอดมีสติรู้อยู่ ....

บางท่านในตอนเดินจงกรมก็ก็อาจจะท่องคาถา หรือท่องคำบริกรรม เช่น ท่องคำบริกรรมว่า พุท โธ ไปเรื่อย ๆ หรือ เมื่อก้าวเท้าขวา ก็ท่องว่า พุท เมื่อก้าวเท้าซ้าย ก็ท่องว่า โธ เมื่อก้าวเท้าขวา ก็ท่องว่า พุท เมื่อก้าวเท้าซ้าย ก็ท่องว่า โธ ๆ ๆ ในใจไปเรื่อย ๆ จะว่าออกเสียง หรือไม่ จะว่าเบา หรือเสียงจะสั้น จะ ยาว ก็ขออย่ารบกวนคนอื่น ให้ใจอยู่กับคำที่ท่องก็ใช้ได้...... หรือจะท่องคำไหนก็ได้ จะนับเลข ๑ ๒ ๓ หนึ่ง สอง สาม.. ถึง ๑๐ หรือเกินกว่า ก็ได้ ฯลฯ หรืออาจจะท่องคำว่า ตาย ตาย ตาย หรืออาจจะ ว่า เมตตา กรุณา ธัมโม สังโฆ หรืออาจจะท่องว่า อรหันต์ โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี ตาวติงสะ ยามา ดุสิต เทวดา ศีล จาคะ นิพพาน..... หรือจะท่องว่าดิน น้ำ ไฟ ลม ..... หรือว่าบางท่านอาจจะแยกร่างกายออกเป็นส่วนเล็ก ๆ ตามอวัยวะทั้ง ๓๒ อย่าง ในเมื่อเดินจงกรม ( จงกรม คือการเดินไป เดินกลับมา อย่างมีสติ ) ก็ได้ หรือในตอนเดินจงกรม ก็อาจจะเพ่งลม อากาศ จะเพ่งดูอวัยวะภายในร่างกายเป็นการเพ่งกสิณก็ได้ หรือจะว่าอื่น ๆ ก็ตามถนัด ก็ให้มีสติในการท่องการระลึก การทบทวน ก็เป็นใช้ได้ หรือว่าบางคนอาจจะท่อง จะคิด จะบริกรรมว่า “ อากาศไม่สิ้นสุดๆๆ ” หรือท่องว่า “ วิญญาณไม่สิ้นสุด ๆ ” หรือบางท่านก็อาจจะท่องว่า “ ไม่มีอะไร ๆ ๆ ” หรือบางคนอาจจะคิดเกี่ยวกับอาหารที่เรากินนี้ว่าช่างสกปรก เริ่มตั้งแต่การหา การกิน การย่อย การขับถ่าย การล้าง หรือ ฯลฯ ก็ไม่ผิด.. ยังไง ๆ ๆ ขอให้มีสติ ขอให้ใจจดจ่อกับบทที่ท่องนั้น ๆ อยู่ เถิด เพื่อจะเป็นเหตุไห้เกิดสมาธิ และ จะต้องพิจารณา เพื่อให้เกิด ปัญญา ต่อไป

หรือว่า ในขณะที่กำลังเดินจงกรมนั้น อาจจะ วิปัสสนา คือการรู้อยู่ การเห็นอยู่ การเข้าใจอยู่ การตรัสรู้ การฉลาด การเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งอยู่ มีความชัดเจนในสิ่งต่าง ๆ อยู่ โดยการแยก ขันธ์ทั้ง ๕ ที่มีอยู่ในร่างกายนี้ ทั้งในร่างกายเขา และเรา นี้ หรืออาจจะพิจารณาจากสิ่งที่ร่างกาย และใจไปรับรู้ ไปรับทราบ ทั้งภายในร่างกาย และนอกร่างกาย ทั้งที่เกิดทางตา หู จมูก ทางลิ้น ทางที่ร่างกายที่กระทบ และความคิดทางใจ ก็ให้รู้ว่า ทุกสิ่ง ทุกอย่าง ทุกอาการ ทั้งดี ที่ชั่ว เลว ประณีต ที่ใกล้ ไกล หยาบ ละเอียด ทั้งใหญ่ เล็ก โต มาก น้อย ในอดีต อนาคต ปัจจุบัน ทั้งเรา เขา ทั้งในโลกนี้ โลกหน้า และ อีกอื่น ๆ มากมาย ซึ่งล้วนแล้วต่างก็เป็นอนิจจัง คือ ไม่แน่ คือ เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา มีเกิด มีดับ มีเกิดยาว ๆๆ มีดับ นาน ๆ มีชั่วคราว ๆ ๆ... ซึ่งล้วนแล้วต่างก็เป็น ทุกขัง ๆ คือ ทนได้ยาก.... ซึ่งล้วนแล้วต่างก็เป็น อนัตตา คือ ไม่ใช่ตัวตนของเรา จริง ๆ เป็นเพียงตัวตนตามสมมุติ ว่างเปล่าจากตัวตนที่แท้จริง จะไปบังคับให้เกิด ให้ดับเอาตามใจเรา ก็ไม่ได้ เพราะว่าสิ่งเหล่านี้ เหล่านั้นไม่ใช่ของเราอย่างแท้จริง ต้องทำตามเหตุ เมื่อเหตุดี ผลก็จะดี ถ้า ทำเหตุชั่ว ผลก็ชั่วอย่างไม่ไว้หน้าเราเลย ไม่ใช่เราจะไปบังคับเอาดื้อ ๆ ตามที่เราอยาก หรือหวังตามต้องการ ถ้า..บังคับได้ ก็ไม่นาน เดียวก็ฝืนเราอีก ไม่ใช่เราอีกล่ะ เพราะสิ่งต่าง ๆ นั้นไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราอย่างแท้ ๆ จริง ๆ ที่จะบังคับเอาตามใจ ของเราได้ จะเป็นเรา ก็จะเป็นแต่เพียง เป็นเราตามสมมุติ ตามที่นิยมเรียกขาน ให้เข้าใจ ให้รู้เรื่องกันง่าย ๆ เท่านั้น เอง ต้องทำดี จึงจะดี ต้องละชั่วตลอด และต้องยอมรับว่าจะมี อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไปเรื่อย ๆ ๆ ... ปล่อยวาง ๆ วาง จนไม่ต้องท่องคำว่า ปล่อยวาง ทั้งรูป คือทางร่างกาย และไม่ต้องท่อง คำว่า ปล่อยวาง ทั้งทางนาม คือทางใจ จะเหลือแต่ความว่าง ที่ไม่ใช่ รูป นาม ไม่ใช่สมาธิ ไม่ใช่ปัญญา ไม่มีแม้แต่คำว่า ว่าง หรือความคิดว่า ว่าง แต่ ว่า มีอาการอยู่ มีภาวะอยู่ ถ้าจะเรียกชื่อ ก็คือเรียกว่า นิพพาน ที่บรมสุขที่สุดในโลก เที่ยง ถึงไม่เรียกชื่อ แต่ อาการ ภาวะนิพพานนั้น ก็มีอยู่ตลอดกาลในใจ นี้ และ ก็จะยังมีชีวิตอยู่ในโลกด้วยความสุขสบาย ตามปกติ ยังไม่ตาย

เมื่อเดินจงกรม ไป พอสมควร เมื่อจะ เลิก ก็ ควรจะ ยืนที่ ปลายสุดของทางจงกรม แล้ว ระลึก ถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นการ ไหว้ ครู ... แล้ว แผ่เมตตา ให้เกิด ความสุข ให้แก่ ทุก ๆ สัตว์ ทุก ๆ สิ่ง ใน ๓๑ ภูมิ ...

ดังนั้น พวกเราจงมา ภาวนา เดินจงกรม เพื่อนิพพาน เทอญ.

ตัวอย่างขนาดของทางจงกรม อานิสงส์ของการสร้างที่จงกรม การเกลี่ยทรายบนทางจงกรม

จาก พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม ๘ ( จาก ๔๕ เล่ม ) ภาค ๒ - หน้าที่ 194 ( เล่ม ๗๑ หน้า ๑๙๔ จาก ๙๑ เล่ม )

จังกมทายกเถรปทานที่ ๘ (๔๘) ว่าด้วยผลแห่งการถวายที่จงกรมที่เกลี่ยด้วยทราย

[๕๐] เรา ( พระจังกมทายกเถระ ) ได้ให้ทำสถานที่จงกรมก่อด้วยอิฐ ( เป็น ) สถานที่จงกรมสร้างสำเร็จดีแล้ว โดยสูง ๕ ศอก โดยยาว ๑๐๐ ศอก ควรเป็นที่เจริญภาวนา น่ารื่นรมย์ใจ. ถวายแด่พระมุนี พระนามว่าอัตถทัสสี ผู้เป็นเชษฐบุรุษของโลกผู้คงที่. พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่าอัตถทัสสี ผู้เป็นพระผู้อุดมทรงรับ ( ทางจงกรม ) แล้ว ทรงกำทรายด้วยฝ่าพระหัตถ์แล้ว ได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า “ ด้วยการ ( ที่ ผู้ใด ได้ ) ถวายทรายนี้ และด้วยการถวายที่จงกรมอันทำเสร็จดีแล้ว ผู้นั้น จักได้เสวยผลแต่ ( จาก ) ทรายอันประกอบด้วยแก้ว ๗ ประการ จักเสวยเทวรัชสมบัติ ในเทวดาทั้งหลายตลอด ๓ กัป อันนางอัปสรแวดล้อมแล้วเสวยสมบัติ เขามาสู่มนุษยโลกแล้ว จักได้เป็นพระราชาในแว่นแคว้น และจักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิในแผ่นดิน ๓ ครั้ง ” ในกัปที่ ๑,๘๐๐ เรา ( พระจังกมทายกเถระ ) ได้ทำกรรมใด ครั้นเวลานั้น ด้วยกรรมนั้น เรา ไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายที่จงกรม. คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ เราทำให้แจ้งชัดแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้าเราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้. ทราบว่า ท่านพระจังกมทายกเถระได้กล่าวคาถาเหล่านั้น ด้วยประการฉะนี้แล.

จบ จังกมทายกเถราปทาน ( ข้อความ ในวงเล็บ คือข้อความที่ผู้เรียบเรียง ได้พยายามเติมลงไป เพื่อให้อ่านง่าย ๆ )

๔๙. อรรถกถา (อรรถกถา คือ คำอธิบาย เรื่องจากพระไตรปิฎก ) จังกมนทายกเถราปทาน

จาก คาถาข้างบนนี้ เป็นคำพูด ของพระอรหันต์ เรียกว่า อปทาน ของท่านพระจังกมนทายถเถระ เพราะว่า ส่วนมากพระอรหันต์ที่บรรลุ อรหันต์ บรรลุ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ แล้ว จะระลึกชาติได้ มีคำเริ่มต้นว่า สิทฺธตฺถสฺสมุนิโน ดังนี้.

พระเถระแม้นี้ ได้บำเพ็ญบุญญาธิการไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ เพื่อเป็นการสั่งสมบุญทั้งหลายอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานในภพ ชาติ ก่อนนั้น ๆ ในกาลช่วงเวลาของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า อัตถทัสสี ท่านพระจังกมนทายถเถระก็ได้บังเกิดในเรือนมีตระกูลแห่งหนึ่ง เมื่อได้บรรลุนิติภาวะแล้ว เลื่อมใสในพระศาสดา ได้สร้างที่จงกรมอันงดงามเสมือนกับกองแห่งเงิน ฉาบด้วยปูนขาวอันเป็นที่สูง แล้วลาดทรายขาวเหมือนเช่นกับสร้อยไข่มุก ได้ถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว. พระผู้มีพระภาคเจ้า ( พระนามอัตถทัสสี ) ทรงรับแล้ว ก็แลครั้นทรงรับที่จงกรมแล้ว ทรงเข้าสมาธิอันสำเร็จทางกายและจิตอันเป็นสุข. แล้วทรงพยากรณ์ว่า ในอนาคตผู้นี้ จักได้เป็นสาวกในพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่าโคตรมะ ( สมณะโคดม คือพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน เริ่มนับจำนวน ปี จาก พ.ศ. – ๔๕ ปี ( ก่อน พ.ศ. ๑ ปี เป็นจำนวน ๔๕ ปี ) + อายุของพระพุทธศาสนาที่จะยืนยาว ถึง พ.ศ. ๕,๐๐๐ ปี ). ด้วยบุญกรรมที่ได้ถวายทางจงกรมนั้น ท่านท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เสวยสมบัติ ( มนุษย์สมบัติ และสวรรค์สมบัติ ) ทั้งสอง และต่อ ๆ มา ในชาติปัจจุบัน ในพุทธุปบาทกาลนี้ ท่านก็ได้บังเกิดในเรือนมีตระกูลแห่งหนึ่ง เจริญวัยแล้ว เพียบพร้อมด้วยศรัทธา บวชในศาสนา ไม่นานนัก ก็บรรลุ พระอรหัต ท่านได้ปรากฏโดยนามแห่งบุญที่ท่านบำเพ็ญมาว่า จังกมนทายกเถระ ดังนี้.

วันหนึ่ง ท่าน ( พระจังกมนทายถเถระระ ) ลึกถึงบุญกรรมที่ตนเคยบำเพ็ญ ในกาลก่อน เกิดโสมนัส เมื่อจะประกาศปุพพจริตาปทาน คือ เหตุให้ท่านได้อรหันต์ จึงได้กล่าวคำมีอาทิว่า อตฺถทสสิสฺส มุนิโน ดังนี้. ในบรรดาบทเหล่านั้น ในบทที่ว่า อตฺถทสฺสิสฺส ความว่า ชื่อว่า อัตถทัสสี เพราะเห็นประโยชน์ คือความเจริญงดงาม ได้แก่พระนิพพาน, อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า อัตถทัสสี เพราะมีปกติรู้เห็นประโยชน์คือ พระนิพพาน. เชื่อมความว่า ข้าพเจ้าได้สร้างที่จงกรมอันน่ารื่นรมย์ใจ เป็นที่หลีกเร้นเป็นที่เจริญภาวนาพึงกระทำไว้ในใจ ถวายแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้มีปกติเห็นประโยชน์นั้น ผู้เป็นมุนี คือผู้ประกอบด้วยญาณคือโมนะเครื่องเป็นผู้นิ่ง.

คำที่เหลือมีอรรถรู้ได้ง่ายทั้งนั้น ตามกระแสแห่งนัยที่กล่าวแล้วนั้นแล. จบอรรถกถาจังกมนทายกเถราปทา

จงมีสุข พ้นทุกข์ บรรลุนิพพาน เร็วๆ ไว ไว เทอญ.. จาก วัดป่าดงใหญ่ ถนน ๒๔๐๘ ก.ม. ๕ + ๗๑๒ ม. เลขที่ ๑๓๕ ม. ๒ บ้านแดงหม้อ ต. แดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบลฯ ๓๔๑๕ อีเมล wadpadongyai@gmail.com ติดต่อได้ เรียบเรียงโดยพระประสิทธิ์ ( แววศรี ) ฐานะธัมโม ๑๔/๐๔/๕๒ เวลา ๑๗:๕๖ น.

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แต่วันนี้ ๑๕ ก.ค. ๒๕๓๙ ก็ถึงกับ ต้องใช้มือ ทั้งสอง กอดที่อก ในบางช่วงเวลา ในขณะที่กำลังเดินจงกรมเพื่อ ฆ่า กิเลส อยู่นั้น ทั้งนี้ ก็ เพื่อป้องกัน มือทั้งสองไม่ให้ ไป แตะต้อง หรือส่งเสริม อวัยวะ น้อย ใหญ่ บน ล่าง ให้ เกิด ความเสียหาย ทางพระวินัย ให้ร่างกาย และ ใจ ปลอดภัย จากสิ่งที่ไม่ดีทาง วินัย ( นี่ คือ เรื่องท่าทางของร่างกาย )

การพูดน้อย การนอนน้อย การกินน้อย การสำรวม ก็จะช่วยแก้ .... ความกำหนัด ได้

และ ก็ยังมี อีก หลาย วิธี ที่จะแก้ อาการความกำหนัด ขอ ยกตัวอย่าง เช่น

ก. ก็จะใช้ อสุภะ มา แก้ กิเลส คือ ความกำหนัด ( อุบายหลัก ๆ แก้ กาม ) เช่น คิดถึง เลือดประจำเดือน ความสกปรก อ้วน ผอม ต่ำ สูง ดำ ขาว พิการ แก่ เจ็บ ตาย เหนื่อย หิว เพลีย ลำบาก อึดอัด หงุดหงิด ฟุ้งซ่าน รำคาญ โกรธ น้อยใจ โลภ กลัว อิจฉา น้อยใจ ฯลฯ จะใช้ อสุภะ หรือความสกปรก ของวัยวะทั้ง ๓๒ อย่าง เช่น ความสกปรก ของเนื้อ น้ำเหลือง ความสกปรกของเหงื่อ เลือด ความสกปรกสิ่งที่อยู่ในร่างกาย ของเสียที่ออกจากร่างกาย แล้วนำคิด ทบทวนไปมา เพื่อ แก้ ความกำหนัด

ผล ก็คือ ความกำหนัด ก็จะค่อย ๆ หายไป จะค่อย ๆ เบาลง โดยเริ่มเบาที่ ทางใจ ก่อน แล้ว จะส่งผลไปที่ ทางร่างกาย ทำให้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เริ่ม อ่อนตัวลง ร่างกายจะไม่แผ่วร้อน ไม่สั่น ไม่กระตุก ไม่เกร็ง ผ่อนคลาย ลมหายใจจะละเอียดขึ้น จะเริ่ม สบาย เริ่มมีกำลังใจ พอที่จะสู้กับราคะได้อีกรอบ ตามกำลังของ สมาธิภายในจิต ที่มีอยู่ บวกกับอาศัย ความศรัทธา มีสติ ความอดทน ความเพียร เพื่อความหลุดพ้น

ข. บางครั้ง ก็ใช้การ วางเฉย ไม่ต้องไปสนใจ ไม่ให้ความสำคัญ ทำเป็นไม่รู้ ไม่ชี้ ต่ออาการ ต่าง ๆ เช่น โลภ โกรธ หลง ทุกข์ สุข เฉย ฯลฯ ที่เกิดขึ้น วางเฉยต่อความกำหนัด ที่เกิดขึ้น ทั้งทางร่างกาย ที่มีอาการ ทุกข์ ทรมาน ทนได้ยาก กระวนกระวาย

และ ก็ไม่สนใจ ไม่ให้ความสำคัญ ต่ออาการ ที่ปรากฏขึ้นใน ทางใจ ที่กำลัง ทุกข์ ๆ ทรมาน บีบคั้น หรือเฉย ๆ อยู่ นั้น

แต่ รับรู้อยู่ อย่าง มีสติ อดทน

เรียกว่า วาง อุเบกขา นี่ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง ที่สามารถ บรรเทา ความกำหนัด ได้

มีสุขเต็มที่ เข้าใจธรรม เห็นธรรม บรรลุธรรม หายสงสัย จบการภาวนา การศึกษา เสร็จงาน เสร็จกิจ

ณ วันที่ ๑๕ ก. ค. พ.ศ. ๒๕๓๙ ก็ ได้รู้ว่า ถึงเป้าหมายของนักบวชที่ต้องการแล้ว นั่น คือการทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ได้พบกับความสุข ที่เที่ยง แน่นอน ยั่งยืน ถาวร สุขตลอดกาล ไม่มีงานที่จะต้องทำอีกแล้ว ไม่เกิดอีกแล้ว ใน ๓๑ ภูมิ นี้ อาการที่ว่า เห็นธรรม นี้ เกิดบนทางจงกรม บนภูเขา หน้าศาลา เวลาก็ประมาณ ๑ ทุ่ม

หลังจากที่ได้ เกิดอาการเห็นธรรม เกิดการ บรรลุธรรม แล้ว ก็ เกิด ปีติ จนน้ำตาไหล หลั่ง ริน ไหล อาบแก้ม พร้อมกับเห็นว่า พุทธ ธัม สงฆ์ ได้ มารวมอยู่ในใจ ในที่เดียวกัน ได้กราบพระพุทธเจ้า ผู้ค้นพบ นิพพาน เป็นองค์แรก กราบพระธรรม คือ มรรค ผล นิพพาน กราบพระสงฆ์ คือ พระสารีบุตร พระอานนท์ และพระอรหันต์ทุกรูป ทุกองค์

บัดนี้ข้าพเจ้า ได้รู้แล้ว เห็นแล้ว เป็นแล้ว เข้าใจแล้ว บรรลุแล้ว กราบแล้ว ก็กราบอีก กราบลงกับพื้นดิน ณ ที่ข้าง ๆ ทางจงกรม พร้อมน้ำตาที่ไหลริน อย่างยินดี ที่สุด ๆ ในโลก หมด พ้นจากทุกข์แล้ว เสร็จสิ้นกันที ได้บรรลุธรรม

จะ มีอาการอยู่ภายในใจ นี้ ( จะมี ๑. นิพพาน ๒. จะมี ขันธ์ ทั้ง ๕ )

คือ จะมี อาการที่รู้ว่า ไม่เกิด ที่หลุดพ้น ที่ไม่ทุกข์ ที่ว่าง …

แต่.. ว่า.. มีอยู่ ๆ ... ไม่ใช่ .. ไม่มี …..

มี ( นิพพาน ) อยู่ในหัวใจนี้ มาตลอดเวลา จนเดี๋ยวนี้ บัดนี้ ตลอดกาล

พิจารณาร่างกาย ( รูป ) แล้วเห็น เวทนา พร้อมกับจิต ( นาม ) ที่เกิด ความกำหนัดยินดี

และ เห็น เวทนา พร้อมกับ จิต ( นาม ) ที่เกิด ความไม่กำหนัด

สาเหตุ ที่เกิดอาการ หลุดพ้น ที่อยู่ในใจตลอด นี้ ก็เป็นผลมาจากการพิจารณา คือการระลึก การคิดค้น ตรวจสอบ ทบทวน ในเรื่อง เรื่อง สุภะ …สุภะ คือ ข้อดี งาม ….เมื่อเห็นว่า ตัวเอง จะทนต่อกามราคะ กำหนัด ไม่ไหว ก็เอา อสุภะ มาคิด ระลึก ใน อสุภะ… อสุภะ ก็ คือ ข้อเสีย สกปรก ของร่างกายตัวเอง และร่างกายของผู้อื่น ของเพศตรงกันข้าม และสิ่งของทุกอย่าง ทำอย่างต่อเนื่อง บ่อย ๆ ถี่ ๆ ไม่หยุด เมื่อหายไป ก็ปลุกมันขึ้นมาทั้งสองอย่างทั้งข้อดีหรือ สุภะ

และข้อเสียหรือ อสุภะ ……………. คิด ..สลับกันไป สลับ มา ระหว่าง สุภะ กับ อสุภะ อย่างอดทน มีสติ

แต่ต้องระวัง … ก็ต้องมีสมาธิ ในใจ ที่เพียงพอ ด้วย

( ถ้า สมาธิ ยังไม่พอก็ยังไม่ต้อง ฝืน .. ให้ ฝึก สมาธิ ... ฝึก พิจาณณา แบบใช้ อสุภะ ไปก่อน.. อย่า ลืม )

และได้ สละชีวิต ว่า

“ ถ้า ไม่ดี ให้มันตาย

แต่ ถ้า ไม่ตาย ก็ให้มันดี ให้หลุดพ้นจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน ให้ ถึงนิพพานบรมสุข ให้ เป็น อรหันต์ ไปเลย ”

เมื่อ ได้เห็นความ ทุกข์ + อนิจจัง จากการดู สุภะ สลับกับ อสุภะ แล้ว … แต่…จิตก็ยังไม่หลุดพ้น

ก็เลยได้ทดลองอีกวิธี หนึ่ง โดยได้ ทดลอง ฝืน เอาดื้อ ๆ ทางร่างกาย เพราะว่า ตามปกติแล้ว เมื่อเราคิด ( เหตุ ) ถึงข้อดี มันก็ จะอยาก ( ผล ) ได้ทาง ใจ ก่อน แล้ว ใจ นั้น ก็ส่งผล ( ผล ) มาที่ ร่างกาย ทั้งอยากมอง ทั้งอยาก ดู จับ สัมผัส อยากมี เป็นอาทิ .. แล้ว ใจ จะส่งไป ที่ร่างกาย ให้ร่างกาย คือ ตามอง ให้ดู ให้ก้มดู ให้ หู ฟัง ให้ แสวงหา

และ เมื่อตอนที่ ใจ คิด ( เหตุ ) ถึงข้อเสีย …….

ใจ ( ผล ) มันก็จะไม่เอา ไม่ต้องการ ก่อนร่างกาย แล้ว .. ใจ จะส่ง ผล มาที่ ร่างกาย ไม่ให้ร่างกาย เอา ไม่ให้ตา หรือไม่ให้ร่างกายไปมอง ไปสนใจที่จะ จับต้อง สิ่งที่ ไม่ต้องการ อีกต่อไป

ทีนี้ก็เลย ทดลองฝืน ๆ เอาเลย ฝืนโดยไม่ได้ใส่ เหตุ ทั้ง เหตุ ที่เป็น สุภะ และ เหตุ ที่เป็น อสุภะ ที่จะ เป็น เหตุ ใน ทางร่างกาย ทั้งร่างกายที่เป็น อดีต ปัจจุบัน อนาคต ใกล้ ไกล หยาบ ละเอียด เลว ประณีต ….

ทดลองฝืน ๆ เอาเลย โดยไม่ได้ใส่ เหตุ ทั้งที่เป็น สุภะ และ อสุภะ ทั้งที่ร่างกาย มี แขน ขา หน้า ตา หู ปาก ลิ้น ที่ได้รับความเย็น บ้าง ร้อน อ่อน แข็ง สั่น กระตุก เสียว คัน เฉย มึน ชา ๆ สุข ทุกข์ หนัก เบา ตึง หย่อน สะเหม่น ขาด ๆ เต็ม ๆ หลุด เพิ่ม งอก หด เหี่ยว เปลี่ยนสี เปลี่ยนขนาด ย่อ ขยาย ของร่างกายทั้งหมด ฯลฯ

การทดลอง ฝืน ก็ อย่างเช่น ร่างกาย มันแข็ง ก็ฝืนให้ร่างกาย อ่อน

พอร่างกาย มันอ่อน ก็ฝืนให้มันแข็ง มันเฉย ๆ ก็ฝืนให้มันแข็ง บ้าง ให้มันอ่อนบ้าง ไม่ใส่เหตุ ฝืนเอาดื้อๆ

ร่าง กาย มันเย็น ก็ฝืนให้มันร้อน โดยไม่ใส่ความร้อน ไม่ตากแดด พอมันร้อน ก็ฝืนให้ร่างกายเย็น ๆ โดยไม่ใส่ความเย็น ไม่เปิดพัดลม... จะ ฝืน ดัน บังคับ ให้เย็น เอาดื้อๆ แต่มันก็ไม่ได้ดั่งใจอยาก หรอก .. รู้ อยู่ เริ่มรู้ ฝืนทางใจเฉย ๆ ไม่ใส่สาเหตุ ไม่กระตุ้นมัน ไม่ใส่เหตุ ฝืนเอาดื้อๆ

จาก การที่ทดลองฝืนนี้ จนในที่สุด ก็จะรู้ว่า ยังไง ๆ …. ร่างกาย ก็ไม่เชื่อฟังเราเลย ร่างกายจะ เป็นไปตามเหตุของสิ่งที่มากระทบ มาสัมผัส มาแตะต้อง เช่น ร่างกาย สัมผัสกับอากาศ น้ำ ความร้อน ของแข็ง กาซ ความคิด เสียง แสง กลิ่น รส ฯลฯ จริง ๆ ไม่เป็นไปตามที่ เรา จะมาบังคับเอาดื้อ ๆ เลย จนกระทั่ง เบื่อ ๆ ๆ ร่างกาย ปล่อยวางร่างกาย ( รูป ) เพราะร่างกายที่กำลังถูก ไตรลักษณ์ ( ลักษณะ อาการ ๓ อย่าง ) ควบคุม ครอบหัวอยู่ ไตรลักษณ์ นั้น ก็ได้แก่

๑. ความ ไม่แน่นอน มีเกิด ๆ มีดับ ๆ ไม่ใช่เกิดตลอดไป ไม่ใช่ดับตลอดไป จะมีอาการชั่วคราวๆ จะมีการเกิดขึ้นๆ ตั้งอยู่นานบ้าง ช้าบ้าง เร็วบ้าง ๆ มีอาการที่แปรปรวนๆ ... ตรงกันข้ามกับความเที่ยง แน่นอน ที่เรียกว่า อนิจจัง นี่อย่างที่ ๑

๒. ร่างกายที่กำลังถูก ความทุกข์ ๆ ทรมาน ทนได้ยากจริงๆ บีบคั้นจริง ๆ .. ตรงกันข้ามกับความสุข ที่เรียกว่า ทุกขัง นี่อย่างที่ ๒

๓. และ การที่ร่างกายนั้น จะไม่ได้ดั่งใจสั่ง ถึงแม้ว่า บางที ก็ดูเหมือน ๆ กับ ว่าเราจะสั่งได้ บังคับได้ดั่งใจ เช่น เมื่อเรากิน ก็อิ่ม เมื่อทำดี ก็จะดี เมื่อเราขยันทำดี ก็จะสำเร็จ แต่คำว่า เรา ของเรา หรือ อาการที่ว่า เราสั่งได้ ก็ไม่ใช่ เรา อีกละ เพราะ คำว่า เรา เรา นั้น เป็นนามธรรม เป็นนาม เป็นแค่ สัญญา .. และ สัญญา = อนัตตา หรือคำว่า เรา นั้น.. จริง ๆ ก็เป็น อนัตตา …….อนัตตา ที่แปลว่า ไม่ใช่เราอย่างแท้จริง … ร่างกาย จะขึ้นอยู่กับเหตุ ร่างกายจะเป็นของที่ว่างจากการยึดถือว่า ของเรา อย่างแท้จริง .

จะว่า ของเรา ก็ เป็น เพียง การว่า ของเรา ตาม สมมุติ

……. แต่ว่า ร่างกาย ก็ยัง มีอยู่ ไม่ใช่เมื่อกล่าวว่า ไม่ใช่ของเรา ว่างแล้ว ร่างกายของเรา จะหายไป ร่างกายนี้ จะไม่สามารถทำคุณงามความดีได้ .. ไม่ใช่อย่างนั้น

แต่…จะ ใช้ร่างกายนี้ ทำดีได้อย่าง สบาย ๆ ด้วย เรา ก็ รักษาความสะอาด ได้ .. ก็เพราะ การที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ของร่างกายอย่างแท้จริง นั่นแหละ จะทำให้เราพัฒนาตัวเองได้ อย่างอิสระ ไม่ต้องเป็นทาสใคร ร่างกาย และใจ นี้ ไม่ใช่ เรา ไม่ใช่ ของ เรา แล้วเป็นอะไรล่ะ?

ตอบว่า เป็น แค่ รูป นาม ซึ่งรูป นาม นี้ ก็ไม่ใช่ ของเรา เรียกว่า เป็น อนัตตา …. อนัตตา นี้ เป็นสูตรที่พระพุทธเจ้าได้กล่าวไว้เมื่อสองพันกว่าปีมาแล้ว ก่อนใคร ๆ ... การที่ กล่าวว่า ไม่ใช่ เรา กล่าวว่า ไม่ใช่ เขา นั้น ก็ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ ของเรา เลย ……

ยกเว้น ที่สมมุติ เอา ว่า เรา ว่า เขา ว่า รถ สัตว์ ว่า ธรรมชาติ ว่า เทวดา ฯลฯ

แต่…จริง ๆ แล้ว รูป นาม ไม่ใช่ เรา ไม่ใช่ ของเรา แต่มี… อยู่น่ะ ไม่ใช่ ไม่มี

ร่าง กายนี้จะมีอาการที่ตรงกันข้ามกับการบังคับได้ หรือตรงกันข้ามกับ อัตตา ( อัตตา = บังคับได้ ) ที่เราเรียกอาการทั้งที่เกิดในขณะที่ ไม่เที่ยง ๆ ……………………… ทั้งในขณะที่ ทุกข์ ๆ นั้นว่า อนัตตา นี่อย่างที่ ๓

ซึ่ง ทั้ง ๓ อาการนี้ จะเหยียบ กด ข่ม อยู่เหนือร่างกายของตัวเอง จนโงหัวไม่ขึ้น เมื่อเห็นว่า ๆๆ ร่างกายไม่เชื่อฟังเรา จากการพิจารณา สุภะ สลับกับ อสุภะ อย่างต่อเนื่อง แล้ว ถึงจะยังไง ๆ ทางร่างกายนี้ เราก็ ไม่เอาแล้ว ๆ ไม่สน ไม่ติดใจ ไม่ยึดว่าเป็นของเรา

แต่ว่า … ก็ยังมีร่างกายครบทุกอวัยวะอยู่ไม่ถึงขนาดว่าจะต้องตัดแขน ขา ตาบอด ลิ้นจืด ร่างกายพิการ หูหนวก ร่างกาย มึน ชา ตายด้าน ไร้ความร้อน ไม่รู้สึกหนาว เย็น นิ่ม สาก เรียบ ไม่คัน ก็หาไม่ ก็ยังอาบน้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน รับประทานอาหาร บริหารร่างกาย ตัดผม โกนผม โกนหนวด ตามสุขลักษณะที่พระพุทธเจ้า สอนให้รักษาความสะอาด ของร่างกาย อยู่ เหมือนเดิม

แต่… ว่า จะไม่ได้ทำด้วยความอยาก ไม่ได้มีกิเลส ไม่มีอุปาทานที่จะไปยึด ( อุปาทาน เป็นกิเลสที่จะเราจะต้องละ ต้อง ฆ่า ..แล้วจึงจะมีความสุข ) เหมา มั่ว เอาว่า ร่างกาย เป็นของตัวเอง ทั้งที่จะยึดในส่วนที่ของร่างกายที่เป็น สมมุติ ว่า เรา ว่า ของเรา

( เพราะว่า เป็นแค่ สัญญา ว่า เรา ของเรา แล้ว เจ้า สัญญา นั้น ก็เป็น อนัตตา ๆ ๆ อยู่แล้ว … วาง …ไม่ยึด )

ก็ไม่ยึดถือ และ ร่างกายที่มีอยู่จริง ๆ ไม่ใช่ ไม่มี .. มีอยู่ ทุกอวัยวะ ที่เป็น ปรมัตถ์ นี้ ก็ไม่ยึด ไม่เหมา เอามาเป็นของตัวเอง เลย เรา ก็ใช้ร่างกายตามสมมุติ ที่ไม่ผิดศีล สำรวม ระวัง มีวินัย มีกฎหมาย ไม่เบียดเบียนใคร และใช้ให้เป็นประโยชน์แก่ ศาสนา เพื่อร่วมโลก สัตว์อื่น ๆ ฯลฯ ให้มีความสุข แต่ไม่ใช่ สุขตามกิเลส นะ เป็นสุขที่เกิดจากความรู้จริง เกิดจาก ศีล สมาธิ

เริ่ม... พิจารณา ที่ นาม หรือ ที่ จิต หรือ ที่ ผู้รู้

เพ่งพิจารณาจิต ให้เห็น ไตรลักษณ์ ต่อจากนั้นก็ได้ใช้สติปัญญา เพ่ง จดจ่อเข้ามาที่จิตทันที ๆ เพราะว่าทางร่างกาย ( รูป ) นั้นไม่สนใจที่จะพิจารณา อีกแล้ว วางได้แล้ว เสร็จแล้ว สำเร็จแล้ว ( ตามหลักการในพระไตรปิฎก ก็ว่าเป็น พระอนาคามี ) และก็ได้เห็นจิต หรือ นามธรรม ทั้งนามที่เป็น อดีต ปัจจุบัน อนาคต ใกล้ ไกล หยาบ ละเอียด เลว ประณีต อันมีอยู่ใน นาม หรือใจ สำหรับรายละเอียดของนาม ที่ใหญ่ ๆ ก็ได้แก่

เวทนา = ความรู้สึกที่มีต่ออารมณ์ต่าง ๆ เมื่อได้เจออารมณ์ต่าง ๆ เวทนา ก็ มีสุข ๑ ทุกข์ ๑ อุเบกขา ๑

สัญญา = คือความจำ ทั้งจำรูปธรรม นามธรรม ที่ดี ที่ชั่ว ที่กลาง ๆ

สังขาร = คือ การคิด การเพิ่ม การเติม การปรุง การแต่ง เสริม ในรูปธรรม และนามธรรม ทั้ง ปรุงในทางที่ดี ๑ ปรุงในทาง ที่ชั่ว ๑ ปรุง แบบ กลาง ๆ ๑

วิญญาณ = การรับ การรู้ทางตาที่รู้ว่า มีรูป เห็นรูป สวย ขี้เหล่ เท่ห์ การรับ การรู้ทางหูที่รู้ว่าได้ยินเสียง หรือเงียบ ฯ การ รับ การรู้ทางจมูกที่รู้ กลิ่น หอม อับ ฉุน เหม็น ฯ การรับ การรู้ทางลิ้น ที่รู้ว่า มี รส หวาน เค็ม ฝาด จืด ฯลฯ การรับ การรู้ร่างกายทุกอวัยวะ ที่มีการเย็น ขยับ ร้อน อ่อน แข็ง กระตุก สั่น ขนลุก สยิว เสียวฟัน วูบ ๆ วาบ ๆ ชา ๆ ยืด หด สั้น ยาว ขาด เกิด เปลี่ยน รูปร่าง สี ขนาด รส อาการมึน น้ำตาไหล สะอึก สะอื้น ไอ จาม ปัสสาวะ อุจจาระ มีน้ำเหงื่อ น้ำลาย น้ำมูก น้ำที่สกปรกไหลออก เข้าทางร่างกาย ตามรูขุมขน ฯ และการรับ การรู้ทางใจ ที่มีการรู้ในใจ ที่รู้ว่า ดี ชั่ว ถูก ผิด ใช่ ไม่ใช่ ฯ

นาม ใหญ่ ๆ ทั้ง ๔ ( เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ) หรือ ใจ นี้ นั้นจะมีอาการ ลักษณะ ที่ กำลังถูกไตรลักษณ์ ( ๓ อย่าง ) ควบคุม ครอบหัวอยู่ อันได้แก่

๑. ความไม่แน่นอน มีเกิด ๆ มีดับ ๆ ไม่ใช่เกิดตลอดไป ไม่ใช่ดับตลอดไป ชั่วคราว จะมีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่นานบ้าง ช้าบ้าง เร็วบ้าง มีอาการที่แปรปรวน ... ตรงกันข้ามกับความเที่ยง แน่นอน ... ที่เรียกว่า อนิจจัง

๒. ใจที่ถูก ความทุกข์ ทรมาน ทนได้ยาก บีบคั้น ... ตรงกันข้ามกับความสุข ... ที่เรียกว่า ทุกขัง

๓. และ การที่ใจนั้น จะไม่ได้ดั่งใจ บางทีก็เหมือนกับว่าบังคับได้ตามใจ แต่ไม่ใช่… เพราะใจไม่ใช่ของเรา คือ เป็นอนัตตา ไม่ใช่อัตตา ไม่ใช่เรา ใจจะขึ้นอยู่กับเหตุ การเป็นของที่ว่าง แต่ว่า… มีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไร ไม่ใช่ขาดสูญ การที่ใจไม่มีใครเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง ยกเว้น สมมุติเอา อนัตตา จะตรงกันข้ามกับ การบังคับได้ หรือ อนัตตา จะ ตรงกันข้าม กับอัตตา ที่บังคับได้ ที่เรียกอาการทั้งที่เกิดในขณะที่ไม่เที่ยง ทั้งในขณะที่ทุกข์ ในใจนั้น ว่า อนัตตา

ซึ่ง ๓ อย่าง นี้ จะเหยียบหัวใจเรา อยู่อย่างโงหัวไม่ขึ้น จะ เห็นได้จากการที่ได้พิจารณา คือการระลึก คิดค้น ตรวจสอบ ทบทวน .. ในเรื่อง สุภะ ( ข้อดี สวย งาม ) สลับ กับ อสุภะ ( ข้อเสีย สกปรก ) โดยทำบ่อย ๆ ถี่ ๆ

ถ้า สุภะ อสุภะ หายไป หยุดไป ก็ปลุกขึ้นมาอีก อย่างมีสติ ปัญญา... การปลุก ก็ คือ ได้ทดลองฝืน ในทางใจ แต่ก็ไม่ได้ ดั่งใจ ๆ ....

แต่ ใจนั้นจะต้องขึ้นอยู่กับเหตุ ขึ้นอยู่กับสิ่งกระตุ้น ถ้า กระตุ้นดี ก็จะดี ถ้า กระตุ้นชั่ว ๆ ก็เลว ห้ามไม่ได้ ดังนั้น เรากระตุ้นดี จะดีกว่า ส่วนไอ้ที่ เลว ๆ นั้น ก็เลิกกระตุ้น ทันที จนเห็น อนัตตา ที่ปรากฏอยู่ในใจ ทีนี้ รู้สึกว่า ความอยาก ( ตัณหา ) ทั้ง ๓ มีอาการ ลดลง .... ตัณหา สาม ก็ มี

๑. ความอยากในกาม มีอยากในรูป ในรส ในกลิ่น ในเสียง การสัมผัสทางร่างกาย ฯ

๒. ความอยากจะมี อยากจะเป็น อยากยั่งยืน อยากถาวร อยากมั่นคง ฯ และ

๓. ความอยากที่จะ ไม่ให้มี อยากหนี ไม่อยากแก่ ( อยากไม่ให้แก่) ... ไม่อยากเจ็บ ( อยากไม่ให้เจ็บ ).. ไม่อยากผิดหวัง ไม่อยากทำงาน ฯ

ลักษณะ ของ ตัณหา ที่กำลัง จะ ดับ

ซึ่งความอยากทั้ง ๓ ตัวนี้ นี้จะอยู่ ที่อยู่ในบริเวณหน้าอก ที่แถว ๆ บริเวณ หัวใจ อาการของความอยากทั้ง ๓ จะมีอาการที่ เล็ก ๆ ลง จากที่ใหญ่ ๆ โต ๆ เต็ม ๆ คับ ๆ แน่น ๆ ในอก ก็จะ ค่อย ๆ ลีบ ๆ เล็ก ๆ มีขนาดที่ เล็ก ย่อตัว ลง ไม่อัดแน่น จะคลี่คลายความอัดแน่น มีลักษณะหลวม ๆ เหมือน ๆ กับเกลียวเชือกที่ตอนแรก ยุ่ง ติด พันกันแน่น เป็นก้อนโต ๆ แต่พอได้คลายเชือกออก ๆ แก้ปมออก เรื่อย ๆ จนก้อนเชือกที่ยุ่งๆ นั้น มีอาการที่หลวม ๆ เริ่มคลาย ออก ใกล้ ๆ จะคลายออกหมด แล้ว เชือกก็จะเริ่ม เบา ไม่หนัก ไม่ยุ่ง และ ความอยากทั้งสาม จะมีอาการที่สั่น ระรัว พร้อมกับลดขนาดของรูปร่างที่โต เป็น เล็ก ๆ ตัณหาทั้ง สาม จะลดความรุนแรง ความหนัก ความดิ้น ความสั่น ส่าย กระตุก ลงเรื่อย ๆ จนกระทั่งความอยาก หรือ ตัณหาทั้ง ๓ ...............

ตัณหา ทั้ง ๓ ก็ได้ หมด ไปจากใจ ………

ต่อจากนั้นอีกไม่กี่ วินาที ณ ที่กึ่งกลางทางจงกรมระหว่าง หัวกับท้ายที่อยู่ ระหว่างทิศเหนือ กับ ทางทิศใต้ ร่างกาย และใจ หรือผู้รู้ ก็ได้ระเบิด .... บรึ๊ม ??.. ๑ ครั้ง

รูป ทางจงกรม หน้าศาลาบนภูเขา ที่ จิตเห็นธรรม ( ๑๕ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๓๙ เวลา ประมาณ หนึ่งทุ่ม ที่ ตรงกลาง ขณะหันหน้าไปทางทิศใต้ หันหน้าไปตามรูป คือทิศใต้ ) หน้าศาลา สำนักสงฆ์เต่าดำ ต. วังกระแจะ อ. ไทรโยค จ. กาญจนบุรี

.................................. แล้ว ก็ เงียบสนิท แต่ว่า ยังไม่ตาย ยังเดินต่อไปทางทิศใต้ ต่อไปได้ โดยไม่ตกจาก ทางจงกรม จะมีอาการที่ ร่างกาย และใจ ไม่มี ... จะมีแต่ความ ว่าง ที่ ไม่ต้องมีใคร เป็นผู้บรรยายว่า เป็นผู้รู้ ผู้เห็น เลย ... ว่าง

ว่าง….. ร่างกายได้เดินต่อไปจนถึงสุดทางจงกรม ด้านทิศใต้ แล้วก็หันขวา แล้วเดินกลับมาช้า ๆ จนกระทั่งถึงที่กึ่งกลาง..ณ ที่เดิม ที่เกิด อาการที่จิต ระเบิด

ฉับพลัน ก็เกิดความคิด ขึ้นมาในใจทันที แทนความว่าง นั้น

การตรวจสอบ มรรค ผล นิพพาน

เป็นปัญหา

แรก ที่ ถาม ตัวเอง ว่า “ เอ..? เราเป็นอะไรไปนะ .. เมื่อกี้นี้ ”

. .. ตอบ… เอ้อ………..

ใช่ ใช่ เป้าหมาย ที่นักบวชเรา ๆ ต้องการ ปรารถนา แล้ว ?

รู้ว่า ใช่ ถูกแล้ว ตรงแล้ว จะ จะ แล้ว แจ่มแจ้ง แล้ว ชัดแล้ว ใช่ พระนิพพาน แล้ว ใช่พระนิพพานแน่แล้ว โดยไม่มีคำบรรยาย ไม่ต้องรู้จักชื่อ ไม่ต้องไปเทียบ ไปเปรียบ ว่าชื่อ อะไร เพราะภายในใจ จะมีแต่ อาการ จะมีแต่ภาวะของนิพพาน เท่านั้น ….ไม่มีชื่อ ว่านิพพาน แล้วก็ไม่มีเสียงของคำว่า นิพพาน เลย มีแต่อาการที่ประจักษ์แจ้ง ชัด ๆ โต้ง ๆ เต็ม ๆ อยู่ในใจ …. ณ ช่วงนี้ เจ้าน้ำตา ก็ เริ่มไหล อาบแก้ม สะอึก สะอื้น ด้วยความปีติ ดีใจ สุขใจ เป็นที่สุด เพราะว่าในใจ มีอาการที่ ไม่เกิด ไม่มีทุกข์ สบาย ว่าง ...................

แต่ ยังไม่รู้ว่า ชื่ออะไร ไม่มีชื่อ แต่ว่าจะมี อาการ ที่ สุขที่สุดในโลก

แล้ว อาการ ที่ ว่าง ๆ นี้ ก็ ไม่ใช่ ความว่างของใจ ที่ไม่คิดอะไร คล้าย ที่เรา อยู่ว่าง ๆ ... ไม่ใช่ ความว่าง ของ ฌาน ของ สมาธิ ของ อุเบกขา ของ ความหลับ ไม่ใช่ อาการ ของความหลง ไม่ใช่ อาการของ นิมิต ไม่ใช่ อาการสมาธิ ตั้งแต่ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปณาสมาธิ ฌาน ๑ – ๘ แน่นอน เพราะว่า อาการของสมาธินั้น ได้เข้าใจ เห็น ทราบ รู้มาหมดแล้ว ทั้ง จาก พระไตรปิฎก การศึกษา จาก ครูบาอาจารย์ จาก การปฏิบัติ ภาวนา

ซึ่งถือได้ว่า เป็นอาการใหม่ที่สุด ที่ไม่เคยพบ เจอ เห็น รู้ ทราบ มาก่อน เลยในชีวิต ทั้งในชาตินี้ และใน ตั้ง หลาย ล้าน ๆ ๆ ๆ ชาติ ที่เคยเกิด ๆ ๆ ๆ มาก่อน

.. ขณะ ที่กำลัง เดินจงกรม ไปทางทิศเหนือ ของ ทางจงกรม ช้า ๆ นั้น

ปัญหา...........

ที่ สอง ก็ ถาม ต่อจาก ปัญหา ที่ ๑ ทันที ในขณะที่เดินจงกรมไปทางทิศเหนือ เคล้าน้ำตา ตัวเองต่อไปอีกว่า

“ เป็นไปได้อย่างไร ? หนอ? ฮือ ? ก็ ดู จาก ท่าน ผู้อื่น บางท่าน ท่านภาวนาตั้งนาน หลายเดือน ช้าหลายปี ... บางท่าน ก็ เร็ว จึงจะได้ จึงจะสามารถบรรลุถึงขั้นนิพพาน อรหันต์นี้ได้ ถึงขนาดนี้ได้

สำหรับเราก็ แค่นี้ พรรษา ก็น้อย ๆ

… ตั้งแต่ บวชมา รวมทั้งหมด ก็ ๒ ปี กับ ๑๑ เดือน กับอีก ประมาณ ๑๕ วัน ก็ เพิ่งจะบวชมาตั้ง แต่ ๒ ส. ค. ๒๕๓๖ ซึ่งตรงกับ เป็นวันเพ็ญ อาสาฬหปูชา เดือน ๘๘.. วันเข้าพรรษา แรม ๑ ค่ำ เดือน แปดแปด คือ วันที่ ๓ ส.ค. ๒๕๓๖ รวมแล้ว ถ้าจะ นับถึงวันนี้ วันที่ ๑๕ ก.ค. ๓๙ ก็ จะ ได้สามพรรษา ผ่านมาแล้ว ยังเหลือเวลา อีกไม่กี่วัน ก็จะถึงวัน เข้าพรรษา ที่สี่

ซึ่งใน ปี ๒๕๓๙ นั้น วันเข้าพรรษา แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘๘ คือ วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็น ปี อธิกมาส คือ มี เดือน แปด สองครั้ง รวม ทั้ง ปี ก็ จะ มี ๑๓ เดือน ... จะครบรอบ ๓ ปี เต็ม โดยประมาณ ถ้านับ วัน ตามวันเข้าพรรษา ใน วันที่ ๓๐ ก.ค. ๓๙ .. จะ เหลือเวลา อีก ประมาณ ๑๕ วัน ข้างหน้า นี้ ก็จะ ถึง วัน เข้า พรรษา ในพรรษา ที่ ๔ แล้ว นี่

.. แต่ ถ้า นับ ตามวันที่ ก็ จะ ครบ รอบ ๓ ปี เต็มนับ จาก ที่บวช มา ประมาณ ในวันที่ ๒ ส.ค. ๒๕๓๙ ... เพราะว่า บวช เมื่อ วันที่ ๒ ส.ค. ๒๕๓๖

นี่ อายยุ พรรษา แค่นี้ .. อายุที่ เกิด ก็แค่ ๒๘ ปี ... แล้ว จะเป็นไปได้อย่างไร

จะบรรลุอรหันต์ได้เพราะอะไร จะได้ เร็วเกินไป มิใช่หรือ ? ”..

ตอบ ว่า…… เอาน่า เราก็พยายามภาวนา ได้ละ ได้เลิก อด กลั้นต่อกิเลส กินน้อย นอนน้อย พูดน้อย สำรวม ระวัง ขยัน อดทน ตั้งใจดี ปรารถนาที่จะเป็นคนดี ๆ ได้ทำตามที่ครูบาอาจารย์ท่าน แนะ นำ สั่ง สอน ตัก เตือนทุกอย่าง มีการทำวัตร สวดมนต์ เจริญพระปริตรป้องกันภัย เช่น งู หนู ตุ๊กแก ผี ปีศาจ อันตราย เจริญ สติ ศรัทธา ความาเพียร พุทธ ธรรมมะ สังฆะ ฯลฯ แผ่เมตตา นั่งสมาธิ เดินจงกรม ผึกสติ ( สติ = ความรู้สึกตัว รู้ตลอด ทั้งทางร่างกาย ทางใจ ในสิ่งที่ดี ๆ จะทำให้สุด ๆ … ส่วน สิ่งที่ชั่ว ๆ จะพยายามที่จะไม่ทำเด็ดขาด )

ฝึกสติ ทุก ๆ ท่า ทุก ๆ วินาที บางครั้งถ้าได้เผลอทำผิดโดยขาดสติ สะเพร่าเกินไป ก็จะอดข้าวไม่ทานอาหารไปเลย เพื่อเป็นการชดเชย และถือโอกาสฝึกฝน อดทน ทดลองตัวเอง ไปในตัว เป็นอุบายที่ช่วยให้จดจำความผิด และแก้ไขตัวเองได้ดีมาก ๆ เท่าที่ได้

เคย อดอาหาร ตั้งแต่บวชมา จนถึงวันนี้ ก็ประมาณ ๓๕ วัน แล้ว แต่ ไม่ใช่อดยาวติดต่อกันทุกวันในรวดเดียว ที่อดรวดเดียว ติดต่อกัน อย่างมากก็ ๗ วัน

อดนอน ก็เคยอดติดต่อกันตลอด ก็ ๖ เป็นอย่างมาก แล้วก็อดนอน ๕ วัน ๔ วัน ๓ วัน ๑ วัน ก็ตามเหตุการณ์

แต่… วันนี้ วันที่ ๑๕ ก.ค. พ.ศ. ๒๕ ๓๙ ก็ไม่ได้อดอาหาร

ส่วน ในเรื่อง ศีล

ระเบียบ วินัย เราก็ได้พยายามรักษาศีลทุกข้อ ทั้งในปาฏิโมกข์ ที่มีจำนวน ๒๒๗ ข้อ สำหรับให้พระรักษา มีความผิด ปรับความผิด ระวางโทษ หรือปรับอาบัติ ตั้งแต่ระดับความผิดต่ำสุด ไปหาสูงสุด คือจาก อาบัติทุพพาสิต ทุกกฎ ปาจิตตีย์ ถุลลัจจัย อาบัติสังฆาทิเสส ปาราชิก ….และศีล ระเบียบที่อยู่นอกปาฏิโมก์จำนวน ๒๒๗ ข้อ ที่มีอีกเป็นจำนวนมาก ก็พยายามรักษาแบบเอาชีวิตเข้าแลกแล้วไงล่ะ? จะเป็นไปไม่ จะบรรลุไม่ได้ ได้ไง ตามหลักการแล้ว ผู้ที่จะบรรลุก็ต้อง มีศีล สมาธิ ปัญญา นี่เราเริ่มมี ศีล ดีแล้ว?

เราก็อุตส่าห์ รัก ชอบ ติดใจ ใน ศีล มากเป็นที่สุด แล้ว นี่ ทำไม่จะเป็นไปไม่ได้ จะบรรลุ ไม่ได้รึ?

ถือธุดงค์ เพิ่ม เพื่อ ข่ม ฆ่า ละ เลิก กิเลส อีกด้วย

เรื่อง ธุดงค์ทั้ง ๑๓ ข้อ ก็พยายามถือแทบจะได้ครบทุกข้อ มาตลอดนับตั้งแต่วันที่ได้บวช และได้เข้าสู่วัดป่า เป็นต้น มา เช่น การออกรับบิณฑบาตทุกวัน ไม่ออกบิณฑบาต ก็จะไม่ฉัน ไม่กิน ไม่ทาน … ๑ การออกบิณฑบาต ไปตามลำดับที่โยมรอใส่บาตรพระ….. ๑ ฉันอาหารที่จากโยมใส่ลงในบาตร โดยไม่ได้เลือกว่าจะ ดี เลว เพราะถึงอย่างไร โยมกินได้ พระก็ต้องรับได้ แต่ต้องไม่ผิดธรรม วินัยของพระ เช่น ไม่ใช่อาหารที่ดิบ ( ยกเว้นผักดิบ บางอย่าง ) ไม่ใช่เนื้อดิบ เช่น ปลาร้า ปลาจ่อม ปลาเค็ม ฯลฯ ที่ดิบ ที่ยังไม่ได้ต้ม ทอด ให้สุก .. ไม่ใช่เนื้อดิบ เช่น ลาบดิบ ซกเล็กดิบ เนื้อย่างที่ดิบ น้ำตกที่ดิบ ไม่ใช่เนื้อต้องห้ามทั้ง ๑๐ เช่น เนื้อช้าง ม้า เสือดาว เสือเหลือง เสือโคร่ง งู ( หรือสัตว์ที่รูปร่างคล้าย ๆ กับ งู เช่น ปลาไหล ) เนื้อหมี ราชสีห์ เนื้อคน เนื้อหมา หรือสุนัขบ้าน เนื้อทั้ง ๑๐ นี้ ถึงจะทำให้สุก ไม่ดิบ .. แต่ พระก็จะรับ และจะฉัน เนื้อทั้ง ๑๐ นั้น ไม่ได้ ส่วนเนื้ออย่างอื่นที่สุกแล้ว ไม่ดิบ พระไม่ได้ขอ นอกจากเจ็บป่วย ….หรือพระจะขอให้พระองค์อื่นที่เจ็บป่วย พระก็จะฉันได้ เพราะว่า พระที่ดี ๆ นั้น จะรักษา จะเคารพ จะเกรงกลัว จะไม่กล้าทำผิดพระวินัย เลย……. ๑ มีการฉันมื้อเดียว ถ้าได้ลุกแล้วไม่ฉันอีก… ๑ มีการใช้ผ้าไตรจีวร คือ ผ้าสามผืน ไตร = สาม คือ ๑. ผ้าสบง ที่ ใช้ นุ่ง ๒. ผ้าจีวร ที่ใช้ห่ม ใช้ห่มคลุม ๓. ผ้าสังฆาฏิ ที่ใช้ห่มซ้อนกับผ้าจีวร ในเวลา ออก จากวัด เวลา เข้าบ้าน เวลาไปบิณฑบาต นอกวัด ( ที่ นิยม เอาสังฆาฏิ พับให้พอดี แล้วงเอา มาพาด ที่บ่าซ้าย เป็นประเพณีของพระไทย ) และ ผ้า ทั้งสามผืนนั้นก็ เป็นผ้าบังสุกุลที่ตัด เย็บ ย้อมด้วยน้ำย้อมจากการต้มแก่นต้นขนุนทั้ง ๓ ผืน อีกด้วย ไม่ใช้ผ้าผืนที่สี่ ยกเว้น ผ้าอังสะ ( อังสะ กว้าง ๑ คืบ ยาว ๓ ศอก ... จาก หนังสือ วิสุทธิมรรค ) … ๑ การอยู่ป่า… ๑ การอยู่โคนไม้ ที่ได้แขวนกลดในหน้าแล้ง ( การที่พระ เอา ด้ามกลดปักดินเหนียว ดินร่วน จะ ทำให้ ผิดพระวินัย เรื่อง ห้ามพระขุดดิน ... ยกเว้นปักดินทราย หิน ที่ไม่มี ตัวสัตว์ ไม่มีพืช ) หน้าหนาว ประมาณ เดือน ๑๒ เป็นต้นไป และหน้าร้อน จะชอบไปอยู่กลดในป่า หรือในป่าช้า ไม่ได้อยู่กุฏิ ( รักษากุฎีไว้ กัน มดปลวก ทำความสะอาด เผื่อให้ ครูบาอาจารย์ ได้พัก ) … ๑ การอยู่ป่าช้า … ๑ การอยู่ที่แจ้ง…๑ การอยู่ตามที่ท่านจัดกุฎี จัดที่อยู่ให้ ที่พัก จัดห้องให้… ๑ เฉพาะในวันพระก็สมาทานตั้งใจจะไม่นอนตลอดคืน มาตลอด… ๑ เป็นต้น นี่การฝึกถือธุดงค์ที่ได้เคยฝึก เรียน ทำปฏิบัติมาจริง ๆ ไม่ใช่ท่องได้อย่างเดียว

รูป ทางจงกรม ที่ ข้าง ๆ กุฎี ด้านต่ำกว่า กุฏี ตามดินของภูเขา ใกล้ ๆ ศาลา บนภูเขา ที่ พระประสิทธิ์ ฐานะธัมโม ( แววศรี ) เคยจำพรรษา ที่ สำนักสงฆ์เต่าดำ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

ถือวัตร ๑๔ เพิ่ม อีก ด้วย

อีกทั้งในเรื่อง วัตรทั้ง ๑๔ อีกเล่า ก็ มีการช่วยเหลือคณะสงฆ์ ครูบาอาจารย์ ทำกิจวัตร ปัดกวาด เช็ด ถู การต้อนรับ กราบไหว้ รับบาตร จีวร ถวายน้ำดื่ม น้ำใช้ ล้างเท้า การกราบ ไหว้กันตามพรรษา ( อายุปีที่บวช… ผู้ที่บวช ทีหลัง จะต้องกราบ ผู้ที่บวชก่อน ) การ แจ้งกฎ กติกา ระเบียบ ประเพณี ให้ผู้ที่มาใหม่ได้ทราบ ….. การหาสถานที่อยู่ให้แก่ผู้ที่มาเยือน ทั้งที่เป็นพระภิกษุ สามเณร และที่เป็นโยมมาเยี่ยม มาพัก ให้ได้พัก ได้อาศัย หาน้ำดื่ม จอกน้ำ น้ำใช้ กระโถน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม ( ยกเว้น ผ้า ที่ สมาทาน ไม่ใช้ ) เทียน ไม้ขีด ไฟฉาย ยารักษาโรค เทียนสำหรับจุดให้แสงสว่าง สำหรับ ฝึกสมาธิ เดินจงกรม หา ที่หลับที่นอน ที่แขวนกลด ห้องพัก บอกห้องน้ำ ว่าอยู่ที่ไหน ชาย หญิง ห้องน้ำของพระ ของโยมอยู่ที่ไหน ทิศไหน ก็บอก? แจ้งกฎ กติกา ระเบียบ ประเพณี ให้แก่ผู้ที่จะมาพัก ให้โยมทราบ…. ๑ การไปที่วัดอื่น บ้านอื่น จะทำตัวอย่างไร ? หลักการ เมื่อเราอยู่ในวัด ในที่พัก ในบ้านท่านแล้ว เราจะดูแล ที่อยู่ สิ่งของ ให้สะอาด เรียบร้อย ไม่รก รุงรัง ปัดกวาด ปิดประตู หน้าต่าง ลั่นกุญแจ หรือไม่ ? คว่ำถัง คืนสิ่งของ คืนกุฎี กล่าวลา กล่าว ขอบคุณ แด่ เจ้าของสถานที่อย่างไร? … ๑ เรื่องทำความสะอาดสถานที่อยู่ บริเวณ ศาลา โบสถ์ ลานวัด ฯลฯ ก็ได้ทำในตอนเวลาประมาณบ่ายสามโมงเย็น และทำในตอนหลังทำวัตรเช้า ทุกวัน….. ๑ การล้างบาตร ซัก จีวร อุปัฏฐากช่วยเหลือครูบาอาจารย์ หรือพระอุปัชฌาย์ ทำความสะอาดสถานที่อยู่ กุฏิ ห้องน้ำ ส้วม ศาลา โบสถ์ ที่พระอาจารย์ หรือสถานที่พระอุปัชฌาย์ท่านอยู่ประจำ … นี่มีแยกเป็น ๒ คือทำให้พระอุปัชฌาย์ ๑ และทำให้พระอาจารย์ เจ้าอาวาส อีก ๑ ….. วิธีการทำตัว ปฏิบัติตัวในโรงฉัน หรือโรงอาหาร… ๑ วิธีการเข้าบ้าน เช่น ไปบิณฑบาต ไปฉันในบ้าน … ๑ การให้พร การอนุโมทนา ยถา สัพพี ฯ + การ ให้กำลังใจ บอกธรรม ให้ญาติโยม เข้าใจ ฯลฯ … ๑ วิธีการอยู่ป่าที่จะต้องศึกษาเรื่องดวงดาว ทิศทาง ฤดู ภูมิศาสตร์… ๑ การใช้ห้องอบกาย ที่เติมยาสมุนไพร หรือ สปา เพื่อรักษาโรค ที่เสนอโดยหมอชีวกโสดาบัน นี่ก็เคยทำมาในฤดู ฝน + หนาวมาแล้ว … ๑ การออกรับบิณฑบาตที่จะต้องห่มจีวรและสังฆาฏิซ้อนกัน ( ยกเว้น ถ้า สังเกตเห็นว่าฝนจะตก หรือป่วย.. ก็ อาจจะห่ม ผืนเดียวได้ นุ่งสบง ตลอด ) ติดรังดุมที่คอ และที่ข้างล่างทั้งสองผืน ก็ทำมาตลอด… ๑ การอยู่ป่าเหรอ? นี่เราก็อยู่ในวัดป่า วัดกรรมฐานอยู่แล้ว และมีการฝึกอยู่ทุก ๆๆ วัน ไม่มีปัญหา… ๑ เป็นต้น ก็พยายามฝึกอยู่เสมอ

การ ฝึก สมาธิ

ก็ฝึกมาตลอด จนลมหายใจดับ มาตลอด รักษาสมาธิ ไม่คลุกคลี อยู่สงบ ฝึกสมถะ มาตลอดนี่ พระไตรปิฎก ( หลักการ ทฤษฎีที่พระจะต้องเรียน )

อ่านพระไตรปิฎก จบ รอบแรก ๔๕ เล่ม

ก็อ่านจบทุก ๆ เล่ม จำนวน ๔๕ เล่ม ปก สีน้ำเงิน จบ ๑ รอบ ไปแล้ว เมื่อหน้าแล้ง ช่วงที่ มาวิเวก ที่ สำนักสงฆ์เต่าดำ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ นี้ ในตอน นั้น โยม จัด ทำแคร่ ที่ทางจงกรม ที่หลุม ขับถ่าย ให้ ประจำ ทุก ๆ ที่ แขวนกด ( พระ จะ ปักด้ามกลด ลงดิน ไม่ได้ จะผิด พระวินัย ) ที่อ่านได้ก็ ด้วยการอาศัยที่ว่า ได้เคยมี ประสบการณ์ จาก ที่ ได้ เคย อดทน เรียนหนังสือมา ประมาณ ๑๘ ปี ก็เลยมีความชำนาญ มีทักษะ เทคนิค วิธีการ ในการเรียนรู้ในเรื่องต่าง ๆ ทั้งวิชาการ และวิธีปฏิบัติ คือเรียนทางช่าง ทางวิศวกรรม ที่เป็นเรื่องทางโลก ที่รวดเร็ว จนได้เกียรตินิยม มาแล้ว แล้ว ก็ได้ดัดแปลงเอาความรู้ ชำนาญนั้น ๆ มาใช้กับวิชาการ และวิธีการปฏิบัติในทางธรรม มาใช้กับพระไตรปิฎก หลังจากที่ได้ทดลองตามวิธีที่ครูบาอาจารย์บอกทุกอย่างแล้ว ก็เลยลอง ๆ เอาวิธีการเก่า ๆ ตามที่ตัวเองชำนาญมาใช้ช่วยในการภาวนา ซึ่ง ผลก็คือ ก็ได้ผลดีเลิศ

ไม่สงสัยในหลักการ ปริยัติ หรือ ทฤษฎี ขั้นตอน ลำดับวิธีการ การแก้ไข ข้อดี ต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนา ที่สามารถที่จะพาพ้นทุกข์ได้ แน่นอน

ปาฏิโมกข์ คือ ศีลทั้ง ๒๒๗ ข้อ ของพระ ก็สวด ท่องจำ ท่องปากเปล่า โดยไม่ดูหนังสือก็สวดได้แล้ว หลักสูตรการเรียนของพระ มีนักธรรมตรี และโท ก็เรียน และสอบได้แล้ว ฟังเทศน์ก็ฟังไม่เคยเว้น เลย การฝึกกรรมฐาน สมถะภาวนา ก็ได้ทำทุก ๆ วินาที ทุกท่า ทุกองศาของการเคลื่อนไหวของร่างกาย ทุกวัน ทุกท่า ตลอดปี ไม่มีเว้นแม้แต่วันเดียว ได้ฝึกกรรมฐานมาตลอด ไม่ใช่จะ ทำเฉพาะ ที่ทำเป็นช่วง ระยะ ๒ วัน ๕ วัน ๗ วัน ๘ ระยะ ๙ วัน หรือถือเฉพาะในตอนที่ฝึกกรรมฐาน ถือธุดงค์ เป็นบางวัน บางอาทิตย์เท่านั้น หรือถือเฉพาะในช่วงเข้าปริวาสกรรม เท่านั้น ( ไม่เคย เข้าปริวาส )

( พระไม่เคยต้องอาบัติสังฆาทิเสส ก็เลยไม่เคยเข้าปริวาสกรรม แต่เคยไปศึกษา ไป ไปเป็นผู้คุม ไปช่วยงานบ้าง .. เคย ช่วย พระรูปอื่น ช่วยครูบาอาจารย์ ให้ออกจากอาบัติ สังฆาทิเสส ) ……….

ตามหลักการแล้ว ผู้ที่จะบรรลุก็ต้อง มีศีล สมาธิ ปัญญา นี่เรามี ศีล + สมาธิ ดีแล้ว? แล้ว ทำไม เรา จะบรรลุ มิได้ล่ะ?

รูป .. ทางลัด บันใดขึ้นชัน ๆ สำหรับ เดิน ขึ้นไป ทางจงกรม ที่กุฎีข้างศาลา บนภูเขา แล้ว เดิน ไปที่ ศาลาบนภูเขา ได้ .. เป็นกุฏี ที่ จำ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ .. ถ่ายภาพ เมื่อ ๒๑ มี.ค. พ.ศ. ๒๕๕๓

ส่วน ปัญญา

( มาจาก ไตรสิกขา คือ ๑. ศีล ๒. สมาธิ ๓. ปัญญา )

ก็มาฝึกพิจารณา สุภะ สลับกับ อสุภสะ นี่ ไง เห็น อนิจจัง กับทุกข์ ก็ยังไม่เท่าไร มีแต่ทุกข์เพิ่มขึ้น ต่อมาเห็น อนัตตา ในรูป ในตอนแรก แล้ว ก็เริ่มที่เบื่อร่างกาย ก่อน แล้ว ก็ทิ้งร่างกาย ปล่อยวาง ร่างกาย

แล้วต่อมา ก็เพ่งเข้ามาที่ใน จิต ที่ใจ ที่ ผู้รู้ ที่นาม และเห็น อนัตตา ในจิต ในใจ ในผู้รู้ ในนาม แล้วต่อมา ก็เบื่อจิต เบื่อใจ เบื่อผู้รู้ เบื่อ ( นิพพิทา ) นาม ที่เป็นอนัตตา นี่ ไง ? ทิ้ง จิต ปล่อยวาง จิต

แล้ว เมื่อตะกี้ ตัณหาทั้งสาม ก็หมดไปจากใจ แล้วต่อจากนั้น ก็

ทั้ง ร่างกาย และจิต หรือใจ หรือผู้รู้ หรือนาม ก็ระเบิด พร้อมกันไป แล้ว ณ ที่นี่ ๆ ๆ เมื่อตะกี้นี้ ไม่ใช่รึ? จะไม่ให้เป็น……ได้ ... ยังไง

แล้วก็อาการนั้น ที่ว่าง ๆ นั้น ( นิพพาน ) ก็ อยู่ใน ใจ นี้ ๆ แล้ว เดี๋ยวนี้ นี่ไง

ตามหลักการแล้ว ผู้ที่จะบรรลุก็ต้อง มีศีล สมาธิ ปัญญา นิพพาน มีความรู้ความเห็นเรื่องพระนิพพาน

นี่เรา ก็มีครบ ทั้ง ๕ คือ ๑. ศีล ๒. สมาธิ ๓. ปัญญา ๔. นิพพาน ( วิมุติ ) ๕. ความรู้ความเห็นเรื่องพระนิพพาน ( วิมุติญาณทัสสนะ ) แล้ว นี่ ? จะให้ทำอย่างไรอีกล่ะ จะไม่ให้เชื่อได้ไง คงต้องยอมรับความจริงแล้วล่ะ

เป็นไปแล้ว ….ยอม ๆ ๆ นี่ พยาน ก็คือ มีอาการที่ไม่เกิด ที่อยู่อยู่ ในใจ แล้ว นี่ไง ยอม ๆ …. พร้อมกับน้ำตาไหล ๆ ๆ

ในขณะที่กำลังเดินตามทางจงกรมไปทางทิศเหนือช้า ๆ

ต่อมาปัญหา.......

ที่ สาม ต่อจาก ปัญหา ที่สอง ทันที

ก็ ถาม : …อีก ว่า

“ แล้ว เราจะทำอะไรต่อไปอีกละ ในเมื่อใจของเราเป็นอย่างนี้ ใจที่หากิเลสไม่มีกิเลส แล้ว ? ”

ตอบ : … แต่ก่อน… ในขณะที่เรายังมีกิเลสอยู่ในใจ ไม่ใช่กิเลสจะอยู่ในร่างกาย เราจะมีความอยากได้เพื่อน อยากได้ตำแหน่ง อยากได้สิ่งของ อยากนั่น ๆ นี่ ๆ โน่น ๆ และความอยากทางใจก็มีมากมาย อยากให้คนรู้จัก อยากให้คนยกย่อง อยากเป็นหัวหน้า อยากได้สิ่งของ อยาก ๆ ๆ ๆ ๆ อยากหลุดพ้นก็มี อยากพ้นทุกข์ อยากได้ นิพพาน ก็มี

แต่ มาบัดนี้ เรากลับไม่มีความอยาก ทั้งทางร่างกาย และทางจิตใจ เลย อยากเป็นพระอรหันต์ก็ไม่อยาก อยากได้ นิพพาน ก็ไม่อยาก

เพราะว่า มีสิ่งนั้น ( นิพพาน ) นั้น ก็มีอยู่ในใจของเราอยู่แล้ว หมดความอยาก

ไม่มีตัณหา แล้ว

แต่.. ก็ยังรับประทานอาหาร กิน อยู่ หลับนอน ต่อไป แต่ไม่กินมาก นอนมากเหมือนเดิม จะกินน้อย นอนน้อย และมีความสุขมากที่สุด แล้ว

…………….ทีนี้ ต่อไปนี้ เรา จะมาเดินจงกรม จะมานั่งสมาธิ จะทำวัตร จะรักษาศีล จะต้องถือธุดงค์ จำเป็นที่จะต้องมาอ่านหนังสือธรรม อ่านพระไตรปิฎก ไปอีกหรือไม่ ? จะ อ่านไปทำไม?

เพราะว่า เราก็รู้ว่า ตอนนี้ ไม่มีงานที่จะทำอีกแล้ว เสร็จกิจ จบการศึกษา จบหลักสูตร สอบผ่านหมดแล้ว ทำได้หมด เรียนจบหลักสูตร จบความรู้ที่ครูจะต้องสอนแล้ว ถึงที่สุดทาง แล้ว ถึงที่สุดทางความคิด แล้ว ตัน ไม่มีที่จะไปอีกแล้ว ไม่เกิดอีกแล้ว ไม่มีสิ่งที่จะต้องเรียน ฝึก ศึกษาในธรรม อีกแล้ว ไม่มีความอยากที่จะอ่าน จะค้น ไม่มีความอยากที่จะคิด ไม่มีความอยากที่จะไปรู้ จะไปคิด ไปค้น ไม่มีจิตที่อยากจะไปวิปัสสนาอีกแล้ว เหมือน ๆ กับว่า เราทำงานของเรา เสร็จแล้ว จะทำอะไรต่อ……

จริง ๆ แล้ว ถึง เราจะทำการภาวนา จะคิดค้น อีก จะทำอีก ก็ได้ แต่ ก็ไม่มี งาน ฆ่ากิเลสที่ จะต้อง ฆ่า จะต้องทำ เพราะไม่มีกิเลส ที่ จะฆ่า ก็ต้องวางมือ ......... เอาเถอะ ๆ น่า เมื่อเรารู้ว่าไม่มีงานอะไร ที่จะต้องคิดค้น ต้องภาวนาอีกแล้ว …………….

ตอบ ว่า ก็สุดแล้วแต่ครูบาอาจารย์ ท่านจะสั่ง จะ แนะนำ เถิด เพราะว่า เราสบาย สุขที่สุด สมปรารถนาแล้ว เราก็จะรักษาศีล ถือธุดงค์ต่อไป วิปัสสนา ศึกษาพระไตรปิฎก ภาวนาต่อไป แต่ รู้อยู่ในใจ อยู่นา ….

รู้ว่า ไม่ใช่ทำ เพื่อจะฆ่ากิเลส เพราะว่า ในตอนนี้ หากิเลสไม่เจอ ไม่มีกิเลสในใจ แล้ว หมดเกลี้ยงสนิทเลย ถ้า เจอกิเลสเมื่อไหร่ ก็เป็นได้เรื่องล่ะ ต้องหวนกลับมาภาวนาใหม่อีก

เราก็จะทำตามข้อวัตร ระเบียบที่ครูบาอาจารย์ท่านพาทำมา และจะต้องเป็นสิ่งที่ถูก ๆ จึงทำตาม ... ส่วนที่ท่านพาทำผิดจะไม่ทำตาม จะพยายามทำตามในเรื่อง ในสิ่ง ในเหตุการณ์ ที่ไม่ผิด ธรรม วินัย ที่เป็นประโยชน์แก่ตน และแก่ผู้อื่น สุดความสามารถต่อไป…….

ในช่วงที่กำลังคิดอยู่นี้ ขณะที่กำลัง คิดอยู่นี้ น้ำตาไหลอาบแก้ม มา ตลอดเวลา

ตั้งแต่ปัญหาที่ ๑ แล้ว

นอกจากนั้น ก็ได้ลอง ๆ กะ ๆ ไว้ว่า ประมาณ พรรษาที่ ๑๔ – ๑๕ คือ ประมาณ ใน ปี พ. ศ. ๒๕๕๔ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๕

จึงจะเริ่มสอน จะเริ่มรับพระภิกษุ สามเณร โดยจะเน้นการสอนลงที่ พระ + เณร ชี เป็นอันดับแรก รองลงมาก็คือ สอนชาวบ้าน ญาติ โยม ส่วนช่วงจาก ๑๐ ปี ก่อน นั้น ก็ จะ ขออยู่แบบสบาย ๆ ไปก่อน

หลัง จากนั้น ก็ได้หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ทางประเทศไทย .. จุดที่เดินจงกรม จะห่าง จาก ชายแดน ไทย กับ พม่า ทางทิศตะวันตก ประมาณ ๔ กม. .... จะ มองเห็นภูเขา ที่เต็มไปด้วยป่า ภูเขา ลำเนาไพร ที่มากมาย หลาย ลูก ที่แสนจะปลื้ม ปีติ เป็นล้นพ้น แล้วก็มาระลึก นึก ถึง คุณงาม ความดี บุญคุณของครูบาอาจารย์ พระสงฆ์ ทุกรูป ทุกองค์ ทั้งพระอริยะ เช่น หลวงปู่ชา ฯลฯ และ ปุถุชน ทั้งชาวไทย และต่างประเทศ ทั้งทางวัดในบ้าน ทางวัดป่า ทั้งทางฝ่ายบริหาร ทั้งจากครูบาอาจารย์ที่ตัวเองได้เคยอ่าน ศึกษา เรียน ฟัง จากหนังสือ เทป ผลงานของท่าน ทั้งที่ได้ร่วมดู ร่วมปฏิบัติธรรมกรรมฐานกับท่าน ทางด้านปริยัติการศึกษาเล่าเรียน ก็ดี ทางฝ่ายกรรมฐานฝ่ายปฏิบัติภาวนา ก็ดี แหม… ทุก ๆ ท่านเหล่านั้นช่างมีคุณ มีความน่าเคารพ กราบไหว้ อีกทั้งท่านก็ยังได้ให้โอกาส ให้เวลาที่ไม่ต้องให้เราก่อสร้างมาก ให้สถานที่ในการภาวนาที่สงบ แก่เรา ไม่ต้องมาวุ่นวายกับมหรสพ การพนัน กับ เสียง กับงานอื่น ๆ ที่ไม่ใช่งาน ภาวนา ท่านเหล่านั้น ช่างทำกับเรา ดีเหลือเกิน

นอกจากนั้น ญาติโยม ชาวบ้าน ทุก ๆ คน ทั้ง ชาวไทย และต่างประเทศ อีกเล่า จะลืมมิได้เลย ที่ สำนักสงฆ์ เต่าดำ ก็ คือ โยม ทิวาพร ศรีวรกุล ( ได้ รับรางวัล ดีเด่น ในปี พด.ศ. ๒๕๔๐ + อีกลายรางวัล ) พร้อมครอบครัว ญาติมิตร และคนอื่น ๆ .. บุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ก็ล้วนแต่มีคุณกับเรามาก ๆ ๆ ๆ ที่ได้ช่วยสนับสนุน ส่งเสริม ทางด้านปัจจัย ทั้ง ๔ และการเดินทาง ไป ๆ มา ๆ ให้ความสะดวกในด้าน หนังสือพระไตรปิฎก หนังสือธรรม หนังสือทำวัตรสวดมนต์ หนังสือหลักสูตรนักธรรม ม้วนเทปคาสเซ็ท แบบ สี่เหลี่ยม { สมัยนั้น ยังไม่มี แผ่น ซีดี. .. แผ่นซีดี. ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ ( อังกฤษ : compact disc) คือแผ่นออฟติคอลเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ) } อุปกรณ์ฟังเทปธรรมมะ ถ่านไฟฉายเพื่อเปิดฟังเทป สื่อการเรียนธรรมมะอื่น ๆ .. ครูบาอาจารย์ และญาติโยม ที่ได้ให้กำลังใจ ให้โอกาส ให้เวลา ให้อภัย อดทนในยามที่เรา ผู้เป็นศิษย์ ยังผิด พลาด ยังหลงอยู่…

เหมือน ปู่ ย่า ตา ยาย ป้า น้า อา ลุง พ่อ แม่ พี่ ที่ยอมอดทน รอเวลา เฝ้า ดู แล ลูก ๆ หลาน ๆ หรือคุณครู ที่อดทน กับนักเรียนที่ตนสอนมา จนนักเรียนนั้นได้ ดิบ ได้ดี ก็รอได้

ไป กราบพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์

ในเวลา ต่อมา ก็ได้เกิดความคิดถึง พระพุทธเจ้า ที่อยู่ที่เมืองอินเดีย ก็เลย หันหน้าจากที่ทิศตะวันออก หมุน ตัว หันไปทางซ้ายมือ หันไป ทิศตะวันตก เพื่อจะกราบพระพุทธเจ้า ณ ที่ประเทศอินเดีย อันเป็นบ้านเกิดของพระพุทธเจ้า เป็นสถานที่ท่านตรัสรู้ ที่ท่านได้แสดงธรรม เป็นสถานที่ท่านประกาศ หลักการ ทฤษฎี

เรื่อง อริยสัจจ์ ๔ อรหันต์ นิพพาน และเป็นสถานที่ท่านปรินิพพาน หรือตายของพระพุทธเจ้า ก็พอดีกับตัวเองได้เกิดอาการ เหมือน ๆ เข่าอ่อน ทรุดฮวบลงจากที่กำลังระลึกถึง ครูบาอาจารย์ ที่อยู่ทางทิศตะวันออก เสร็จแล้ว …..

เข่าอ่อนแบบยอมรับพระพุทธเจ้า แบบสุดที่สุด … ไม่มีข้อแม้ใด ๆ ไม่ใช่จะหมดแรง แต่ ก้มลง ทรุดตัวลง ด้วยความเคารพ เป็นที่สุดในโลก น้ำตาก็ไหลลงที่หัวเข่า รดลงที่ตักที่กำลังก้มลงกราบพระพุทธเจ้า กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์ กราบลง ณ ที่พื้นดินที่เปียก ๆ เพราะฝนตกพรำ ๆ มาหลายวัน แต่ขณะที่กำลังเกิดอาการนี้ ฝนได้หยุดไปชั่วคราว ได้ก้มลงกราบ ณ ที่สุดข้างทางจงกรมด้านทิศเหนือ พร้อมกับ รำพึง รำพัน ถึงพระรัตนตรัย ด้วยความสุข เป็นที่สุด

ต่อมาก็หวนมาระลึก นึกถึง พระพุทธเจ้า หรืออดีต เจ้าชายสิทธัตถะ ที่ท่านได้เป็นบุคคลแรกที่ได้ค้นพบพระนิพพาน จนได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพระอรหันต์องค์แรกของโลก ท่านช่างฉลาด เลิศเลอกว่านักวิชาการ ฉลาดกว่านักวิจัย เก่งกว่านักวิทยาศาสตร์ เก่งกว่าหมอ ทุก ๆ คนในโลกนี้ เพราะในโลกนี้ไม่มีใครที่บรรลุนิพพานได้เอง โดยไม่ต้องไปขอเรียนมาจากผู้อื่น เหมือนท่านเลย ยกเว้นพระปัจเจกอรหันต์เท่านั้น ที่บรรลุอรหันต์ได้เอง แต่พระปัจเจกท่านไม่ได้ประกาศ ไม่ได้ตั้งศาสนา ไม่ได้สั่งสอนผู้คนมาก ส่วน พระอรหันต์รูปอื่นคนอื่นนั้นจะต้องไปเรียนจากท่าน พุทโธ จากพระพุทธเจ้า หรือจากที่อื่น ก่อนแล้วจึงจะบรรลุอรหันต์ตาม พุทโธ ได้ ระลึกถึงพระคุณของพุทโธ ที่ท่านอุตส่าห์สั่งสอนธรรมมะ แก่ชาวโลกนั้นดีนักหนา

ถ้าท่านไม่สอน เราก็คงจะไม่รู้ ไม่เห็น ไม่เป็น เหมือนท่าน รู้สึก เข้าอก เข้าใจ เห็นคุณค่า ยอมรับ สงสารในความลำบากที่พุทโธท่านจะต้องตรากตรำ อุตส่าห์ พยายาม อดทน พร่ำบอก แนะนำ สั่งสอน ธรรม ที่ดีเลิศกว่า ทุกวิชาในโลก สอนธรรมให้แก่ชาวโลก ด้วยความเมตตา กรุณา โดยที่ท่านจะคิดไม่คิดค่าตอบแทนแม้จะนิดหนึ่ง ก็หามิได้ จนชาวโลกได้เห็นผล ได้รับผล มีความสุข สบาย พ้นทุกข์ ตามกำลัง ความสามารถกันถ้วนหน้าอ้อ ….. ในใจนี่ ข้าพเจ้าขอยอม เคารพ เทิดทูล กราบไหว้ มอบกายถวายชีวิตต่อพระพุทธเจ้า จะเชื่อฟัง ยอมเป็นทาส ยอมทำตามพระพุทธเจ้า สุดเศียรเกล้า ตลอดชีวิตไป

ต่อมาก็คิดถึง พระธรรม แหม พระธรรม คือความจริง คือหลักการที่พระพุทธเจ้าได้ ทรงนำมาเปิดเผย สั่งสอน พระธรรม เป็นสิ่ง เป็นผลงานวิจัย เป็นหลักสูตร ทฤษฎี ของพระพุทธเจ้า พระธรรม เป็นเรื่องที่น่า อัศจรรย์มากที่สุดในโลก ยิ่งกว่า วิชาวิศวกรรมศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ เทคโนโลยี ยิ่งกว่า วิชาครู วิชาช่าง วิชาการคำนวณ วิชาทางการทหาร ตำรวจ วิชาลูกเสือ วิชารักษาดินแดน แลยิ่งกว่า เลิศกว่า… …วิชาการ มากว่าความรู้ อื่น ๆ อีกมากมาย ทุก ๆ วิชา ตามที่ได้เคยเรียนมา ที่มีสอนอยู่ในโลกมนุษย์ สมัยนี้ และอีก สองพันกว่าปี ตามหลักสูตรที่ทางโรงเรียนของรัฐบาลได้จัดมีให้เรียน ตั้ง แต่ระดับการศึกษา ชั้น ป ๑ จนถึง ระดับ ชั้นปริญญา ตรี ที่เคยได้ร่ำเรียนมา โดยเฉพาะ เรื่อง ศีล หรือระเบียบวินัย นี่ ก็เลิศที่สุด ไม่มีสถาบันใดในโลกที่จะมี ระเบียบ วินัย ข้อกติกา ข้อตกลง ที่ละเอียด ลออ มาก เท่า ธรรมมะ ช่างยอดเยี่ยม ปลอดภัย มั่นใจ วางใจได้ พึ่งได้ ที่สูงส่งเกินกว่า วิชา ธรรมมะ หรือสถาบันธรรมมะ นี้ แล้วยิ่งในเรื่องสมาธิ เรื่องปัญญา นิพพาน อาการของนิพพาน ความสุข ความเบา ความสบาย อิสระ และสิ่งที่ ดี ๆ ไม่มีความชั่วเลย ฯลฯ ที่อยู่ในใจขณะนี้ ก็ยิ่งเป็นพยานประจัก ชัดเจนในเรื่องธรรม ข้าพาเจ้า ขอ ยอม เคารพต่อพระธรรม จะขอเทิดทูล กราบไหว้ มอบกายถวายชีวิต

เชื่อฟัง ยอมทำตามทุก ๆ ตารางมิล ทุก ๆ กระเบียดนิ้ว จะยอมเป็นทาส ของพระธรรมที่มีหลักการ วิธีการปฏิบัติ อันประกอบด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา เมตตา กรุณา อริยสัจจ์ ๔ อิทธิบาท ๔ ขยัน อดทน ประหยัด เป็นคนดี และธรรมอื่น ๆ อีกมากมาย รวม ๘๔, ๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ซึ่งอยู่ในประไตรปิฎก สุดเศียรเกล้า ตลอดชีวิตไป

ต่อมาก็มาหวนระลึก นึกถึง พระอรหันต์เจ้า ( พระสงฆ์ ) ทั้งหลาย อาทิ เช่น ท่านพระอรหันต์มหากัสสะปะ ที่เป็นยอดทางการถือธุดงค์ ที่เราก็ได้พยายามทำตามท่าน พระอรหันต์สารีบุตรที่เป็นเลิศทางปัญญา ที่เราก็พยายามศึกษา อ่านเพื่อเลียนแบบท่านท่านอรหันต์พระโมคคัลลานะ ท่านอรหันต์อนุรุทธะ ท่านอรหันต์พระอานนท์ ที่เป็นเลิศทาง พหูสูต อุปัฏฐาก มีสติ คติที่จะไปดี ที่ตัวเราเอง ก็ได้พยายาม ฝึก เหมือน ๆ ท่าน ท่านพระอานนท์ได้รวบรวมพระสูตรปิฎก ท่านพระอุบาลีอรหันต์ที่ได้รวบรวมพระวินัย หรือศีลให้พวกเราเรียน ที่เรียกว่า พระวินัยไตรปิฎก จนส่งผลมาให้พวกเราได้เรียนได้รู้ตาม ถ้าไม่มีท่านอรหันต์อุบาลี…… แล้ว เรา.. คงจะไม่มีวันนี้แน่.. ๆ และอีกองค์อื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวนาม อีกมากมาย แต่ท่านมีคุณ เก่ง เป็นบุคคลที่ยอดเยี่ยมที่สุดของมนุษย์ จริง ๆ

ข้าพเจ้าขอยอม เคารพ เทิดทูล กราบไหว้ มอบกายถวายชีวิต ยอมทำตาม เชื่อฟัง จะเคารพต่อพระสงฆ์ พระอริยสงฆ์ สุดเศียรเกล้า ตลอดชีวิตไป

และ ที่ น่า ทึ่ง ก็ ทำไม พระพุทธเจ้า ๑ พระธรรมอีก ๑ และพระสงฆ์อีก ๑ จึงได้เกิดมารวมกันอยู่ในใจของเรา ณ ที่แห่งเดียว ไม่ได้แยกเหมือนแต่ก่อน เป็นที่เดียว อันเดียวกัน จากเดิม ที่มี อยู่ ๓ อย่าง

หลังจากนั้น ก็ได้ขึ้นไปบนศาลาบนภูเขา ข้าง ๆ ทางจงกรม นั่ง ที่ หน้าพระพุทธรูป กราบสวย ๆ แบบเบญจางค์ประดิษฐ์ แบบ ห้า อย่าง ติด พื้น คือ หน้าผาก ๑ เข่า ๒ ข้าง และ ฝ่ามือ อีก ๒ กราบลง ที่ด้านหน้าพระพุทธเจ้า ๓ ครั้ง แล้วก็ก้มลง กราบรูปถ่าย ของพระสงฆ์ครูบาอาจารย์ มีรูป ของหลวงปู่มั่น หลวงปู่ชา ที่ตั้งอยู่ที่ที่แท่นพระ อีก ๓ ครั้ง แล้วก็ได้นั่งสมาธิ หันหน้าไปทางทิศตะวันออกตามทิศเดียวกับที่พระพุทธรูปที่อยู่บนศาลาหันไป

กำหนดจิตให้เป็นสมาธิ แบบ พุทโธ จน พุท โธ ดับ ลมหายใจดับ ดับไปทุกอย่าง ลมดับไปได้เวลา เพียงไม่กี่ ชั่ว นาที เร็วมาก เร็วกว่าแต่ก่อน ไม่หลับ มีสติตลอด รู้ตลอด แต่ สุขที่สุด สบายที่สุด เงียบ สงบ

รูป ... พระพุทธรูป ที่ ศาลาบนภูเขา ที่เคย ได้ นั่งสมาธิ หลัง จาก มาจาก ทางจงกรม ใน วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙ เวลา ประมาณ หนึ่งทุ่ม .. ๑๙.๐๐ น. .. ณ ใต้แท่นพระพุทธรูปองค์ นี้ ได้เคย เข้าไปแขวนกลดภาวนา ในพรรษา ในปีที่ จำพรรษา พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่ สำนักสงฆ์เต่าดำ

ประมาณได้ ชั่วโมง กว่าๆ

แล้ว ก็ได้ถอยจิตออกมา สวดปาฏิโมกข์ปากเปล่า เป็นภาษาบาลี โดยไม่ได้ดูหนังสือ ซึ่งในบทที่สวดก็จะประกอบด้วย บุพกิจบุพพกรณ์ ต่อด้วย นิทาน ต่อด้วย ปาราชิก ๔ ข้อ สังฆาทิเสส ๑๓ ข้อ นิสสัคคีย์ปาจิตตีย์ ๓๐ ข้อ ปาจิตตีย์ ๙๒ ข้อ ปาฏิเทสนียะ ๔ ข้อ เสขิยวัตร ๗๕ ข้อ อธิกรณะ ๗ ข้อ สรุปท้ายปาฏิโมกข์ รวม ใน การสวด ทบทวนปาฏิโมกข์ ก็จะมีศีล จำนวน ๒๒๗ ข้อ จนจบทุกตัวอักษร { บุพกิจบุพพกรณ์ คือ ขั้นตอน วิธีการเตรียม ก่อนที่จะสวดปาฏิโมกข์ เช่น การเตรียมที่นั่ง ทำความสะอาด เตรียมน้ำใช้ น้ำฉัน สถานที่ เตรียมอุปกรณ์ แสงสว่าง หัวข้อประชุม นับจำนวนผู้ที่เข้าประชุม บอก วัน เดือน ฤดู บอกจำนวนพระที่มาร่วม จำนวนพระที่ป่วย การมอบฉันทะ การเตรียมการต่าง ๆ วิธีการสวด ว่า ถ้า ผู้สวด หรือผู้ประกาศ สวดว่า อย่างนี้จะ หมายความว่า อย่างนี้ .. เป็น การที่ผู้สวด จะได้ถามพระทุกรูปในโรงอุโบสถ นั้น รวม ๆ พร้อม ๆ กัน จำนวน ๓ รอบ หมายถึง ใน ขณะ ที่ พระ หนึ่ง รูป กำลัง สวด นั้น จะ เป็นการ ที่ ผู้สวด จะได้ถามไปที่พระ ที่กำลังนั่งฟัง อยู่นั้น แต่ละท่าน ๆ แต่ละรูป แต่ละองค์ ว่า ได้ ทำ ผิด พระวินัย ถาม เรียงข้อ ไป เรื่อย ๆจำนวน ๒๒๗ ข้อ หรือไม่ ในแต่ละองค์ ถ้า พระ องค์ใด ได้ ทำผิด มาก่อน พอ สวดปาฏิโมกข์ เสร็จ ฟังธรรม เสร็จ พอ ออกจากโรงอุโบสถ ก็ จะ ออก ไป แสดง อาบัติ แต่ ปัจจุบันนิยม แสดงอาบัติ ก่อน ลงปาฏิโมกข์ .... . หรือไม่ ถ้า ไม่ผิด ถ้า ถูก แล้ว ผู้ที่ถูกถาม หรือ ผู้ฟัง ก็จะนิ่ง ฯลฯ

….. เป็นการเตรียม การซักซ้อม ที่มี มาแล้ว กว่า สองพันกว่า ปี และจะมีอีกต่อ ๆ ไปจนกว่า จะครบ ห้าพันปีเต็ม …น่าทึ่งมาก เป็นหลักการของพระพุทธเจ้าที่ทรงค้นพบ }

การสวดปาฏิโมกข์ในวัน ที่ ๑๕ ก.ค. ๓๙ นี้ เป็นการสวดทบทวน เพื่อป้องกันการลืม เป็นการทำวัตร ไปในตัว เป็นการทบทวน กันลืม ทำใให้จำปาฏิโมกข์ ได้ง่าย ๆ ตามวิธีการ รักษาความจำ ( สัญญา ) ของพระ ….. ไม่ใช่เป็นการลงปาฏิโมกข์จริง ๆ เหมือนกับ การสวด ที่พระสงฆ์ จะต้องทำการต้องสวดปาฏิโมกข์ ๒๒๗ ข้อ เมื่อมีพระตั้งแต่ ๔ รูป ขึ้นไป อยู่รวมกัน ในวัดเดียวกัน จะสวดปาฏิโมกข์ ใน ทุก ๑๔ วัน ในกรณี เดือน ไหน ที่มีวัน สิ้นเดือน วันเดือนดับ ใน วันแรม ๑๔ ค่ำ หรือ อาจ จะสวด ปาฏิโมกข์ ๑๕ วัน ต่อครั้ง ใน กรณี ที่ เป็นวัน ครบ กลางของแต่ละเดือน คือ วันขึ้น ๑๕ ค่า และ ในวันที่ เดือน ไหน มี วันสิ้นเดือน วันเดือนดับ เป็น วันแรม ๑๕ ค่ำ ไม่มีหยุด จะสวดปาฏิโมกข์ ตลอดปี ทั้ง ๑๒ หรือ ๑๓ เดือน ในเดือน ที่ มี เดือน ๘ สองหน จึง จะ ถูกต้องตามพระวินัย .... ไม่ใช่ สวด ปาฏิโมกข์ เฉพาะ ในพรรษา ๓ เดือน แล้วหยุดในช่วง นอกพรรษา อีก ๙ เดือน ซึ่ง ผิด ตาม พระวินัย ...

ตอน ที่ ไป ภาวนา นั้น มีพระ อยู่ด้วยกัน ทั้ง หมด ๒ รูป ถ้า ถึง วัน ลงอุโบสถ ก็ จะ ไม่ต้อง สวด ปาฏิโมกข์ จะ มี การเตรียม น้ำ กิน น้ำใช้ ทำบุพกิจ บุพการณ์ ให้ เสร็จ จะ แสดงอาบัติ แล้ว ก็จะ บอกบริสุทธิ์ ต่อกัน แทนการ สวดปาฏิโมกข์ .. ตามพระวินัย .. แล้ว ก็ สวดท้ายปาฏิโมกข์ แล้ว ประธานสงฆ์ ก็ จะให้ โอวาท ในการ ภาวนา ประมาณ ๑ ชั่วโมง .... }

เพื่อเป็นการ เฉลิม ฉลอง ( ใช้ ) ความสุข ความดีใจ ที่ไม่เคย ประสบ พบเจอ เคยเห็น เคยเป็น มิเคยมีมาก่อน ในชีวิต และความสุขนั้น ก็ได้อยู่ในใจของพระประสิทธิ์ ตลอดเวลา จนถึง ณ บัดนี้

พรรษาที่ สี่ ปี พ. ศ. ๒๕๓๙ จำพรรษาที่ สำนักสงฆ์ เต่าดำ ( สาขาของวัดป่านานาชาติ ) ต. วังกระแจะ อ. ไทรโยค จ. กาญจนบุรี

ต่อมาอีกไม่กี่วันก็จะ เข้าพรรษา ก็พอดีกับ มีพระชาวต่างประเทศเดินทางด้วยเท้า เข้ามาร่วมจำพรรษาอีก ๑ รวม กับจากเดิมที่มีพระอยู่แล้ว ๒ รวมพระทั้งหมด ก็ จะ เป็นมีพระ ๓ รูป

และนอกจากนั้น ก็ยังมีโยมหมอ ดอกเตอร์ เสริมทรัพย์ ( เรียน จบมา ได้ตั้ง สามปริญญา ) อดีตข้าราชการหมอ ที่ลาออกมาปฏิบัติธรรม เพื่อหาทางพ้นทุกข์เร็ว ๆ ที่เคยเป็นศิษย์ของท่านพุทธทาส ที่เดินทางมาจาก วัดสวนโมกข์ จังหวัด สุราษฎร์ธานี ทางภาคใต้ ของ ไทย มาปฏิบัติธรรมจำพรรษา ที่ วัดป่านานาชาติ อ. วารินชำราบ จ. อุบล ฯ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของ ไทย เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เคย จำพรรษา ด้วยกัน ที่วัดป่านานาชาติ .. ได้เดินทางร่วมมาด้วย ระหว่างการเดินทางเข้ามาสู่สำนักสงฆ์ เต่าดำ นั้น ลำบากมาก จนพระท่านต้องอดอาหาร เพราะไม่มีอาหาร ..เสียสละไป เพราะว่า รถที่พระนั่งเข้ามาได้เกิดไปติดหล่ม ที่ถนนทางเข้า ซึ่งถนนโดนน้ำป่า พัดขัด บ้าง เพราะอยู่ในป่าลึก ลึกจริง ๆ นี่ขนาดว่า เอา รถตีนตะขาบ ของโยมทิวาพร ศรีวรกุล ( พร้อมครอบครัว ญาติมิตร ) ซึ่งเป็นโยมอุปัฏฐาก ที่สำนักสงฆ์เต่าดำ ไปช่วย ดึง รถขึ้นจากหล่ม แล้ว ก็ยังต้องใช้เวลามาก ขนาดนี้ ถ้า…ไม่มี รถช่วยดึง ก็ไม่ต้องคิด สาหัส…..มาก

งดพูด

ในพรรษาที่ ๔ นี้ ก็ได้ขอโอกาสจากท่านประธานสงฆ์ อาจารย์อุตโม ( เคย อยู่จำพรรษา กับท่าน ที่ วัดป่านานาชาติ ในปี ๒๕๓๘ มาแล้ว ๑ พรรษา ) เพื่องดพูดกับคนอื่น ยกเว้นที่จะเป็นจริง ๆ เช่น บอกปาริสุทธิในวันอุโบสถสังฆกรรม เป็นเวลา ประมาณ ๒ เดือนครึ่ง เพื่อจะได้ตรวจดูกิเลส ผล ก็จะเห็นความคิด ต่าง ๆ ตาม รูป สัญญา สังขาร วิญญาณ ของตัวเอง แต่ก็จะมีอาการที่ค้นพบเมื่อก่อนเข้าพรรษา เมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๓๙ อยู่ในใจตลอดเวลา นอกจากนั้น ก็จะมีความคิดเห็น ทั้ง ดี ถูก ผิด ช้า เร็ว เป็นอุบายที่น่าลอง แต่ไม่ได้ยึดถือ จนเป็นอุปาทานให้ทุกข์ ทดลองเฉย ๆ …การ จะ งด พูด ในบางช่วง .. ควร จะ แจ้ง ให้ทราบ เพื่อป้องกัน ความ เข้าใจ ผิด ทำให้เกิด อารมณ์ ที่ ไม่เหมาะ กับ การฝึก สมาธิ การภาวนา เช่น อาจจะ อิจฉา โกรธ หลง กังวล น้อยใจ ผูกโกรธ ลบหลู่ เข้าใจผิด ว่า ไม่ถูกกัน ...

นอกจากนั้น ก็ได้อ่าน หนังสือ “ อุปะละมะณี ”

( อุบลมณี = เพชรประจำเมืองอุบล ซึ่งหมายถึงว่า พระอรหันต์ คือหลวงปู่ชา ประจำเมืองอุบล แห่งเมืองอุบล ฯ ) ของหลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง ( ถ้า สนใจ จะหาข้อมูล เพิ่ม ก็ดูใน อินเทอร์เน็ต กด “ ค้นหา ” จาก คำว่า “ หลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง ” มีมากมายเลย )

อ่านหนังสือ “ พุทธธรรม ” ของท่านเจ้าคุณประยุทธ์ นักปราชญ์ ที่ ได้ รับ ปริญญา เอก มากมาย ( อ่านในช่วงที่ อดอาหาร ๗ วัน รวด ) .. อ่านหนังสือ “ “ หลักของใจ ” ของหลวงปู่มหาบัว และหนังสือ เล่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในสำนักสงฆ์เต่าดำ บางเล่ม .. จนจบภายในไม่กี่วัน ทั้งนี้ ก็เพื่อต้องการจะทราบ จะเทียบเคียง ว่า อาการ ที่เราได้เจอเมื่อวันที่ ๑๕ ก.ค. ๓๙ นั้น คืออะไร? ตามที่ได้พิจารณา สุภะ สลับกับ อสุภะ ตามที่ตัวเองได้ทำไปตามเหตุ ตามปัจจัยที่ต้องการฆ่ากิเลสนั้น ก็เกิดไป ตรง ไปเหมือน ๆ กับที่ หลวงปู่มหาบัว วัดป่าบ้านตาด ที่ท่านได้เคยทดลองทำมาก่อน แล้ว และท่านก็ได้เป็นพระอนาคามี เมื่อท่านได้พิจารณา ภาวนา วิปัสสนาจนผ่าน จนแก้ จนสำเร็จ หายสงสัยใน สุภะ กับ อสุภะ คือไม่มี อุปาทาน ในทั้งสองอย่าง คือทั้ง สุภะ และอสุภะ เพราะว่าเป็น แค่ สัญญา และ สัญญา ที่ ว่า สุภะ สัญญา ที่ว่า อสุภะ ก็เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา … ทั้ง สุภะ และอสุภะ ก็เป็น ไตรลักษณ์ ด้วย ต้องปล่อยวาง จริง ๆ นี่ ขั้นพระอนาคามี

และหลังจากนั้น ท่านหลวงปู่มหาบัวก็ได้ภาวนา ต่อ จนละ วาง อวิชชา ได้ วางนาม วางจิต วางผู้รู้ ได้ แล้ว หลวงปู่มหาบัว ก็จึงได้ อรหันต์ เมื่อ ประมาณ ปี พ. ศ. ๒๔๙๓ ซึ่งก็กินเวลาห่างกันหลายเดือน เมื่อลองนับเวลาที่ใช้ในการภาวนา จากตอนที่ท่านหลวงปู่มหาบัวได้อนาคามี แล้ว ท่านก็จึงภาวนา ต่อ จน ได้ อรหันต์

( รายละเอียด ถ้าสนใจก็หาอ่านดูในหนังสือ “ หยดน้ำบนใบบัว ” ของหลวงปู่มหาบัวได้ ใน หนังสือ เล่ม นี้ จะ มีพระอรหันต์ มาก มาย รวมถึง หลวงปู่ ชาด้วย .. หรือ เปิด www. laungta.com มีมากมาย นอกจากนั้น ก็ยังมี ...ประวัติการบรรลุธรรม ของหลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง ก็มี กดค้นหา คำว่า “ หลวงปู่ชา ” จะมี? )

เรื่อง พระอริยะ ขั้น ต่าง ๆ นี้ ถ้า ….เราก็อาจจะเทียบ ง่าย ๆ แต่จะไม่ตรง ๆ กันอย่างแม่นยำ มากนัก ว่า

พระโสดาบัน คือ ระดับ อนุปริญญา

พระสกิทาคามี คือ ระดับปริญญาตรี

พระอนาคามี คือ ระดับปริญญาโท

พระอรหันต์ คือ ระดับปริญญา เอก

ใน พรรษาที่ ๔ ณ สำนักสงฆ์เต่าดำ นี้ เริ่ม เข้าพรรษา แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘๘ ใน วันที่ ๓๐ ก.ค. ๓๙ งานของพระประสิทธิ์ ก็จะมีแต่ งานในการทดลองหากิเลส แต่ก็หาไม่เจอ เพราะว่า กิเลสตายไปเมื่อในช่วงก่อนที่จะเข้าพรรษา วันที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๓๙ แล้ว และเมื่อกิเลสตายอย่างสนิทแล้ว ก็จะไม่มีการกบฏคืนของกิเลสอีก ได้ทดลองอดอาการรวด เดียว ๗ วัน ติดต่อกันรวดเดียวในพรรษานี้ เนื่องจาก น้ำป่าไหลหลาก ทั้งโยมลำบากในการส่งเสบียงอาหารมาถวายพระ ๓ รูป + โยมหมอดอกเตอร์ ๓ ปริญญา ( เสริมทรัพย์ ) อีก ๑ รวม ๔ ชีวิต ...นอกจากนี้ ก็จะมีโยมอีก ๔ – ๕ คน ที่มาคอยช่วยเหลือทำบุญกับพระอีก โดยมาช่วยทำอาหาร ทำทางจงกรม ดูแลทางเดินของพระ พิจารณาต้นไม้ที่ขวางทางเดิน เมื่อน้ำป่ามา ก็จะช่วยทำสะพานให้พระได้มีทางเดินข้ามคลองซึ่งต้องเดินผ่านสะพานหลายที่ โดยมีคลอง ๆ เดียว นั้นแหละ แต่ว่าคลองนั้น จะคดไป ๆ งอมา ผ่านทางที่จะเดินขึ้นบนภูเขาที่ใช้เวลาในการเดินประมาณ ครึ่งชั่วโมง ก็ยาวประมาณ ๑ ถึง ๒ ก. ม ระหว่าง ศาลาบนภูเขา กับ หอฉัน จึงจะต้องมีสะพานข้ามหลายที่ เพราะว่าพระจะตัดต้นไม้ที่ยังเป็น ๆไม่ได้ ต้องมีโยมช่วยทำให้

ในปี ๓๙ ในพรรษาคือตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำเดือน ๘๘ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ อาหารที่ สำนักสงฆ์เต่าดำ ก็เกิดขาดแคลนในช่วงหนึ่ง เพราะน้ำป่ามาถึงขนาดว่า ทหารต้องเอาเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ขนเสบียงอาหาร ไปส่งเสบียงที่หมู่บ้านที่โยมทิวาพร ศรีวรกุล ( ผู้ซึ่งได้ให้การสนับสนุนพระภิกษุ ที่สำนักสงฆ์เต่าดำ ) และสามี พร้อมลูก ครอบครัว ญาติมิตร และลูกจ้างของโยมทิวาพร ที่ได้ทำเหมืองแร่อยู่ ......ใกล้ ๆ บริเวณ นั้น ซึ่งอยู่ห่างจากสำนักสงฆ์เต่าดำ มาก ถ้า เข้าไป จาก ป่าด้านนอก เข้าไป จะ เจอ เหมือง ก่อน แล้ว จึง จะ ถึง สำนักสงฆ์เต่าดำ ถ้า เดินทางตรงก็ใช้เวลาเป็นชั่วโมง แต่ว่า ถ้าเดินทางอ้อมก็กินเวลา มากโขเหมือนกัน อีกอย่างพระประสิทธิ์ ก็ตั้งใจจะอดอาหาร ในแต่ละปี อยู่แล้ว .. คิดว่า จะ จะอดประมาณ ไปเรื่อย ๆ จนถึงประมาณ ๕ ปี โดยกะว่าจะอดอาหาร ปีละอย่างมากที่สุดก็ประมาณ ๗ วัน รวดเดียว อยู่ แล้ว .... การอดในปีนี้ จะ ไม่ทุกข์ เหมือนการอดอาหาร ใน ครั้ง ก่อน ๆ …

ได้ อ่านหนังสือ เพิ่มเติม จากการภาวนา ปกติ ในช่วง อดอาหาร เพื่อ ตรวจสอบ ว่า สิ่ง ที่ ได้พบ เมื่อ ๑๕ ก.ค. นั้น คือ อะไร? ด้วย ……..

ส่วน การ อดอาหาร เหมือน ๆ ทำเล่น เหมือนเล่นกับเด็ก ๆ

ในพรรษา ที่ ๔ นี้ ได้เขียนจดหมายจำนวน ๓ ฉบับ โดยเล่าย่อ ๆ ว่า

“ ตั้งแต่ได้ภาวนามา จนถึงบัดนี้ บัดนี้ได้ มีอาการ มีความสุขที่สุด เหมือน ๆ กับว่า เราจะเอามือจะคว้าเอา นิพพาน ( ความสุข ) ที่อยู่ต่อหน้าเรา มาเสวย มาเชยชม มาอธิบาย มาพูด มากิน มาใช้ เมื่อไหร่ ก็ได้ ”

โดย จม. ฉบับแรกได้ส่ง ไปที่ สำนักอนุรักษ์ป่าดงใหญ่ ก็คือสถานที่ ที่อยู่จำพรรษาในปัจจุบัน ( ปัจจุบันเป็น วัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ รับวิสุงคามสีมา เมื่อ ปี ๒๕๔๗ ) นี้ โดยถวายให้แด่หลวงพ่อ แสวง ( ชมพูพื้น ) อชิโต ( พระอาจารย์ที่สอนกรรมฐานให้ องค์ที่ ๑ ) และลูกศิษย์ท่าน ได้รับทราบ

จม. ฉบับที่สอง ได้ส่งไปกราบเรียนถวายแด่หลวงพ่อสี สิริญาโณ ที่วัดป่าศรีมงคล ( สาขา ที่ ๑๓ ของวัดหนองป่าพง ) ซึ่งเป็นพระอาจารย์ที่รับเข้าสู่วงการกรรมฐานในสายหลวงปู่ชา ครั้งแรก และ เป็น พระอาจารย์ ที่สอนกรรมฐานให้ องค์ ที่ ๒

จม. ฉบับที่สาม ส่งไปที่ วัดป่าโนนเก่า เพื่อแจ้งให้ครูบาอาจารย์ คือ อาจารย์จำลอง กัลยาโณ ผู้ที่ได้เคยส่งให้พระประสิทธิ์ได้เข้ามาศึกษาธรรม ภาวนา ณ วัดป่านานาชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้ทราบความก้าวหน้า

แต่ว่า จดหมาย ทั้ง ๓ ฉบับ ก็ไม่ได้บรรยายละเอียดมากมาย นับตั้งแต่บวชมา ก็ไม่ค่อยถนัดที่จะเขียนจดหมาย

ชอบที่ภาวนา ดูจิต พัฒนาตัวเองอยู่เสมอ มากกว่า นอกจากจำเป็นจริงๆ ก็มีคราวนี้ แหละ ที่ได้เขียน

ท่านพระอาจารย์ ปสันโน

ปัจจุบัน วัดป่าอภัยคีรี มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา

นามเดิม รีด แพรี่ ( Reed perry ) เกิด เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ ที่ประเทศแคนาดา การศึกษา ปริญญาตรี สาขาประวัติศาสตร์

ท่านบวช เมื่อ ปีพ.ศ. ๒๕๑๗ ท่านเคร่งครัด ใน เรื่อง ประเพณี ข้อวัตร ระเบียบ ศีล สมาธิ ปัญญา นิพพาน .. พูดภาษาไทยได้ ชัดเจน ชอบวิเวก ถือธุดงค์

ปัจจุบัน ท่าน พระอธิการรีด ปสันโน เจ้าอาวาส วัดอภัยคีรี ได้ รับ พระราชาคณะ ชั้น สามัญ ( เจ้าคุณ ฯ) ที่ พระโพธิญาณวิเทศ จาก ในหลวง ข้อมูล เมื่อ ๕ ธ.ค. พ.ศ. ๕๘

........................................ และในช่วงพรรษา ที่ ๔ ของชีวิตในของการบวชนี้ ท่านพระอาจารย์ปสันโน ก็ได้สัตตาหะ จาก วัดป่านานาชาติ จ. อุบล ซึ่ง เป็น วัดที่ ท่าน จำพรรษา ( สัตตาหะ คือ การที่ พระจะเดินทางไปพักค้างที่อื่น ภายในช่วง ระหว่างที่จำพรรษา ๓ เดือน ซึ่งพระ จะไปได้ภายในระยะเวลาที่ไม่เกิน ๗ วัน แล้วจะต้องเดินทางกลับวัด ที่พระ เคย จำพรรษา อยู่ ) มาเยี่ยม เพื่อเป็นการให้กำลังใจแก่พระที่จำพรรษา ณ สำนักสงฆ์เต่าดำ ทั้ง ๓ รูป พระประสิทธิ์ก็ได้ อุปัฏฐากท่าน อ. ปสันโน อยู่กับท่าน ท่านจะพาทำวัตร สวดมนต์ นั่งสมาธิ เทศน์บอกในเรื่องกรรมฐาน เพื่อให้พ้นจากทุกข์ เร็ว ๆ ก็ได้อยู่กับท่าน เกือบ ห้าทุ่ม แทบทุกวัน ... แต่ ก็ ยัง ไม่มีคำถามที่จะกราบเรียนถามท่านอาจารย์ ใน เรื่อง มรรค ผล นิพพาน ที่ ได้ เจอ มา ก่อน ที่ จะ เข้าพรรษา เมื่อ วันที่ ๑๕ ก.ค. ๕๓๙ เพราะว่า

พูดไม่ออก

พูด อย่างอื่น น่ะ พูดได้คล่อง แต่ถ้าจะให้พูดถึงอาการ ถึงเรื่องที่ได้ หลุดพ้น นั้น จะไม่มีอาการที่อยากจะพูด จิตจะไม่มีนาม ที่จะคิด จะ มีแต่อาการที่ สบาย ๆ ๆ ในใจที่สุดในโลก สามารถทำหน้าที่ตามพระวินัย ข้อวัตร ระเบียบ ทุกอย่างได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว มี อิสระทางใจ ไม่ติด แต่จะมีความรับผิดชอบดีมาก

เมื่อ ออกพรรษาก็ได้แวะไปร่วม และช่วยงานปฏิบัติธรรม อบรมอานาปานนะสติ ๙ วัน ที่ วัดป่าสุนันทะวนาราม บ้านท่าเตียน หมู่ที่ ๘ ต. ไทรโยค อ. ไทรโยค จ. กาญจนบุรี วัดที่ ท่านอาจารย์ คเวสโก เป็นเจ้าอาวาส และ ช่วยเดินไฟฟ้า บางวันก็ทำโต้รุ่ง .. ได้ มีโอกาส ขึ้นสวดปาฏิโมกข์ ตอน เที่ยงคืน ๑ ครั้ง .. ข้อวัตรที่วัดนี้ ปานะ จะมีครั้งเดียว ตอน บ่าย จะ ตื่น ตอน ตี สอง ทำวัตร ตีสี่ ฉันมื้อเดียว อาสนะเดียว เดินจงกรม รวม ๑ ชั่วโมง รอบ ๆ ศาลา ก่อนทำวัตรเย็น และก็ได้เดินทางกลับไปที่ วัดป่านานาชาติ ที่ จ. อุบลฯ พร้อม ๆ กับท่าน อาจารย์ ชยสาโร ก่อน จะ ถึง สิ้นปี ๒๕๓๙ ( ซึ่งอดีต ท่าน อาจารย์ ชยสาโร เป็นชาวอังกฤษ บวชกับหลวงปู่ชา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ และเป็น อาจารย์สอน ธรรมให้พระประสิทธิ์ ในพรรษาที่ ๓ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เมื่อครั้งที่ได้จำพรรษาที่ วัดป่านานาชาติ ร่วมกับท่าน )

ไปวิเวก อ่านพระไตรปิฎก ในรอบ ที่สอง จบ

เพื่อ ... ค้นหา ชื่อ อาการ ลักษณะ ของนิพพาน

หลังวัน มาฆปูชา ปี ๒๕๔๐ พระภิกษุ สามเณร ผ้าขาว โยม ที่วัดป่านานาชาติ ก็จะไปวิเวกที่สำนักสงฆ์ เต่าดำ อีก แต่พระประสิทธิ์ได้ขอโอกาสจาก ท่านอาจารชยสโร เพื่อจะไปอ่านพระไตรปิฎกที่ วัดภูจ้อมก้อม ซึ่งเป็นวัดสาขาของวัดป่านานาชาติ ที่อยู่ที่บนภูเขาใกล้ ๆ กับ บ้านทุ่งนาเมือง อ. โขงเจียม จ. อุบล ใกล้ ๆ แม่น้ำโขง ติดชายแดนลาว ตามปกติหน้าแล้ง ไม่ค่อยจะมีพระอยู่ ที่วัดภูจ้อมก้อม พระจะไปวิเวกที่สำนักสงฆ์เต่าดำเกือบหมด ที่ วัดภูจ้อมก้อม นี่ อากาศค่อนข้างจะร้อน ๆ ๆ ในหน้าร้อน ส่วน ใน หน้าหนาว ในหน้าฝน อากาศจะดี …. ในช่วง ปี ๒๕๓๘ ได้ ใน พรรษา ในฤดูฝน มีโอกาส สัตตาหะ ไป พัก ที่วัดภูจ้อมก้อม กับ ท่าน อาจารย์ชยสาโร บรรยากาศ ประทับใจ

เพราะมีเวลาว่าง ก็ได้อ่านพระไตรปิฎก ชุด ๙๑ เล่ม ทุกเล่ม ทุกตัวอักษร ที่มีอรรถกถา ( อรรถกถา คือ คำอธิบายจากพระไตรปิฎก เดิม ถ้าไม่มีอรรถกถา ไม่มีคำอธิบาย ก็จะนิยมพิมพ์พระไตรปิฎก เป็นชุด ๔๕ เล่ม บ้าง ชุด ๘๐ เล่ม บ้าง ) ด้วย จนจบทุกเล่ม ใช้เทียนอ่านที่ถ้ำ เพระตอนนั้นยังมีไฟฟ้าในวัด

ทั้งนี้ ก็เพื่อ

จะหา จะดู ว่า อาการ ชื่อ คำอธิบาย ของสิ่งที่เรามีอยู่ในใจที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดคิด แต่ได้สร้างเหตุ คือ เดินมรรค ทั้ง ๘ เพื่อฆ่ากิเลส เต็มที่ แล้ว

ได้เกิดอาการที่อยู่ในใจ ณ ที่ สำนักสงฆ์เต่าดำ เมื่อวันที่ ๑๕ ก. ค. พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่ผ่านมา และเป็นอาการที่มีอยู่ในใจตลอดเวลา แล้ว

นั้น คืออะไร ชื่ออะไร???

ก็เลยได้อ่านพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นการอ่านที่สนุกที่สุด สบายที่สุด ได้กะ ๆ ประมาณ วางแผนเอา ไว้ว่า ในตอนกลางวัน จะอ่านพระไตรปิฎก เพื่อแก้ง่วง ฝึกธัมมะวิจัย หา ค้นคว้า ศึกษา การเว้นสิ่งที่ผิด จะทำสิ่งที่ถูก จะค้นคว้าธรรมมะ เพราะมีแสงจากดวงอาทิตย์ ไม่ต้องใช้แสงสว่างจากเทียนในการอ่าน ส่วนในตอนกลางคืนก็ภาวนา อาจจะนั่งสมาธิ ไม่ต้องอ่านหนังสือ หรือโดยจะเดินจงกรมที่ทางจงกรมที่มีอยู่แล้ว และเดินจงกรม ณ จงกรม ที่ได้ทำขึ้นเองใหม่ ณ ที่บริเวณที่ว่าง ๆ ที่ทางก่อนจะถึงถ้ำที่พัก ถ้าเดินมาจากศาลาของวัดภูจ้อมก้อม ใช้เวลาเดินประมาณ สิบกว่า นาที จากศาลาก็จะถึงถ้ำที่พัก ก็ทำทางจงกรมแบบที่พระไม่ต้องตัดต้นไม้ ไม่ต้องขุดดินให้ผิดพระวินัย เนื่องจากตอนนั้น ก็มีพระอยู่รูปเดียว ไม่มีพระที่จะแสดงอาบัติ จึงต้องระวังมาก ตามปกติพระก็จะพยายามไม่ให้ต้องอาบัติใด ๆ ทั้งสิ้นอยู่แล้ว เพราะว่าตามวินัยของพระจะห้ามพระขุดดิน และ ฟันต้นไม้ ไม่ได้ ( มี อาจารย์ เขมสิริ ท่านไปอยู่วิเวก ที่สำนักสงฆ์บ้านปากลา ทางทิศเหนือบ้านทุ่งนาเมือง ซึ่งอยู่ไม่ห่างนัก จะ ต้อง นั่งเรือหางยาว ทวน กระแสน้ำไหล ใน แม่น้ำโขง ย้อน ขึ้นไป... เคยไป เยี่ยมท่าน ไป รับท่านกลับ มาที่ วัดภูจ้อมก้อม )

กะว่า จะแบ่ง ๑๒ ชั่วโมง เท่า ๆ กัน ระหว่าง อ่านตำรา กับ ภาวนา เดินจงกรม นั่งสมาธิ แต่พอเอาเข้าจริง ๆ ตอนอ่านไปถึงเล่มที่ ๖๐ ที่ ๗๐ ก็เริ่มจะติดพัน จนต้องได้จุดเทียนอ่านที่ถ้ำ นอกถ้ำ ก็อ่านกลางแสงจันทร์ และบริเวณ ใกล้ ๆ ตามก้อนหินที่โต ๆ ตามโขดหิน ริมคลองที่ไหล ผ่านหน้าถ้ำ ในเวลากลางคืนจนได้ บางทีไปสรงน้ำที่ริมฝั่งแม่น้ำโขงตอนบ่าย สี่ ห้าโมงเย็น ก็ถือพระไตรปิฎกใส่ย่ามไปนั่งอ่านพระไตรปิฎกที่ก้อนหินใหญ่ ริมแม่น้ำโขง…

…อ่านเรื่อง จีวร ความสันโดษในปัจจัย ๔ อาบัติที่เกิดจากการใช้จีวร ชนิด ลักษณะ การพินทุ อธิฐานจีวร ฯลฯ สถานที่อ่าน ก็คือ ณ ก้อนหินก้อนโต ๆ ริมฝั่งโขง อ่านจนแสงอาทิตย์ลับขอบฟ้าหมดแสงที่จะอ่าน ก็จึงสรง ( อาบ ) น้ำ ณ ที่หน้า บริเวณ ท่าลงเรือของชาวบ้านทุ่งนาเมือง แต่ว่าหมู่บ้านนี้ จะอยู่ห่างจากแม่น้ำโขง ไม่มากนัก ไม่ติดริมฝั่งโขง สามารถที่จะ เดินไป มา ก็เดิน ถึง ได้

ก็ทั้ง ยืน ทั้งเดิน ทั่งนั่ง ทั่งนอนอ่าน กลางคืน ก็ อ่าน ๆ ๆๆ ๆ ๆ

จนจบพระไตรปิฎกทั้ง ๙๑ เล่ม รวม ๆ ก็ใช้ เวลาอ่านอยู่ประมาณ ๒ เดือนกว่า จบก่อนวันเพ็ญเดือน ๖ พอดี

พอวันวิสาขะ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๐ วันที่ ๒๐ พ.ค. ก็ได้ พาชาวบ้านทุ่งนาเมือง มาเวียนเทียน ทำวัตร สวดมนต์ ฟังเทศน์ ภาวนา ฆ่ากิเลส ร่วมกับญาติโยมที่วัดป่านานาชาติ อ. วารินชำราบ ด้วย จำนวน ๑ คัน ( เหมา ทั้งคัน ) เป็นรถโดยสารที่ประจำทาง ๖ ล้อ ใช้เดินทางประมาณ ๒ ชั่วโมง ใน คืน นั้น ก็ อยู่ เนสัชชิก หลัง เที่ยง คืน ที่ ท่าน อาจารย์ ชยสาโร เทศน์ สอน พระภิกษุ สามเณร เสร็จ ท่าน บอกให้ ไป ที่ กุฎี เจ้าอาวาส สองต่อสอง เพื่อท่าน จะ ได้ สอบ ถาม เรื่อง การไป อยู่ วิเวก ที่ ภู จ้อก้อม ว่า เป็นอย่างไร บ้าง .. แล้ว ก็ได้ กราบ เรียน ท่าน เรื่อง ราว ต่าง ๆ ที่ ไป อยู่ วิเวก มา ทุกอย่าง ...... และ ก็ ได้ แจ้ง ท่าน เรื่อง อาการจิต ของ พระประสิทธิ์ ว่า จะ มองเห็น ความไม่เที่ยง อยู่ต่อหน้า ตลอดเวลา ... แต่ ไม่ได้ เล่า รายละเอียด ในการ ภาวนา มาก เนื่องจาก ยัง พูด ไม่ค่อย จะ คล่อง .....

ท่านบอกว่า การภาวนาของท่าน ไม่มีอุปสรรค .....

อยู่ จนถึง เช้า วันที่ ๒๒ แล้ว ก็ พอดี กับ เป็น ช่วง ก่อนวันเกิด ของ หลวงพ่อ สี สิริญาโณ ( หลวงพ่อ สี เกิด ๒๓ พ.ค. ๒๕๔๐ ) ท่าน อาจารย์ ชยสาโร ท่าน แนะนำให้ กลับ ไป ช่วย หลวงพ่อสี ที่ วัดป่าศรีมงคล ก็ จึง ต้อง เดินทางไป วัดป่าศรีมงคล และ อยู่ ที่ วัดป่าศรีมงคล ต่อ ไป จน เข้าพรรษา ปี ๒๕๔๐ วันที่ ๒๐ ก.ค. แล้ว ไม่ได้ กลับ ไป ที่ วัดภูจ้อมก้อม อีก

…………………………………………………………….

เกิด ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๑

ได้บวช เมื่อ วันที่ ๒ สิงหาคม หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ( สองพันห้าร้อยสามสิบหกปี ) ๒๕๓๖ เมื่อ เวลาบ่าย สองโมงครึ่ง

ณ พัทธสีมาวัดแดงหม้อ บ้านแดงหม้อ ( บ้านเกิด ) อ. เขื่องใน

จ. อุบลราชธานี ๓๔๑๕๐

ได้ ชื่อ และ ฉายาใหม่ ว่า พระประสิทธิ์ ฐานะธัมโม ฐานะธัมโม แปลว่า ผู้ที่มีธรรมเป็นฐาน เป็นที่ตั้ง ผู้ที่ตั้งอยู่บนธรรมเป็นธรรมดา

เมื่อ บวช แล้ว อยู่ศึกษากรรมฐานกับ หลวงพ่อแสวง ที่วัดแดงหม้อ

ปี พ. ศ. ๒๕๓๖ พรรษาที่ หนึ่ง ได้ จำพรรษากับ หลวงพ่อ แสวง อชิโต ที่ วัดลือชัย บ้านลือชัย ( บ้านบาก เป็น บ้าน ที่ ชาวบ้าน แดงหม้อบางส่วน อพยพ หนี น้ำท่วม ไป อยู่ )

บวชวันที่ ๒ ส.ค. ๓๖ วันที่ สาม สิงหาคม ก็ เดินทาง ออก จากบ้านแดงหม้อ ..หลังจากบวช แล้ว อยู่ วัดที่บ้านแดงหม้อ ๑ วัน ครึ่ง กับ ๑ คืน

จำพรรษา แรก ( หนึ่ง ) ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ที่ วัดลือชัย บ้านลือชัย ต. หนองหัวช้าง อ. กันทรารมย์ จ. ศรีสะเกษ

เมื่อ วันที่ ๒๕ ธ.ค. พ.ศ. ๒๕๓๖ เริ่ม เข้า สู่ วัดกรรมฐาน วัดป่า เป็น วัดป่าสาย วัดหนองป่าพง สาขาที่ ๑๓ .. ที่ วัดป่าศรีมงคล บ้านเปือย ต. โนกาเล็น อ. สำโรง จ. อุบล มี หลวงพ่อ สี สิริญาโณ เป็นประธานสงฆ์ + ( เป็น อาจารย์ กรรมฐานองค์ ที่สอง ที่ได้ สอน กรรมฐาน ให้ พระประสิทธิ์ ......

พรรษา ที่ สอง ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ จำพรรษา ที่ วัดป่าโนนเก่า ( สาขาที่ ๑๐๓ ของวัดหนองป่าพง ) บ้านโนนเก่า ต. ก่อเอ้ อ. เขื่องใน จ. อุบลราชธานี ประธานสงฆ์ คือ อาจารย์ จำลอง กัลยาโณ เป็นสาขา ที่ เป็นลูกศิษย์ ของ หลวงพ่อจันทร์ อินทวีโร วัดป่าบึงเขาหลวง บ้านกลางใหญ่ ต. กลางใหญ่ อ. เขื่องใน จ. อุบล …

พรรษา ที่ สาม ปี พ. ศ. ๒๕๓๘ จำพรรษา ที่ วัดป่านานาชาติ ( สาขาที่ ๑๙ ของวัดหนองป่าพง ) บ้านบุ่งหวาย ต. บุ่งหวาย อ. วารินชำราบ จ.อุบล ฯ มี อาจารย์ ชยสาโร เป็น เจ้าอาวาส

พรรษา ที่ สี่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ จำพรรษา ที่ สำนักสงฆ์เต่าดำ ต. วังกระแจะ อ. ไทรโยค จ. กาญจนบุรี

พรรษาที่ ห้า ปี พ. ศ. ๒๕๔๐ ได้ จำพรรษา กับ หลวงพ่อสี สิริญาโณ ที่ วัดป่าศรีมงคล บ้านเปือย ต. โนนกาเล็น อ. สำโรง จ. อุบล ฯ ( ซึ่งเคยได้ ขอฝึก กรรมฐาน กับท่าน หลวงพ่อ สี มาก่อนแล้ว ใน ช่วง ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ วันที่ ๒๕ ธ.ค. ถึง หลัง วันวิสาขะ ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ )

โดยใน พรรษา ที่ ห้า นี้ ได้ รับหน้าที่ เป็นพระผู้ที่นั่งต่อจากหลวงพ่อ ( ทำหน้าที่ คล้าย ๆ เป็นรองเจ้าอาวาส ) ต้องพาพระเณรทำวัตรสวดมนต์ เช้า ทำวัตรเย็น ทำข้อวัตรต่าง ๆ ปัดกวาด เช็ดถู อุปัฏฐาก พาไปขอขมาครูบาอาจารย์ องค์ อื่น ๆ ที่ วัด อื่น ๆ เช่น ไป คารวะ หลวงพ่อเลี่ยม ที่ วัดหนองป่าพง ไป คารวะ หลวงพ่อมหาอมร ที่ วัดป่าวิเวกธรรมชา ที่ อ. ม่วงสามสิบ เป็นอาทิ .. ในช่วงเข้าพรรษา พาทำข้อวัตร ปัดกวาด เช็ดถู อุปัฏฐาก อ่านบุพพสิกขาวรรณนา พร้อมบอก ที่มาของวินัยแต่ละข้อ โดยใช้ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ขึ้นสวดปาฏิโมกข์ ในบางอุโบสถ์ ……….ดังนั้น ในพรรษานี้ ก็สบาย มากที่สุด ใน หน้าแล้ง ออกพรรษา ก็ ขอท่านหลวงพ่อ สี ไป วิเวก

วัดป่าศรีมงคล ( วัดสาขาที่ ๑๓ วัดหนองป่าพง ) บ้านเปือย ต. โนนกาเล็น อ. สำโรง จ. อุบลราชธานี

พรรษาที่ หก ปี พ. ศ. ๒๕๔๑ ก็ จำพรรษที่ วัดป่าศรีมงคล อีก ………ปีนี้ ก็สบายอีก ยังหากิเลสที่จะฆ่าไม่เจอ

ใน หน้าแล้ง ก็ ขอท่านหลวงพ่อสี ไป วิเวก

พรรษาที่ เจ็ด ถึง ที่แปด ปี พ. ศ. ๒๕๔๒ – ถึง ปี พ. ศ. ๒๕๔๓ จำพรรษา ที่ วัดป่าห้วยไทร บ้านห้วยไทร ต. ช่องไม้แก้ว อ. ทุ่งตะโก จ. ชุมพร

คือ เดิมที นั้น หลัง ช่วง รับกฐิน ได้ พยายาม ช่วยเหลือครูบาอาจารย์ ฟังเทศน์ ปฏิบัติภาวนา ในช่วง ไปช่วย งาน กฐิน ที่วัดต่าง ๆ เสร็จแล้ว ก็ ไปแขวนกลด ภาวนา วิเวก อยู่ที่ วัดป่าศรีอุบล อ. หนองหิน จ. เลย เป็นวัด ที่วัดท่านอาจารย์ สมพงษ์ เป็นเจ้าอาวาส อยู่ ใกล้ ๆ กับ ภูกระดึง ที่โด่งดัง ก็พอดี ช่วงเมื่อประมาณเดือน ม. ค. ๔๒ วันที่ ๑๗ ที่ วัดป่าห้วยไทร มีงาน ฉลองศาลาหลังใหม่ ก็กะว่าจะไปอยู่วิเวก ที่ วัดป่าห้วยไทร ประมาณ เดือน สองเดือน ไม่ได้ตั้งใจจะอยู่ประจำ แต่ .... ก็ได้รับการขอร้องจาก ท่าน อ. สุฤทธิ์ ว่า ...

ท่าน ไม่มีพระที่พอจะช่วย ท่านได้ ท่าน ขอให้พระประสิทธิ์ ช่วยอยู่จำพรรษาที่ วัดป่าห้วยไทร เพื่อช่วย ครูบาอาจารย์ ช่วยญาติโยม นักภาวนา ช่วยสืบอายุพระพุทธศาสนาด้วย ก็เลยเชื่อฟังครูบาอาจารย์ ในช่วง ๒ ปีนี้ ก็ได้ มีโยมมาจำศีล ภาวนาที่วัดป่าห้วยไทร เป็นคู่ ๆ ผัวเมีย หลายคู่ ประมาณ ๘ คู่ หรือมากกว่า เพราะว่า ผัว เมีย สามี ภรรยา เหล่านั้น ต้องการพบ เจอ กันทุก ๆ ชาติ

ตาม ข้อมูล จาก พระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรง สอน ว่า สามี ภรรยา ที่ จะ ปรารถนา พบ กัน ทุก ๆ ชาติ นั้น จะต้อง มี สี่ อย่าง เสมอ กัน คือ ๑. ศรัทธา ๒. ศีล ๓. จาคะ ๔. ปัญญา ตามที่พระประสิทธิ์ ได้แนะนำ และ นอกจากนั้น ก็ยัง มีโยมที่ได้มาภาวนา จำศีล แบบเดี่ยว ๆ โสด ๆ หม้าย อย่าร้าง ก็มีอีก พระก็ ได้พยายามแนะนำผู้ที่มาภาวนาในเรื่อง วิเวก อดทน การศึกษาธรรม ความเพียร วิธีการถือธุดงค์ ทั้ง ๑๓ ข้อ เรื่องวัตร ๑๔ ..................................การทำบุญที่ถูกต้อง การช่วยพระในเรื่องปัจจัย ๔ การอุปัฏฐาก ทำทางจงกรม มุงหลังคาที่ทางจงกรม เพราะว่าฝนตกบ่อย มาก บางครั้งห่างกัน สิบห้านาที ฝนก็จะตก อีกแล้ว เดินจงกรมไม่ได้ โยมมา ช่วยส่งอาหาร ช่วยสะพายบาตรให้พระ ช่วยทำความสะอาด ไล่มด ที่โรงครัว และศาลา การที่โยม ๆ ช่วยกันยกพื้นโรงครัวขึ้นจาก ๑ ชั้นครึ่ง เป็น ๒ ชั้นเต็มภายใน เวลา ไม่กี่วัน โดยที่พระไม่ได้มาลำบากเลย โยมมาถวายน้ำปานะ ประเคนอาหาร ดูแลต้นไม้ ที่รกให้สะอาดเรียบร้อย นับว่า ถือว่า เป็นการทำบุญ ทางร่างกาย

และ เรื่อง การช่วยประกาศ พุทธ ศาสนา ก็ถือว่าเป็นการ ทำบุญทางวาจา

การที่โยม คิดว่า ขอให้มี โยมใส่บาตรให้พระ คิดด้วยความเมตตา คิดจะช่วยพระ ก็ถือว่าเป็นการทำบุญทางใจ

พระ ได้ สอนโยมในเรื่องศีล ๕ ศีล ๘ แบบมีองค์ประกอบว่า อย่างไรจึงผิด? สอนเรื่องสมาธิ ทั้ง ๔๐ วิธี พาฝึก พานั่งด้วย และสอนให้ฝึกสมาธิทุก ๆ ท่า ด้วย สอนปัญญา โดยการถามตอบ การให้คิด การปรึกษา การหาวิธีการเอง หาทางหลุดพ้นจากทุกข์ อย่างเต็มที่ นำความรู้จากพระไตรปิฎกมาใช้อย่างเต็มที่ ทั้งภาคปริยัติ หรือทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และภาคปฏิเวธ คือผลสำเร็จ ในพรรษาแรกปีแรกก็มีพระ ร่วมจำพรรษาอยู่ ๒ รูป ก็ได้วิเวก ดีมากที่สุด และในปีที่ ๒ มีพระร่วมจำพรรษา ๕ รูป

มีการถวายกฐินที่ วัดป่าห้วยไทร เป็นครั้งแรกด้วย ในปี ๒๕๔๓ .. นับตั้งแต่สร้างวัดมา ตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๖

โดย พระอาจารย์หัด ปนาโท ปัจจุบันท่านเป็นเจ้าอาวาส วัดถ้ำผาปล่อง หรือวัดบ้านดงนกกก อ. เอราวัณ จ. เลย

และ ท่านพระอาจารย์สุฤทธิ์ ติกขะปัญฺโญ ปัจจุบันท่านเป็นเจ้าอาวาส วัดป่าเขาสัก บ้านเขาสัก ต. ตระกุดไร ต. ชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นผู้เริ่มก่อสร้างวัดป่าห้วยไทร แห่งนี้

อ่านพระไตรปิฎก จบ รอบที่ สาม ๙๑ เล่ม

ส่วนพระประสิทธิ์ ก็อยู่แบบสบาย ๆ และนอกจากนั้นใน ๒ พรรษา ในหน้าแล้ง ปี ๒๕๔๒ ที่ วัดป่าห้วยไทร นี้ ก็ได้อ่านพระไตรปิฎก ชุด ๙๑ เล่ม ปกสีน้ำตาล จนจบในรอบที่ ๓ อีกด้วย รวมพระไตรปิฎกได้ที่ได้ เคย อ่านจบ ๓ รอบ ก็ คิดจาก ๔๕ เล่ม + ๙๑ เล่ม + ๙๑ เล่ม = ๒๒๗ เล่ม เท่ากับ จำนวนศีล ๒๒๗ ข้อ ของพระในปาฏิโมกข์ พอดี .. เนื้อหาของพระธรรม ในแต่ละเล่ม ใน เล่ม บาง ที่สุด ก็ คือ เล่ม ที่ ๑๒ ทีฆนิกาย มี จำนวนหน้า ๒๘๖ หน้า ไม่รวม คำนำ สารบัญ ที่ หน้า เล่ม และ ประเภท สารบัญ บอก ประเภทธรรม ที่ ท้ายเล่ม ... เนื้อหา พระธรรม ในบางเล่ม ก็หนา อย่างน้อย ๔๑๔ หน้า เช่น ในเล่มที่ ๑๔ เรื่อง มหาสติปัฏฐาน ๔ …ใน บางเล่ม ก็หนาประมาณ พัน หน้า ก็มี เช่น เล่มที่หนาที่สุด คือเล่มที่ ๙๑ เป็นเล่มสุดท้าย หนา ๑๕๒๖ หน้า หนักเป็นกิโล ( ประมาณ ช่วงนั้น ที่ วัดป่าห้วยไทร ยังไม่มีเครื่องชั่งน้ำหนัก ) ส่วนหนังสืออื่น ๆ ที่ได้อ่าน ก็ยังมีอีก นอกจากนั้นก็ได้พยายามแสวงหาหนังสือธรรมที่จำเป็น เช่น วิมุตติมรรค ( ก่อนวิสุทธิมรรค ) วิสุทธิมรรค มิลินทปัญหา ทำวัตรสวดมนต์ ......

ได้เดินทางไป กับ พระ สองรูป ( เป็น พระ ที่ มีพรรษา เท่า กัน กับ พระประสิทธิ์ ทั้ง สองรูป ท่าน วิเวก ไป เยี่ยม ) .. ไปขอถ่ายเอกสารพระไตรปิฎกที่เป็นบาลี ที่เกี่ยวกับ อาบัติสังฆาทิเสส จาก วัดสวนโมกข์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นวัดของท่านพุทธทาส โดย ได้ เจอ กับ ท่าน อาจารย์ มหาวีระพงษ์ ๆ ท่าน เมตตา เป็น ธุระ ในการ จัดหา พระไตรปิฎก ให้ไป ถ่ายเอกสาร ( ต่อ มา อาจารย์ มหาวีรพงษ์ ก็ ได้ มา ขอเข้า หมู่ เป็น พระ วัดหนองป่าพง ) มาเก็บไว้ศึกษาในภาษาบาลี จัดหา หนังสือบาลีไวยากรณ์ เพราะว่ามีโยมที่มาภาวนาที่วัดป่าห้วยไทร ( ชื่อ โยม มา ) ที่ได้เคยเรียนบาลีมาก่อน ช่วยหาให้ ก็ได้หนังสือ มาไว้ที่วัดหลาย ครั้ง หลายเล่ม

ภาพที่หน้า วัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ ต. แดงหม้อ อ. เขื่องใน จ. อุบลราชธานี ถนน ๒๔๐๘ หลัก กม. ที่ ๕ + ๗๑๒ เมตร

พรรษาที่ เก้า ปี พ. ศ. ๒๕๔๔ วันที่ ๑๙ มิ. ย. ได้เริ่มเข้ามาอยู่ ณ วัดป่าดงใหญ่ แห่งนี้ มา อยู่ อายุ ๓๓ .... ๒๕๔๔ - ๒๕๑๑ = ๓๓ ปี จำพรรษา ที่ นี่ จนกระทั่งถึง ปัจจุบันนี้ ต้นปี ม.ค. พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้เริ่ม ทำหน้าที่ แนะนำ บอก ตักเตือน นำเอาคำสอนของครูบาอาจารย์ที่ดี ๆ มาปฏิบัติ

ในส่วนที่ไม่ดี ของครูบาอาจารย์ ก็บอกว่า อย่าเอามาปฏิบัติ ให้ทิ้งเลย ส่วนการอ่านพระไตรปิฎก ก็ยังอ่านอีก แต่จะหยิบเฉพาะเล่มที่ตรงกับความต้องการ เข้ากับ เหตุการณ์มาอ่าน มาสอน เลย ด้านหนังสื่ออื่น ๆ ก็อ่านมาตลอด เหมือนเดิม ดีจริง ๆ

จากการประเมิน ผล ก็ปรากฏว่า ได้มีนักภาวนา ทั้ง พระภิกษุ สามเณร ชี จากทั้งคณะ มหานิกาย และคณะธรรมยุติ ในฝ่ายเถรวาท และทางฝ่ายมหายาน ทั้งฝ่าย คามวาสี ( วัดที่ตั้งอยู่ในบ้าน ) และ อรัญญวาสี ( วัดที่ตั้งอยู่ในป่า ) ที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ ประกาศศาสนา ในด้าน ศีล สมาธิ ปัญญา ให้เจริญ ได้มีผล จนกระทั่งสามารถแสดงพลังออกมาอย่างจริงจัง และมีข้อวัตร มีการศึกษาทั้งทางด้านทฤษฎี หลักการทางพระพุทธศาสนา มีการลงมือปฏิบัติอย่างแท้จริง วิธีปฏิบัติก็นิยมนำเอาการถือธุดงค์ทั้ง ๑๓ ข้อ มาทำอย่างจริงจัง นำเอาวัตร ทั้ง ๑๔ ในเรื่อง ศีล และนำเอาข้อปฏิบัติอื่น ๆ ที่อยู่นอก พระปาฏิโมกข์ จากพระไตรปิฎก และนำเอา ศีลที่อยู่ใน พระปาฏิโมกข์ นำเอาสมาธิวิธีการฝึกทั้ง ๔๐ วิธี นำเอาการสร้างปัญญา วิมุติ นิพพาน วิมุตติญาณทัสสนะ ฯลฯ ทั้งหมดมาปฏิบัติอย่างจริงจัง

ทางด้าน ประชาชน ชาวบ้าน ก็ได้มีผู้ที่สนใจในวิธีการแก้ปัญหา แบบพุทธะ ที่น่าลองกว่าทุก ๆ วิธี โดยมีทุกอาชีพที่สนใจ เข้ามาสอบถาม ขอคำปรึกษา ร่วมกันพัฒนาทางจิตใจ ระเบียบ วินัย มีการฝึกสมาธิ การฝึกวิปัสสนา การหาวิธีการพ้นทุกข์ การแสวงหาวิธีที่จะอยู่ในโลกอย่างมีความสุข มีอาชีพที่สุจริต ให้มีความสุทางใจ โดยจะอยู่ในฐานะของนักภาวนา นักปฏิบัติธรรม เป็นผู้จำศีลรักษาสมาธิวิปัสสนา ที่มาจากสถานที่ต่าง ๆ ทั้งที่อยู่ใกล้ ๆ วัดป่าดงใหญ่ คือบริเวณ หมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ ต่าง ๆ ใน จังหวัดอุบล มาจากหมู่บ้าน อำเภอเมือง และอำเภออื่น ๆ ในจังหวัดศรีสะเกษ และที่มากจากที่ไกล ๆ ต่าง ที่จะต้องจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาก ก็มีจากจังหวัด กรุงเทพ ฯ นครนายก ยโสธร สุรินทร์ ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ จากจังหวัดขอนแก่น ฯลฯ อันได้แก่ ชาวบ้าน ญาติโยม ซึ่งประกอบไปด้วย หลายอาชีพ เช่น ชาวนา เกษตรกร ชาวสวน เลี้ยงสัตว์ แม่บ้าน พ่อค้า นักธุรกิจ ข้าราชการ ครูที่เกษียนแล้ว และครู อาจารย์ในราชการจากโรงเรียน วิทยาลัย จากมหาวิทยาลัย เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริการ วิศวกร ช่าง หมอ พยาบาลจากทางโรงพยาบาล และจากอนามัยต่าง ๆ ตำรวจ ทหาร ข้าราชการทางฝ่ายศาลตุลาการ อ. บ. ต. ผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายคลัง หัวหน้าฝ่ายโยธา เจ้าหน้าที่ อ. บ. ต. นักเรียน ป. ๑ – ป. ๖ ระดับ ม ๑. – ม. ๖ ทั้งในระบบ และนอกระบบ เช่น ก. ศ. น. นิสิตนักศึกษาทางฝ่ายหมอ อาจารย์ด้านการเกษตร ด้านเภสัชกรรม ด้านการศึกษา ด้านการบริหาร ด้านวิศวกร ในระดับปริญญาเอก โท ตรี นักศึกษาพยาบาล นางพยาบาล วิศวกรในระดับปริญญาตรี และโท นักเรียนในสาขาช่าง เครื่องกล โยธา กฎหมาย คอมพิวเตอร์ สาขาบริหาร การจัดการ ทั้งเพศหญิง และชาย ทั้งที่มาฝึกแบบ มืออาชีพ มือสมัครเล่น มาทดลอง มาจริง ๆ ก็มี ทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ และได้เกิดมี ผู้ที่บรรลุธรรม ในขั้น ต่าง ๆ จากระดับ โสดาบัน สกิทาคามี และกำลังจะบรรลุในขั้น อนาคามี และอรหันต์ ต่อ ๆ ในไม่ช้านี้ คอย ตาม ติดตาม ฟังข่าว เถิด ……..นะ

( ช่วงนี้ นับ ตั้ง แต่ วันที่ ๑๙ มิ.ย. พ.ศ. ๒๕๔๔ จน ถึง ปัจจุบัน ๑๗ พ.ย. . ๒๕๕๗ ได้ เริ่มกลับ มา ช่วย พัฒนา วัดป่าดงใหญ่ วัดแดงหม้อ ช่วยหลวง พ่อ แสวง สอนกรรฐาน พัฒนา หมู่บ้าน ชุมชน ตามกำลัง ร่วม กับ ทาง อนามัย. โรงเรียน. อบต. แดงหม้อ

วันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ วันพระ หลังฉัน ใน พรรษา ที่ ๒๐ ตั้ง สถานีวิทยุพุทธวัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ ความถี่ ๑๐๑.๕๐ เมกะเฮิรตซ์ เพื่อ เผยแผ่ธรรม ให้ แก่ ทุก รูป นาม เพื่อความสุข เพื่อความพ้นจากทุกข์

วันที่ ๑๗ พ.ย. พ.ศ. ๒๕๕๗ พรรษา ที่ ๒๒... บวช ๒ ส.ค. ๒๕๓๖

เปิด วิทยุวิทยุพุทธวัดป่าดงใหญ่ บ้านแดงหม้อ ความถี่ ๑๐๑.๕๐ เมกะเฮิรตซ์ ส่งออก ทางอินเทอร์เน็ต

ครูบาอาจารย์ ที่ได้ เคย ไป ศึกษาธรรม ไปกราบขอฟังธรรม ไปพักภาวนา บางท่าน มีเสียงการสนทนาธรรม บันทึกไว้ด้วย ( ที่มี เครื่องหมายที่ ชื่อ ... * ที่ บันทึกแล้ว หาย .... * )

.. สถานที่ ศึกษา ( พหูสูต )

พระประสิทธิ์ ( แววศรี ) ฐานะธัมโม เกิด ๒๘ ส. ค. ๑๑ จบ ป. ๖ ณ ร.ร. แดงหม้อ --> ม. ๓ ณ ร.ร. นาคาวิทยา --> ป.ว.ช. ช่างยนต์ ณ ว. เทคนิคอุบล ฯ --> ป.ว.ส. เทคนิคยานยนต์ ณ ว. ช่างกลปทุมวัน กทม. --> เข้ารับราชการกรมที่ดิน ๔ ปี ที่ กทม. --> ส.จ.พ. (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ) + ปริญญาตรี ค.อ.บ. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เกียรตินิยม --> โอนย้ายไปกรมโยธาธิการ ๑ ปี กทม. ๒๕๓๖ --> ส.จ.ล. (สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-เกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ) + กำลังจะต่อ ระดับปริญญาโท วิศวกรรมเครื่องกล --> บวช ๒ ส. ค. ๓๖ --> เข้าใจธรรม + สบาย ๑๕ ก. ค. ๓๙ เป็นพระกรรมฐาน อยู่ป่า มาประมาณ ๒๒ ปี ผ่านการศึกษาธรรม + สนทนาธรรมกับครูบาอาจารย์ ในวัด สำนัก ต่างๆ ครูบาอาจารย์ ที่ได้เคย ไป ขอศึกษาพระธรรมวินัย ( ไม่ได้ นำมาทั้งหมด ยังมีอีกมาก.. ไม่ได้ เรียง ตามพรรษา ที่บวช ก่อน หลัง ) มีดังนี้ กับพระอาจารย์องค์แรก ก็คือ หลวงพ่อแสวง อชิโต (วัดแดงหม้อ จำพรรษา ณ วัดบ้านลือชัย)+ อยู่จำพรรษา ๑ ปี (ฉันมื้อเดียว), ต่อจากนั้นได้เข้าสู่วงการ วัดป่าพระกรรมฐาน โดยเริ่มที่ได้ขอฝากตัวเป็นศิษย์ กับ ((หลวงพ่อสี สิริญาโณ เป็นพระอาจารย์องค์ที่สองของพระประสิทธิ์) ซึ่งท่านเป็นศิษย์ของหลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี) (หลวงปู่ชา เป็นศิษย์ของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต, + ศิษย์ หลวงปู่ทองรัตน์ (หลวงปู่ทองรัตน์ บิดาแห่งพระกรรมฐาน สายมหานิกาย เป็นศิษย์หลวงปู่ เสาร์ กันตะสีโล) + ศิษย์หลวงปู่กินรี (ศิษย์ ล.ป. มั่น )) เช่น หลวงพ่อศรี สิริญาโณ (วัดป่าศรีมงคล จ. อุบลฯ) + อยู่จำพรรษา ๒ ปี (เริ่มเข้าสู่วงการ วัดป่ากรรมฐานแท้ ๆ ที่วัดป่าศรีมงคล สาขาที่ ๑๓ เมื่อ ๒๕ ธ.ค. ๓๖ รับเข้าหมู่เมื่อ ๙ ม.ค. ๒๕๓๗ โดยหลวงพ่อสี เป็นผู้รับเข้าหมู่ใน สาขาวัดหนองป่าพง) , หลวงพ่อเลี่ยม (ณ วัดหนองป่าพง จ. อุบลฯ ), ณ วัดป่าโนนเก่า จ. อุบลฯ + จำพรรษา ๑ ปี กับ อ. จำลอง กัลยาโณ , กับ หลวงปู่จันทร์ ณ วัดป่าบึงเขาหลวง จ. อุบล, ณ วัดป่านานาชาติ จ. อุบลฯ อยู่จำพรรษา ๑ พรรษา ( พรรษาที่ ๓) ที่ วัดป่านานาชาติ (กับ อ.ชยสาโร) ในปี ๒๕๓๘ + จำพรรษา ๑ พรรษา เป็นพรรษา ที่ ๔ และ ในปี ๒๕๓๙ “ ( ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ณ ทางจงกรม ที่หน้าศาลา สำนักสงฆ์เต่าดำ บนภูเขา เวลาประมาณ ๑ ทุ่ม เป็นสถานที่ ที่เข้าใจธรรม ) ” ได้จำพรรษาที่ ๔ ณ สำนักสงฆ์เต่าดำ ต. วัดงกระแจะ อ. ไทรโยค จ. กาญจนบุรี ( อ. ปสันโน ไปเยี่ยมในปี เข้าใจธรรม ๑๕ ก.ค. ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ )+ ศึกษาธรรมกับ หลวงพ่อสุเมโธ วัดอมรวดี ประเทศอังกฤษ โดยเข้ากรรมฐาน ๑๕ วัน ที่ วัดป่านานาชาติ ช่วง ปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๙ , ได้สนทนาธรรม เรื่องมรรค ผล นิพพาน ฯลฯ กับ ครูบาอาจารย์ ในเขต จังหวัดอุบลราชธานี + อีสาน + เหนือ + กลาง + เกือบจะทั่วประเทศ + ศึกษาในวัดอื่น ๆ ในสาขาวัดหนองป่าพง ทั่วประเทศ เช่น

กับ หลวงพ่อสี* (วัดป่าศรีมงคล จ. อุบลฯ ), ล.พ. เลี่ยม* (วัดหนองป่าพง จ. อุบล), ล.พ. บรรจง* (วัดป่าค้อเจริญธรรม จ. อุบล), ล.พ. กัณหา* (วัดแพร่ธรรมาราม จ. แพร่), ล.พ. ประสพไชย* ((เปี๊ยก) วัดฟ้าคราม จ. ปทุมธานี ), อ. อัครเดช* ( (ตั๋น) วัดป่าบุญญาวาส จ. ชลบุรี ), ล.พ. อนันต์* (วัดมาบจันทร์ จ. ระยอง ), ล.พ. บัณฑิต (วัดแม่ใจใต้ จ. เชียงใหม่), อ. สมภาษณ์ (วัดป่าเขาหินติด จ. นครราชสีมา), อ. ญาณธัมโม* (วัดรัตนวัน จ. นคาราชสีมา),อ. มหาคำทูล (วัดป่าภูสิงห์ จ. ศรีสะเกษ - ต่างองค์ ต่างก็มา ศึกษา กัน), อ. สมพงษ์ (วัดป่าศรีอุบล จ. เลย), อ. สมพร (วัดถํ้าผาเวียง จ. หนองบัวลำพู), อ. สุฤทธิ์ ( วัดป่าเขาสัก จ. เพชรบูรณ์), อ. หัด (วัดป่าพุทธธรรมผาป่อง จ. เลย), อ.สวัสดิ์ ( วัดป่าเอราวัณ จ. เลย), อ. บุญเรือง* (วัดป่าบ้านแจ้งน้อย จ. ยโสธร - ต่างคน ต่างก็มา ศึกษา กัน), อ. แสง* (วัดโนนหนองไฮ จ. อุบล), ...อาจารย์มหามงคล ( วัดนวมินทรราชูทิศ รัฐแมสซาชูเสตต์ สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา.. ในช่วง ไป เรียน บาลี ที่ วัดยางน้อย อ. เขื่องใน).... และ ได้ ไปศึกษา ในวัด ใน สายของหลวงปู่ เสาร์ --> หลวงปู่ มั่น อาทิ เช่น ท่านหลวงปู่ มหาบัว ( วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรฯ), วัด หลวงปู่ชอบ (วัดป่าสัมมานุสรณ์ จ. เลย), วัด หลวงปู่เทศน์ (วัดหินหมากเป้ง จ. หนองคาย) ,

และที่ได้ คุย + สนทนาธรรม ( มีเสียงบันทึกไว้ ที่มี เครื่องหมาย ที่ ชื่อ ... * ที่ บันทึกแล้ว หาย .... *) เรื่อง มรรค ผล นิพพาน ฯลฯ กับ ท่านด้วย ก็ เช่น หลวงปู่ลี* (วัดถ้ำผาแดง จ.อุดร ศิษย์หลวงปู่มหาบัว ), ล.พ. ปัญญาวัฑโฒ* (ชาวอังกฤษ วัดป่าบ้านตาด จ. อุดร ศิษย์หลวงปู่มหาบัว) , ล.พ. วันชัย* (วัดภูสังโฆ จ.อุดร ศิษย์หลวงปู่มหาบัว ), ล.พ. ทูล* (วัดป่าบ้านค้อ จ. อุดร), ล.ป. จันทา* (วัดป่าเขาน้อย จ. พิจิตร ศิษย์หลวงปู่ขาว ), ล.ป. อ่อนศรี* (วัดถ้ำประทุน จ. ชลบุรี), ล.ป. ประสาน* (จ.อ. สว่างแดนดิน จ. สกลนคร), ล.พ. เนย* (อ. เจริญศิลป์ จ. สกลนคร), ล.ป. แบน* (วัดดอยธรรมมเจดีย์ จ. สกลนคร ศิษย์ ล.ป. กงมา), ล.ป. สรวง* (วัดศรีฐานใน จ.ยโสธร), ล.พ. บุญมา* (วัดป่าสีหพนม จ. สกลนคร), ล.พ. แปลง* (วัดป่าอุดมสมพร จ. สกลนคร ศิษย์หลวงปู่ฝั้น ), ล.พ. ประสิทธิ์* (วัดป่าหมู่ใหม่ จ. เชียงใหม่), ล.พ.สุวัฒน์* (หลวงปู่โส) (วัดวัฒนาราม (ป่าลัน) จ. เชียงใหม่), ล.พ. ก้าน* (วัดถ้ำเป็ด จ. สกลนคร ศิษย์หลวงปู่วัน), ล.ป. ผาง* (วัดภูหินแตก จ.สกนคร), หลวงปู่อ้ม* ( วัดป่าภูผาผึ้ง จ. มุกดาหาร ศิษย์หลวงปู่แบน ), อ. พล* (วัดภูหล่มขุม จ. มุกดาหาร ศิษย์หลวงปู่หล้า วัดภูจ้อก้อ), อ.สุจินต์* (ศิษย์ ล.ป.ดูลย์), อ. สงบ* (วัดป่าเขาแดงใหญ่ จ. ราชบุรี ศิษย์ ล.ป. มหาบัว ), อ. ภูมิพงษ์* (วัดสันป่าสักวรอุไรธรรมาราม จ. เชียงใหม่ ศิษย์หลวงพ่อกัณหา), อ. โสภา* (วัดแสงธรรมวังเขาเขียว จ. นครราชสีมา ศิษย์หลวงปู่มหาบัว), อ. ลัน* (วัดป่าภูดินสอ จ. ศรีสะเกษ ศิษย์หลวงปู่แบน), อ.สุรพงษ์ (วัดช่องเม็กธรรมาราม จ. อุบลฯ ศิษย์หลวงพ่อกัณหา ) อ. คำสิงห์* (วัดป่าบ้านหนองสระ จ. บุรีรัมย์ ศิษย์หลวงปูแบน), , ล.ป. เครื่อง*, ล.ป. เกลี้ยง*, หลวงพ่อบุญ* (พระอุปัชฌาย์ของพระประสิทธิ์ วัดแสงน้อย จ. อุบลฯ), หลวงปู่หนู* พระกรรมวาจาจารย์ของพระประสิทธิ์ วัดบ้านบุตร จ. อุบลฯ), อ. มหาณรงค์* ศิษย์ หลวงปู่มหาบัว หลวงพ่อแสวง (พระอนุสาวนาจารย์ของพระประสิทธิ์ วัดแดงหม้อ จ. อุบลฯ), อ. ดอกเตอร์มหาทองสูรย์* (ปธ. ๘) วัดศรีนครินทรวราราม สวิสเซอร์แลนด์ ฯลฯ

ศึกษาในสายวัดมหาธาตุ (ท่านเจ้าคุณโชดก), พระมหาศรีสะยะดอ ( พระมหาเถระภิกษุที่สอนสติปัฏฐาน ๔ เช่น ยุบหนอ พองหนอ จากประเทศพม่า ), ท่านหลวงพ่อพุทธทาส, หลวงพ่อสด, หลวงพ่อเทียน, ท่านหลวงพ่อเจ้าคุณประยุทธ์, หลวงปู่อื่น ๆ + จากหนังสือ + ซีดี..ของอุบาสก อุบาสิกาอีกมาก + ได้อ่านพระไตรปิฎกจบ ๓ รอบ รวม ๒๒๗ เล่ม หนังสือวิมุติมรรค วิสุทธิมรรค มิลินทปัญหา ตำรามหายาน เซ็น + หนังสืออื่น ๆ มากมาย.

จงมีสุข พ้นจากทุกข์ บรรลุนิพพานบรมสุข เร็ว ๆ ไว ไว เทอญ.

จาก พระประสิทธิ์ ( แววศรี ) ฐานะธัมโม วัดป่าดงใหญ่