ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้าสิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว ไปยัง เจ้าฟ้าสิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว: ตามตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| พระปรมาภิไธยname = {{Nowrap|เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว}}
| สีพิเศษ = #ffcc00
| ภาพimage = ไฟล์:เจ้าฟ้าชายแก้ว.jpg
| สีอักษร = #8f5f12
| ราชสมภพbirth_date = [[พ.ศ. 2285]]
| ภาพ = ไฟล์:เจ้าฟ้าชายแก้ว.jpg
| death_style = พิราลัย
| พระนามาภิไธย = ชายแก้ว
| death_date = พ.ศ. 2317
| พระปรมาภิไธย = เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว
| succession = เจ้าผู้ครองนครลำปาง
| ราชสมภพ = [[พ.ศ. 2285]]
| พระบิดาfather1 = [[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]]
| วันพิราลัย= [[พ.ศ. 2317]]
| พระมารดาmother1= แม่เจ้าปิมปา
| พระอิสริยยศ = เจ้าฟ้าเมืองลำปาง
| spouse-type = ราชเทวี
| พระบิดา = [[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]]
| spouse = นางจันทา
| พระมารดา= แม่เจ้าปิมปา
| พระโอรส/ธิดาissue1 = 10 พระองค์
| พระมเหสี = แม่เจ้าจันทา
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
| พระโอรส/ธิดา = 10 พระองค์
| reign = พ.ศ. 2301 - 2317 (17 ปี)
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
| รัชกาลก่อนหน้าpredecessor = [[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]]
| ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2301]] - [[พ.ศ. 2317]]
| รัชกาลถัดมาsuccessor = [[พระเจ้ากาวิละ|พระยากาวิละ]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ = 17 ปี
| รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]]
| รัชกาลถัดมา = [[พระเจ้ากาวิละ]]
}}
'''เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-King Fasaikaeo.png|140px]]}}) เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง|เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]พระองค์ที่ 2 ทรงครองนครลำปางในปี พ.ศ. 2306 - 2317 มีพระราชโอรส 7 พระองค์ พระองค์ใหญ่สุดคือ[[พระเจ้ากาวิละ]] ผู้มีบทบาทสำคัญในการกอบกู้ราชอาณาจักรล้านนาจากพม่า และต่อมาเจ้านายบุตรหลานได้ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือ จึงเป็นที่มาของราชสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน" หรือ "เจ้าเจ็ดองค์"
 
== พระประวัติ ==
เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว มีพระนามเดิมว่า'''นายชายแก้ว''' เป็นพระโอรสใน[[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]] กับแม่เจ้าปิมปา เป็นราชบุตรองค์ที่ 2 จากจำนวนราชโอรสธิดา 6 พระองค์<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref> เมื่อพระบิดาถึงแก่พิราลัยแล้ว ได้ขึ้นครองราชย์เป็นเจ้านครลำปางในปี พ.ศ. 2303 ต่อมาราชสำนักพม่าได้เฉลิมพระนามพระองค์เป็น'''เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว'''<ref>ฮันส์ เพนธ์, '''ประวัติศาสตร์ล้านนาตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับย่อ'เชียงใหม่ 700 ปี'', เชียงใหม่หน้า : หอศิลปวัฒนธรรมเมือง110</ref><ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่'', 2547หน้า 149</ref>
 
=== ราชโอรส-ธิดา ===
เจ้าฟ้าชายแก้วเษกสมรสกับแม่เจ้านางจันทาราชเทวี มีพระราชโอรสธิดารวม 10 พระองค์องค์ เป็นเจ้าชาย 7 องค์ เจ้าหญิง 3 องค์<ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่'', หน้า 150</ref> ได้แก่
*# '''[[พระเจ้ากาวิละ]]''' พระเจ้านครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 1 (นับเป็น "เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 3" ใน[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]])
*# '''[[พระยาคำโสม]]''' พระยานครลำปาง องค์ที่ 4
*# '''[[พระยาธรรมลังกา]]''' เจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2
*# '''[[พระเจ้าดวงทิพย์]]''' พระเจ้านครลำปาง องค์ที่ 5
*# '''[[เจ้าศรีอโนชา]]''' พระอัครชายาใน[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
*# '''เจ้าหญิงสรีวัณณา''' (ถึงแก่พิราลัยแต่เยาว์)
*# '''[[พระยาอุปราชหมูล่า]]''' พระราชมหาอุปราชานราธิบดีศรีสุวรรณฝ่ายหน้าหอคำนครลำปาง
*# '''[[พระยาคำฟั่น]]''' พระยานครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 3 และพระยานครลำพูน องค์ที่ 1
*# '''เจ้าสรีบุญทัน''' (พิราลัยแต่เยาว์)
*# '''[[พระเจ้าลำพูนไชย|พระเจ้าบุญมา]]''' พระเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 2
 
== อ้างอิง ==
;เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
;บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ชื่อหนังสือ = ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี| จังหวัด = เชียงใหม่| พิมพ์ที่ = ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่| ปี = 2538| ISBN = 974-8150-62-3| จำนวนหน้า = 320}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค)|ประชากิจกรจักร, พระยา]]| ชื่อหนังสือ = พงศาวดารโยนก| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2557| ISBN = 978-616-7146-62-1| จำนวนหน้า = 496}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = มหาอำมาตยาธิบดี (หรุ่น ศรีเพ็ญ), พระยา| ชื่อหนังสือ = พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย| URL = http://www.finearts.go.th/chiangmailibrary/index.php/2016-08-20-05-05-37/book/233?tmpl=component&print=1| จังหวัด = พระนคร| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์พระจันทร์| ปี = 2505 | จำนวนหน้า = 35| หน้า = }} [พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระพิจิตรโอสถ (รอด สุตันตานนท์)]
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และเดวิด เค วัยอาจ (ปริวรรต)| ชื่อหนังสือ = ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่| จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = ตรัสวิน| ปี = 2543| ISBN = 9747047683| จำนวนหน้า = 220}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, 2540.
* ศักดิ์ รัตนชัย. '''พงศาวดารสุวรรณหอคำนครลำปาง (ตำนานเจ้าเจ็ดพระองค์กับหอคำมงคล ฉบับสอบทานกับเอกสารสืบค้น สรสว.ลำปาง) '''.
* เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
* คณะทายาทสายสกุล เจ้าหลวงเมืองพะเยา, สถาบันศิลปวัฒนธรรมโยนก. '''ครบรอบ 100 ปี แม่เจ้าทรายมูล (มหาวงศ์) ไชยเมือง และประวัติสายสกุลเจ้าหลวงเมืองพะเยา พุทธศักราช 2387 - 2456'''. พะเยา :บ.ฮาซัน พริ้นติ้ง จก., 2546
* นงเยาว์ กาญจนจารี. '''ดารารัศมี : พระประวัติพระราชชายา เจ้าดารารัศมี'''. เชียงใหม่ :สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, 2539.
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]
 
{{เริ่มกล่อง}}