ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 111:
 
== อิทธิพลของภาษาเขมรในภาษาไทย ==
ภาษาเขมรขอมมีอิทธิพลในภาษาไทยมาช้านาน ทางด้าน ๑ รูปลักษณะตัวอักษร ๒ คำยืม ๓ รูปแบบไวยากรณ์บางประการ ๔ การเปลี่ยนแปลงเสียงบางประการจากเสียงเดิมในภาษาบาลีสันสกฤต เช่น ป>บ ต>ด โดยมีหลักฐานชัดเจนย้อนหลังไปอย่างน้อยในสมัยสุโขทัย (จารึกหลักที่หนึ่ง) โดยปรากฏในปริบทต่างๆ ดังนี้
 
* ใน[[วรรณคดี]] (เช่น [[ลิลิตยวนพ่าย]], โคลงกำสรวล, [[คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง]]) ได้แก่ เพ็ญ, พร, ไถง, ผกา, ผอูน, แข, อัญขยม, ฉนำ, จำรัส ฯลฯ