ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเป็นจริงเสมือน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
โดยปกติแล้วจะมี[[ฮาร์ดแวร์]]ที่ป้อนตรงต่อ[[ประสาทสัมผัส]]ด้านการมองเห็นที่เรียกว่า "จอแสดงผลแบบสวมศีรษะ" (Head-Mounted Display, HMD) ให้ตาทั้งสองได้เห็นภาพเป็นสามมิติจาก[[จอภาพ]]ขนาดเล็กที่ให้ภาพ (หรือต่อไปอาจลดขนาดลงเป็นแว่นตาก็ได้) และเมื่อผู้ใช้เคลื่อนไหว ภาพก็จะถูกสร้างให้รับกับความเคลื่อนไหวนั้น บางกรณีก็จะมี[[หูฟังแบบสเตอริโอ]]ให้ได้ยินเสียงรอบทิศทาง และอาจมีถุงมือรับข้อมูล (data glove) หรืออุปกรณ์อื่นที่จะทำให้ผู้ใช้โต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมจำลองที่ตนเข้าไปอยู่
 
ระบบความเป็นจริงเสมือนสามารถตอบโจทย์ความต้องการของนักธุรกิจบางส่วนได้เป็นอย่างดี เพราะสามารถดัดแปลงไปใช้ในงานหลาย ๆ ด้าน เช่น งานด้าน[[สารสนเทศ]] อาศัยความจริงเสมือน เพื่อเรียกให้ผู้คนมาสนใจด้านสารสนเทศ กระตุ้นประสาทสัมผัสของมนุษย์ให้รับรู้และเข้าใจได้ง่าย ซึ่งเป็นผลดีต่อมนุษย์ที่รับรู้ได้รวดเร็วและง่ายต่อการจดจำ ตลาดของความเป็นจริงเสริม/ความเป็นจริงเสมือน ได้กลายเป็นตลาดพันล้านดอลลาร์แล้วและคาดว่าจะเติบโตดีเกินกว่าตลาด 120 พันล้านเหรียญภายในไม่กี่ปี<ref>Toptal - [https://www.toptal.com/virtual-reality/virtual-reality-in-the-automotive-industry ความเป็นจริงเสมือนจริงในอุตสาหกรรมยานยนต์]</ref>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Virtual reality|ความเป็นจริงเสมือน}}
 
[[หมวดหมู่:ความเป็นจริงเสมือน| ]]