ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคชาตินิยมฟาสซิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
พรรคชาตินิยมฟาสซิสต์ก่อนหน้านี้ การก่อตั้งพรรคการเมืองครั้งแรกของมุสโสลินีได้เป็นที่รู้จักกันคือ [[พรรคปฏิวัติฟาสซิสต์]] ซึ่งถูกก่อตั้งในปี ค.ศ. 1915 ตามที่มุสโสลินีได้ตั้งชื่อเอาไว้<ref>{{citation|author=Benito Mussolini|title=My Autobiography with The Political and Social Doctrine of Fascism|date=2006|page=227. Note that some authors refer to Mussolini's first political party as "The Revolutionary Fascist Party".|location=Mineloa: NY|publisher=Dover Publication Inc.}}</ref> ภายหลังผลการเลือกตั้งที่แย่ในเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1919 ในที่สุดพรรคปฏิวัติฟาสซิสต์ได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็นพรรคชาตินิยมฟาสซิสต์ในช่วงการประชุมสภาครองเกสฟาสซิสต์ครั้งที่สามในกรุงโรม เมื่อวันที่ 7-10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921<ref name="Charles F. Delzell 1971, p. 26">Charles F. Delzell, edit., ''Mediterranean Fascism 1919-1945'', New York, NY, Walker and Company, 1971, p. 26</ref><ref>{{citation|title=The Oxford Companion to Comparative Politics|date=2012|page=120|editor=Joel Krieger|publisher=Oxford University Press}}</ref>
 
พรรคชาตินิยมฟาสซิสต์ได้มีรากฐานมาจากลัทธิชาตินิยมอิตาลีและความปราถนาที่ฟื้นฟูและขยายดินแดนอิตาลี ซึ่งพวกฟาสซิสต์อิตาลีได้ถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับประเทศชาติที่จะยืนยันความสูงส่งและความแข็งแกร่งและเพื่อหลีกเลี่ยงการเสื่อยโทรม<ref>[[Aristotle Kallis|Aristotle A. Kallis]], ''Fascist ideology: territory and expansionism in Italy and Germany, 1922–1945''. London, England, UK; New York City, USA: Routledge, 2000. Pp. 41.</ref> พวกฟาสซิสต์อิตาลีได้กล่าวอ้างว่าอิตาลีสมัยใหม่นั้นเป็นยุคที่สืบทอดต่อจากยุคโรมสมัยโบราณและเป็นมกดกและประวัติศาสตร์เพื่อสนับสนุนในการสร้าง[[จักรวรรดิอิตาลี]]เพื่อจัดตั้งนโยบาย[[สปาซิโอ วิทาลีวิทาเล]]("พื้นที่อยู่อาศัย")สำหรับการล่าอาณานิคมโดยผู้ตั้งถิ่นฐานชาวอิตาลีและเพื่อการสร้างในการควบคุมเหนือ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]<ref name="Aristotle A. Kallis 2000. Pp. 50">Aristotle A. Kallis. ''Fascist ideology: territory and expansionism in Italy and Germany, 1922–1945''. London, England, UK; New York City, USA: Routledge, 2000. Pp. 50.</ref>
 
พวกฟาสซิสต์ได้ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจแบบ[[บรรษัทนิยม]] โดยที่นายจ้างและลูกจ้างที่รวมตัวกันได้เชื่อมโยงกันในสมาคมเพื่อเป็นตัวแทนของผู้ผลิตทางเศรษฐกิจของประเทศและทำงานร่วมกับรัฐเพื่อกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ<ref name="massaschussetts1">Andrew Vincent. ''Modern Political Ideologies''. Third edition. Malden, Massaschussetts, USA; Oxford, England, UK; West Sussex, England, UK: Blackwell Publishers Ltd., 2010. Pp. 160.</ref> ระบบเศรษฐกิจนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชนชั้นโดยผ่านการร่วมมือกันระหว่างชนชั้น<ref name="John Whittam 1995. Pp. 160">John Whittam. ''Fascist Italy''. Manchester, England, UK; New York City, USA: Manchester University Press, 1995. Pp. 160.</ref>