ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบนิโต มุสโสลินี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39:
| otherparty = [[Republican Fascist Party]]<br />(1943–1945)<br />[[Fasci Italiani di Combattimento|Italian Fasci of Combat]]<br />(1919–1921)<br />[[Fasci d'Azione Rivoluzionaria|Fasci of Revolutionary Action]]<br />(1914–1919)<br />[[Fasci Autonomi d'Azione Rivoluzionaria|Autonomous Fasci of Revolutionary Action]]<br />(1914)<br />[[Italian Socialist Party]]<br />(1901–1914)
| spouse = [[Rachele Mussolini]]
| relations = [[Ida Dalser]]<br />[[Margherita Sarfatti]]<br />[[Claraคลาล่า Petacciแปตะชิ]]
| children = [[เบนิโต อัลบิโน มุสโสลินี]]<br/>[[เอ็ดดา มุสโสลินี]]<br />[[วิคตอริโอ มุสโสลินี]]<br />[[บรูโน มุสโสลินี]]<br />[[โรมาโน มุสโสลินี]]<br />แอนนา มาเรีย มุสโสลินี
| profession = ผู้เผด็จการ, นักการเมือง, สื่อสารมวลชน, ผู้ประพันธ์บันเทิงคดี, ครู
บรรทัด 53:
}}
 
'''เบนีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี''' ({{lang-it|Benito Amilcare Andrea Mussolini}}) เป็นนักการเมืองชาวอิตาลีและนักเขียนข่าวที่เป็นผู้นำของ[[พรรคชาตินิยมฟาสซิสต์]] เขาได้ขึ้นปกครองอิตาลีในฐานะ[[นายกรัฐมนตรีอิตาลี|นายกรัฐมนตรี]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1922 ถึง 1943 เขาได้กลายเป็นผู้นำประเทศจนกระทั่งปี ค.ศ. 1925 เมื่อเขาได้ทำลายการหลอกลวงของ[[ประชาธิปไตย|ระบอบประชาธิปไตย]]และสร้าง[[ระบอบเผด็จการ]]
'''เบนีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี''' ({{lang-it|Benito Amilcare Andrea Mussolini}}) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "'''อิลดูเช'''" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศ[[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|อิตาลี]] ([[พ.ศ. 2465]] – [[พ.ศ. 2486]]) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2426]] ในครอบครัวที่ยากจนที่เมืองโดวีอาดีเปรดัปปีโอ (Dovia di Predappio) ในจังหวัดฟอร์ลิ [[แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา]] แต่ด้วยเวลาไม่นาน มุสโสลีนีได้กลายเป็นนัก[[สังคมนิยม]]ยุวชนที่หลักแหลมและมีอันตราย แต่ต่อมาต้องลาออกจากพรรคสังคมนิยมอิตาลีเนื่องจากสนับสนุนการเข้าแทรกแซง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]]
 
เป็นที่รู้จักกันในฐานะ"[[ดูเช|อิลดูเช]]"(ท่านผู้นำ), มุสโสลินีได้เป็นผู้ก่อตั้งลัทธิฟาสซิสต์อิตาลี<ref>{{cite book|last=Hakim|first=Joy|title=A History of Us: War, Peace and all that Jazz|publisher=[[Oxford University Press]]|year=1995|location=New York|isbn=0-19-509514-6}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/history/historic_figures/mussolini_benito.shtml|title=BBC - History - Historic Figures: Benito Mussolini (1883-1945)|publisher=bbc.co.uk}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.history.com/this-day-in-history/mussolini-founds-the-fascist-party|title=Mussolini founds the Fascist party – Mar 23, 1919|publisher=HISTORY.com}}</ref> ในปี ค.ศ. 1912 มุสโสลินีได้เป็นสมาชิกชั้นนำของคณะกรรมการแห่งชาติของพรรคสังคมนิยมอิตาลี(PSI)<ref>{{Cite book|title=Young Mussolini and the Intellectual Origins of Fascism|author=Anthony James Gregor|isbn=978-0520037991|publisher=University of California Press|year=1979}}</ref> แต่ถูกขับออกจากพรรค PSI จากการสนับสนุนในการเข้าแทรกแซงการทหารใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ในฐานะที่เป็นผู้คัดค้านต่อจุดยืนของพรรคที่วางตัวเป็นกลาง มุสโสลินีได้รับใช้ใน[[กองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี|กองทัพบกแห่งราชอาณาจักรอิตาลี]]ในช่วงสงครามจนกระทั่งเขาได้รับบาดเจ็บและถูกปลดประจำการในปี ค.ศ. 1917 มุสโสลินีได้กล่าวประณามต่อพรรค PSI มุมมองของเขาในตอนนี้มีศูนย์กลางอยู่ที่ลัทธิชาตินิยมแทนที่จะเป็นลัทธิสังคมนิยมและต่อมาได้ก่อตั้งขบวนการฟาสซิสต์ซึ่งได้ต่อต้านสมภาคนิยม<ref name="Simonetta Falasca-Zamponi 1997 45">{{cite book|author=Simonetta Falasca-Zamponi|title=Fascist Spectacle: The Aesthetics of Power in Mussolini's Italy|url=https://books.google.com/books?id=_vcFQTOsRXgC&pg=PA45|year=1997|publisher=U of California Press|page=45}}</ref> และ[[การต่อสู้ระหว่างชนชั้น|ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น]] แทนที่จะเรียกร้องให้"คณะปฏิวัติชาตินิยม"ได้เอาชนะการแบ่งชนชั้น{{sfn|Gregor|1979|p=191}} ภายหลัง[[การเดินขบวนสู่โรม]]ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1922 มุสโสลินีได้กลายเป็นนายกรัฐมนตรีอิตาลีคนสุดท้องในประวัติศาสตร์อิตาลีจนกระทั่งได้แต่งตั้งให้แก่[[มัตเตโอ เรนซี]] ในเดือนกุมภาพันธ์ ปีค.ศ. 2014 ภายหลังจากได้กำจัดคู่แข่งทางการเมืองทั้งหมดด้วยตำรวจลับของเขาและการนัดหยุดแรงงานของคนงาน<ref name="Haugen_p9_71">[[เบนิโต มุสโสลินี#Haugen|Haugen]], pp. 9, 71</ref> มุสโสลินีและผู้ติดตามของเขาได้รวบรวมอำนาจผ่านหนึ่งในกฏหมายที่เปลี่ยนประเทศให้เป็น[[รัฐพรรคการเมืองเดียว|ระบอบเผด็จการพรรคการเมืองเดียว]] ภายในห้าปีที่ผ่านมา มุสโสลินีได้จัดตั้งอำนาจเผด็จการด้วยวิธีทั้งทางกฏหมายและวิธีที่ไม่ธรรมดาและต้องการที่จะสร้างรัฐ[[ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ]] ในปี ค.ศ. 1929 มุสโสลินีได้ลงนาม[[สนธิสัญญาลาเตรัน]]กับ[[นครรัฐวาติกัน]] ซึ่งเป็นการสิ้นสุดในช่วงหลายทศวรรษของการสู้รบระหว่างรัฐอิตาลีและพระสันตะปาปาและได้ยอมรับการเป็นรัฐอิสระของนครวาติกัน
ในปี [[พ.ศ. 2462]] มุสโสลีนีได้เข้าร่วมการก่อตั้ง[[พรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี]] (''Fasci Italiani di Combattimento'') หรือพรรค[[ฟาสซิสต์]]เพื่อเตรียมเป็นกองกำลังปฏิวัติ ในปี [[พ.ศ. 2465]] ได้เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งฉลองชัยชนะด้วย "[[การสวนสนามแห่งโรม]]" (เดือนตุลาคม) ล่วงมาถึงปี [[พ.ศ. 2468]] เขาได้สถาปนาตนเองเป็นเผด็จการเต็มรูปแบบ บังคับให้ยกเลิก[[ระบบรัฐสภา]]ทดแทนด้วย "[[รัฐบรรษัท]]" (Corporate State) และวางระบบรวบอำนาจอย่างเป็นทางการ ได้จัดตั้ง[[นครรัฐวาติกัน]] ([[พ.ศ. 2472]]) บุกยึด[[ประเทศเอธิโอเปีย|อะบิสซิเนีย]] (ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2478]]-[[พ.ศ. 2479]] ปัจจุบันคือ[[เอธิโอเปีย]]) และ[[ประเทศแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]] ([[พ.ศ. 2482]]) ไว้ในการครอบครอง พร้อมกับการประกาศเข้าร่วมเป็น[[ฝ่ายอักษะ]]กับ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]แห่งประเทศเยอรมนี
 
ภายหลัง[[วิกฤตการณ์อะบิสซิเนียน]] ปี ค.ศ. 1935-1936 มุสโสลินีได้ส่งกองทัพเข้ารุกราน[[ประเทศเอธิโอเปีย|เอธิโอเปีย]]ใน[[สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง|สงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง]] การรุกรานครั้งนี้ได้ถูกประณามโดยมหาอำนาจตะวันตกและตอบโต้ด้วยการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่ออิตาลี ความสัมพันธ์ระหว่าง[[นาซีเยอรมนี|เยอรมนี]]และอิตาลีที่ดีขึ้น เนื่องจากการสนับสนุนของฮิตเลอร์ในการรุกราน มุสโสลินีได้ยอมรับให้ประเทศออสเตรียอยู่ภายใต้เขตอิทธิพลของเยอรมนี, ได้ลงนามสนธิสัญญาในการร่วมมือกับเยอรมนีและประกาศก่อตั้ง [[ฝ่ายอักษะ|อักษะ โรม-เบอร์ลิน]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1936 ถึง 1939 มุสโสลินีได้ส่งทหารจำนวนมากไปให้การสนับสนุนแก่กองกำลังของ[[ฟรันซิสโก ฟรังโก|ฟรังโก]]ใน[[สงครามกลางเมืองสเปน|สงครามกลางเมืองเสปน]] การแทรกแซงอย่างรวดเร็วครั้งนี้ยิ่งทำให้อิตาลีห่างเหินจากฝรั่งเศสและบริเตน มุสโสลินีได้พยายามชะลอสงครามครั้งใหญ่ในทวีปยุโรป แต่เยอรมนีได้[[การบุกครองโปแลนด์|เข้ารุกรานโปแลนด์]] เมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 ส่งผลทำให้มีการประกาศสงครามโดยฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรและจุดเริ่มต้นของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940-ด้วย[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส|ฝรั่งเศสถูกยึดครอง]]ใกล้มาถึง—อิตาลีได้เข้าร่วมสงครามอย่างเป็นทางการโดยเข้าข้างฝ่ายเยอรมัน แม้ว่ามุสโสลินีได้ทราบดีว่าอิตาลีไม่มีขีดความสามารถทางทหารและทรัพยากรในการทำสงครามอันยืดเยื้อกับ[[จักรวรรดิบริติช|จักรวรรดิบริติซ]]<ref name="MacGregor Knox 1999. Pp. 122-123">MacGregor Knox. Mussolini unleashed, 1939–1941: Politics and Strategy in Fascist Italy's Last War. Edition of 1999. Cambridge, England, UK: Cambridge University Press, 1999. Pp. 122–123.</ref> เขาเชื่อว่าภายหลังจากการสงบศึกกับฝรั่งเศสที่ใกล้มาถึง อิตาลีอาจจะได้รับดินแดนจากฝรั่งเศส และเขาจะสามารถรวบรวมกองกำลังของเขาในการรุกครั้งใหญ่ในแอฟริกาเหนือ ที่กองกำลังบริติซและเครือจักรภพมีจำนวนมากกว่ากองทัพอิตาลี<ref>MacGregor Knox. Mussolini unleashed, 1939–1941: Politics and Strategy in Fascist Italy's Last War. Edition of 1999. Cambridge, England, UK: Cambridge University Press, 1999. Pp. 122–127.</ref> อย่างไรก็ตาม, รัฐบาลบริติซได้ปฏิเสธที่ยอมรับข้อเสนอเพื่อสันติภาพที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับชัยชนะของฝ่ายอักษะในยุโรปตะวันออกและตะวันตก แผนการสำหรับการรุกรานสหราชอาณาจักรไม่ได้ดำเนินต่อไปและสงครามยังคงดำเนินต่อไป ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1940 มุสโสลินีได้ส่งกองทัพอิตาลีเข้าไปยังกรีซ กลายเป็นจุดเริ่มต้นของ[[สงครามอิตาลี-กรีซ]]  การรุกรานครั้งนี้ล้มเหลวและหลังจากกรีซได้โจมตีตอบโต้กลับผลักดันอิตาลีกลับไปยังเขตยึดครองแอลเบเนีย การล่มสลายของกรีซและพร้อมกับความปราชัยต่อบริติซในแอฟริกาเหนือทำให้อิตาลีต้องพึ่งพาเยอรมนี
มุสโสลินีถูกจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ [[27 เมษายน]] [[พ.ศ. 2488]] โดย[[กองกำลังปาร์ติซาน]]ของ[[พรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี]] ที่บริเวณใกล้ชายแดน[[อิตาลี]]-[[สวิสเซอร์แลนด์]] ในขณะที่เขาพยายามจะหลบหนีออกจากอิตาลี และถูก[[ประหารชีวิต]]ด้วยการ[[ยิงเป้า]]ในข้อหาทรยศต่อชาติ ในวันที่ [[28 เมษายน]] [[พ.ศ. 2488]] โดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่ง[[คณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ ]]ร่างของมุสโสลินี อนุภรรยา และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมือง[[มิลาโน]] เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน
 
เริ่มต้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1941 มุสโสลินีได้ส่งกองทัพอิตาลีเพื่อเข้าร่วมใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|การรุกรานสหภาพโซเวียต]]และอิตาลีได้ประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาในเดือนธันวาคม ในปี ค.ศ. 1943 อิตาลีต้องประสบหายนะหลายครั้งภายหลังจากนั้นอีก: ในเดือนกุมภาพันธ์ [[กองทัพแดง]]ได้ทำลายกองทัพอิตาลีในรัสเซียอย่างราบคาบ ในเดือนพฤษภาคม [[การทัพตูนิเซีย|การล่มสลายของฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือ]] เมื่อวันที่ 9 กรกฏาคม [[การบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร|ฝ่ายสัมพันธมิตรได้บุกครองเกาะซิซิลี]] และเมื่อถึงวันที่ 16 ได้เห็นอย่างชัดเจนว่าการรุกรานในช่วงฤดูร้อนในสหภาพโซเวียตล้มเหลว ด้วยผลที่ตามมา, เมื่อวันที่ 25 กรกฏาคม สภาใหญ่แห่งฟาสซิสต์ได้ผ่านการลงมติไม่ไว้วางใจต่อมุสโสลินี วันต่อมา [[พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี|กษัตริย์]]ได้ปลดเขาออกจากผู้นำรัฐบาลและควบคุมตัวเขาให้อยู่ในความดูแลเพื่อแต่งตั้ง[[ปีเอโตร บาโดลโย]]ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีต่อจากเขา มุสโสลินีได้ถูกปลดปล่อยจากที่คุมขังใน[[การตีโฉบฉวยแกรน์ แซสโซ]]โดย[[ฟัลเชียร์มเยเกอร์|ทหารโดดร่มเยอรมัน]]และหน่วยคอมมานโด[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]]ภายใต้การนำโดยพันตรี  Otto-Harald Mors
 
[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ภายหลังที่ได้เข้าพบกับอดีตผู้นำเผด็จการที่ได้ให้ความช่วยเหลือ จากนั้นได้ให้มุสโสลินีเข้าไปปกครองใน[[รัฐหุ่นเชิด]]ในทางภาคเหนือของอิตาลี [[สาธารณรัฐสังคมอิตาลี]]({{lang-it|Repubblica Sociale Italiana}}, RSI),{{sfn|Moseley|2004|p=}} เป็นที่รู้จักกันอย่างเป็นทางการคือ '''สาธารณรัฐซาโล''' ในช่วงปลายเดือนเมษายน ค.ศ. 1945 ในช่วงความพ่ายแพ้ทั้งหมดได้ใกล้เข้าถึง มุสโสลินีและอนุภรรยาของเขา [[คลาล่า แปตะชิ]] ได้พยายามหลบหนีไปยังสวิตเซอร์แลนด์<ref>{{Citation|last=Viganò|first=Marino|title=Un'analisi accurata della presunta fuga in Svizzera|journal=Nuova Storia Contemporanea|volume=3|year=2001|language=Italian}}</ref> แต่ทั้งคู่ถูกจับกุมโดยพลพรรค[[ลัทธิคอมมิวนิสต์|คอมมิวนิสต์]]อิตาลีและ[[การประหารชีวิตอย่างรวบรัด|ถูกประหารชีวิตอย่างรวบรัด]]โดยชุดทีมยิงเป้า เมื่อวันที่ 28 เมษายน ใกล้กับ[[ทะเลสาบโกโม]] ร่างของเขาถูกนำไปยังเมือง[[มิลาน]] ที่ถูกนำไปแขวนประจานไว้ที่หน้าสถานที่ราชการเพื่อเป็นการยืนยันแก่สาธารณชนต่อการตายของเขา<ref>{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/april/28/newsid_3564000/3564529.stm|title=1945: Italian partisans kill Mussolini|accessdate=17 October 2011|work=BBC News|date=28 April 1945}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* Mussolini. Bosworth, R.J.B., London, Hodder, 2002 (hardback ISBN 0-340-73144-3) ; (paperback ISBN 0-340-80988-4).
* "Mussolini's Italy: Life Under the Dictatorship 1915-1945". Bosworth, R.J.B., London, Allen Lane, 2006 (hardback ISBN 0-7139-9697-8, paperback 2006 ISBN 0-14-101291-9).