ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
บรรทัด 22:
 
== ประวัติ ==
พ.ศ. 2441 ขุนปรีชานุศาสน์ (ปล้อง ธรรมารมณ์) ได้ใช้บ้านของท่านสอนหนังสือให้แก่ลูกหลานและเด็กในละแวกบ้าน ซึ่งตั้งอยู่บริเวณสี่แยกนางพิมในปัจจุบันโดยไม่คิดค่าตอบแทน ประมาณปี พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2441 [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] [[เสนาบดี]][[กระทรวงมหาดไทย]] เสด็จมาตรวจราชการเมืองสุพรรณบุรี ทรงเยี่ยมกิจการสอนหนังสือของนายปล้อง ธรรมารมณ์ มีความพอพระทัยมาก และทรงเห็นว่าสถานที่คับแคบ จึงโปรดให้สร้างอาคารเรียนหลังใหม่ขึ้นริมถนนสายหน้าที่ว่าการเมือง หลังจวนผู้ว่าราชการจังหวัดบริเวณสี่แยกนางพิม เป็นอาคารทรงปั้นหยาชั้นเดียว มี 3 ห้องเรียน จุนักเรียนห้องละ 10 - 15 คน ได้รับประทานนามว่า "โรงเรียนปรีชาพิทยากร" และทรงขอพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้นายปล้อง ธรรมารมณ์ เป็น "[[ขุนปรีชานุศาสน์]]"
โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี มาจากโรงเรียน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนปรีชาพิทยาคาร และ โรงเรียนวัดประตูสาร โดยในปี พ.ศ. 2435 ทางการได้ยุบโรงเรียนวัดประตูสาร ไปรวมกับ โรงเรียนปรีชาพิทยาคาร และกำหนดฐานะให้ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสุพรรณบุรี และต่อมาได้พัฒนาเป็น โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี ในปัจจุบัน
 
พ.ศ. 2446 [[พระยาสุนทรบุรี]] (อี้ กรรณสูต) ผู้ว่าราชการ[[จังหวัดสุพรรณบุรี]] เห็นว่าอาคารเรียนของโรงเรียนมีสภาพเก่าทรุดโทรม และอาณาบริเวรคับแคบ จึงย้ายไปก่อสร้างอาคารเรียนใหม่ริมถนนพระพันวษา (ที่ตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรีในปัจจุบัน) พร้อมทั้งรวมโรงเรียนวัดประตูสารเข้ามาด้วย ได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสุพรรณบุรี"กรรณสูตศึกษาลัย"
       ก่อนที่จะมาเป็น ปรีชาพิทยาคาร ประมาณ พ.ศ. 2435-2441 นายปล้อง ธรรมารมณ์ สอนหนังสือเด็กที่บ้านของตน โดยที่นักเรียนรุ่นแรกคือ เด็ก ในละแวกบ้าน แต่ต่อมา ก็เริ่มมีเด็กต่างถิ่น เข้ามาเรียนด้วย โดยหนังสือเรียน ที่ท่านใช้สอนเด็ก คือ หนังสือชุด มูลบทบรรพกิจ ซึ่งถือว่า เป็นหนังสือแบบเรียน ที่ดีที่สุดในยุคนั้น ใครก็เรียนจบ สามารถเข้ารับราชการได้ ทันที และกล่าวกันว่า สำนักเรียนของครูปล้อง เป็นสำนักเรียนชั้นดีที่สุด ของเมืองสุพรรณในเวลานั้น มาตรฐานความรู้ สูงกว่าการสอน ของพระตามวัดต่างๆ ซึ่งยังไม่ได้ตั้งเป็นโรงเรียน ตามการศึกษาแผนใหม่ ในเวลานั้น ด้วยเหตุนี้ เด็กจึงมาเรียน กับครูปล้องมากขึ้นทุกที จนที่เรียน ในบ้านของท่าน ซึงมีเรือนถึง หกหลังคับแคบ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2441จึงเกิดอาคาร "ปรีชาพิทยาคาร" หลังแรกขึ้น และนายปล้อง ก็ได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์เป็นขุนปรีชานุศาสตร์
 
พ.ศ. 2481 นายทา พิมพ์พันธุ์ ครูใหญ่ เห็นว่าอาคารไม้ที่สร้างมา 20 ปี ทรุดโทรม และบริเวณคับแคบไม่สามารถพัฒนาและขยายพื้นที่ให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นได้ จึงติดต่อของบประมาณจาก[[กระทรวงศึกษาธิการ]]จำนวน 15,400 บาท เพื่อจัดซื้อที่ดินริมถนนหมื่นหาญ (ด้านตะวันออกของวัดปราสาททอง) จำนวน 12 ไร่เศษ และติดต่อขอความร่วมมือจากประชาชนร่วมบริจาคอีกจำนวนหนึ่ง พร้อมทั้งได้ก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น มี 3 มุข 18 ห้องเรียน ได้ทำพิธีเปิดป้ายอาคารเรียนและย้ายนักเรียน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2501 เปิดสอนถึงชั้นเตรียมอุดมศึกษา (ชั้น ม.7 และ ม.8) แผนกวิทยาศาตร์เป็นครั้งแรก มีนักเรียนจำนวน 800 คนเศษ
       พ.ศ.2441 พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ เสนาบดี กระทรวงมหาดไทย เสด็จมาตรวจราชการ เมืองสุพรรณบุรี ได้ทรงเยี่ยม ชมกิจการสอนของนายปล้องแล้วพอพระทัย เพราะพระองค์ท่าน ใฝ่พระทัยในงานการศึกษาอยู่มาก เมื่อทรงเห็น สถานที่คับแคบ จึงโปรดให้สร้างอาคารเรียน หลังใหม่ขึ้น ที่ริมแม่น้ำท่าจีน ในบริเวณ บ้านนายปล้อง เป็นอาคารทรงปั้นหยา ชั้นเดียว ๓ ห้อง ห้องหนึ่งจุประมาณ 10-15 คน มีมุขกลางด้านหน้า หลังคามุงจาก ประมาณนามว่า "โรงเรียนปรีชาพิทยากร" และทรงขอพระราชทานบรรดาศักดิ์ ให้นายปล้องเป็น "ขุนปรีชานุศาสตร์" ครูคนแรก และคนเดียวของ โรงเรียนนี้ ได้รับเงินเดือน จากกระทรงมหาดไทยเดือนละ 25 บาท อาคารเรียน หลังนี้เข้าใจว่า สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประทาน เงินอุดหนุนด้วย อาคารนี้ใช้ได้อยู่ ๑๐ ปี ก็ทรุดโทรม เพราะน้ำท่วมทุกปี และกระแสน้ำแรงมาก อีกทั้ง นักเรียน ก็คงมากขึ้นด้วย โรงเรียนจึงย้าย ไปอยู่ที่ใหม่เมื่อ พ.ศ. 2451
 
พ.ศ. 2506 นายพิณ โสขุมา ครูใหญ่ เห็นว่าบริเวณสถานที่เดิมคับแคบ จึงเข้าพบผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อปรึกษาหาที่ดินแห่งใหม่ ได้บริเวณวัดร้าง 2 วัด คือ วัดชุมนุมสงฆ์ และ วัดพริก ซึ่งเป็นที่ธรณีสงฆ์ของกรมการศาสนา มีเนื้อที่ 48 ไร่ 2 งาน ได้รับงบประมาณพิเศษจากกรมสามัญศึกษา เพื่อก่อสร้างอาคารเรียนจำนวน 600,000 บาท และขอความร่วมมือจากประชาชนอีกประมาณ 700,000 บาท รวม 1,300,000 บาท เป็นอาคารเรียนแบบ 218 เป็นตึก 2 ชั้น 18 ห้องเรียน ยาว 80 เมตร ใต้ถุนโปร่ง เสร็จเรียบร้อยในวันที่ 30 สิงหาคม 2508 ปรับปรุงสนามกีฬาขนาด 400 เมตร สร้างกองอำนวยกีฬา 1 หลัง สนามบาสเกตบอล อัฒจันทร์เชียร์กีฬา 1 หลัง ในปี พ.ศ. 2509
       พ.ศ.2451-2461 โรงเรียนปรีชาพิทยากรแห่งใหม่ ตั้งอยู่ที่สี่แยกนางพิม ฝั่งตะวันตก ถนนพระพันวษา ตรงร้านถ่ายรูปแกรนด์ ในปัจจุบัน เป็นอาคารไม้ใต้ถุนสูง 7 ห้องเรียน หลังคามุงจาก อาคารหลังนี้ ท่านขุนปรีชานุศาสตร์ ได้ออกเงินส่วนตัว และได้รวบรวม เงินจากบรรดาศิษย์เก่า ที่มีหลักมีฐานแล้ว ได้เงินประมาณ 2,500 บาท นอกจากนี้ ได้มีพระยาอภัยภาติกเขต นายอำเภอสองพี่น้อง หลวงศรีราชรักษา บริจาคโต๊ะเรียน และม้านั่ง อาคารหลังนี้ พระยาสุนทรสงคราม (ม.ร.ว.เล็ก พยัคฆเสนา) ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ให้นักเรียนโทษ มาปลูกสร้าง เมื่อย้ายมาอยู่ ที่อาคารหลังนี้ โรงเรียน ได้โอนมาสังกัดกระทรวง ธรรมการ และขุนปรีชานุศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็น ครูใหญ่ คนแรก และมีครูช่วยสอน 3 คน ต่อมาขุนปรีชานุศาสตร์ ได้ถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ กระทรวงธรรมการ จึงส่งขุนโกศลเศรษฐ์ มาเป็นเป็นครู คนที่ 2 แต่ต่อมาเมื่อขุนโกศลเศรษฐ์ถึงแก่กรรม ทางราชการ จึงได้ยุบโรงเรียนวัดประตูสาร โอนครู และนักเรียน ไปรวมกับ โรงเรียนปรีชาพิทยากร โดยมีครูสาย เขมะพรรค เป็นครูใหญ่ โรงเรียนหลังที่สอง ดำเนินกิจการอยู่จนถึง พ.ศ. 2461ก็ถูกยกเลิก นอกจาก เพราะชำรุดทรุดโทรมแล้ว คงเป็นเพราะ นักเรียนมาขึ้นด้วย พระยาสุนทรบุรี (อี้ กรรณสูต) จึงสร้าง อาคารเรียนหลังใหม่ และเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็น "กรรณสูตศึกษาลัย”
 
       พ.ศ. 2461-2481 พระยาสุนทรบุรี (อี้ กรรณสูต) ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ปรารถ ถึงตัวโรงเรียน ซึ่งชำรุด ทรุดโทรมมากอยู่ และประสงค์ ที่จะสร้างโรงเรียนใหม่ ให้เสร็จโดยเร็ว โดยนายอำเภอทั้งเจ็ด ได้สนับสนุน ความเห็นของท่าน โดยจัดหาวัสดุต่างๆ มาให้ตามกำลัง และการก่อสร้าง ได้แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2461 นั้นเอง เป็นรูปเรือนยาว สองชั้น มีมุขด้านหน้าสองด้าน ทางเหนือด้านหลัง ทางใต้ด้านหนึ่ง มีบันไดตรงกลาง มีห้องเรียนห้าห้อง ห้องใต้ถุนเปิดโล่ง ยาวประมาณ 37 เมตร กว้าง 15เมตร หลังคามุงกระเบื้อง พื้น และฝา เป็นไม้ยางล้วน จุนักเรียนประมาณ 200 คน เป็นราคา 3,000 บาทเศษ และ โอนนักเรียนเก่า และเครื่องใช้ ของโรงเรียน ปรีชาพิทยากร มารวมกัน โรงเรียนกรรณสูต หลังแกรตั้งอยู่ที่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัจจุบัน เปิดสอน ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปีต่อๆ มาได้สร้างโรงอาหาร และประมาณ พ.ศ. 2481 ได้รับงบประมาณ เป็นค่าก่อสร้างอาคารไม้ 2 ชั้นยาว 30 เมตร เพื่อรับนักเรียนมัธยม หนึ่งพิเศษ สำหรับ เตรียมบุคคล ไปเป็นครูในชนบท โรงเรียนแห่งนี้ ขยายกิจการ อย่างต่อเนื่อง จนถึงปี พ.ศ.2481 ได้ขยับขยายไปสร้าง ใน สถานที่แห่งใหม่ แต่ย้ายนักเรียนไปหมดจริงๆ เมื่อปี พ.ศ. 2484 ระยะเวลา 23 ปี จึงมีนักเรียนจบไปมากมาย
 
       พ.ศ. 2506 นายพิณ โสขุมา ได้รับแต่งตั้งเป็น ครูใหญ่ของ โรงเรียน เห็นว่า โรงเรียนเดิม ซึ่งใช้มานาน 25 ปี ชำรุดทรุดโทรม เป็นอันมาก โดยเฉพาะ ที่ดินซึ่งมีอยู่เพียง 12 ไร่ เท่านั้น ค่อนข้าง คับแคบ จึงติดต่อไปยัง นายพัฒน์ บุณยรัตน์พันธุ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ช่วยพิจารณา หาที่ดิน ที่กว้างกว่าเดิม และของบประมาณ จากกรมด้วย และในต้นปีนั้นเอง ก็ได้ที่ดินวัดร้าง 2 วัด เนื้อที่ 48 ไร่ เศษ คือ ที่ดินปัจจุบัน ได้รับงบประมาณ จากกรมสามัญศึกษา จำนวน 600,000 บาท และผู้มีจิตศรัทธา บริจาคอีก 700,000 บาท จึงได้ ทำการก่อสร้าง อาคารเรียน 2 ชั้น 18 ห้องเรียน ยาว 80 เมตร ใต้ถุนโปร่ง และสูง พอที่จะแปลงเป็นห้องเรียนได้อีก 9 ห้อง
 
ปีพุทธศักราช 2541-2554 ตลอดระยะเวลา 14 ปี ในการดำรงตำแหน่ง ของ ดร.ชาญชัย ทิพเนตร ผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น ท่านได้ทุ่มเทเอาใจใส่ต่อสถานศึกษาแห่งนี้ให้เจริญก้าวหน้าทุกด้าน ทั้งการสร้างอัฒจรรย์ อาคารศูนย์กีฬาพร้อมทั้งปรับภูมิทัศน์ของโรงเรียนให้มีความสง่างามสมคุณค่า และการก้าวเข้าสู่ “โรงเรียนมาตรฐานสากล World Class Standard School ”นับเป็นช่วงเวลาที่เรียกได้ว่า เป็น“ ปีแห่งการพัฒนาสู่กรรณสูตยุคปัจจุบัน” โดยได้รับการอุปถัมภ์อย่างต่อเนื่องจาก ท่านบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 ของประเทศไทยและครอบครัวศิลปอาชา ที่ได้คอยสนับสนุนสถาบันแห่งนี้ทั้งเรื่องของการพัฒนานักเรียน ภูมิทัศน์ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ให้สมศักดิ์ศรี “โรงเรียนประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ”
 
จวบจนปี พุทธศักราช 2555-2559 นายประชอบ หลีนุกูล และนายประเสริฐ สุนทรเนตร ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตามลำดับ ได้มีการพัฒนาโรงเรียนเพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ยุคแห่งโลกาภิวัฒน์ ศตวรรษที่ 21 โดยดำเนินการจัดสร้างศูนย์ ICT CENTER ศูนย์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีครบวงจร เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ผ่านทางระบบดิจิทัลและโลกออนไลน์ได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังได้มีการปรับภูมิทัศน์บริเวณอาคารฝึกงานเพื่อสร้างอาคารโดม ในวาระครบรอบ 118 ปีและนับเป็นเกียรติสูงสุด เป็นสถานที่รับเสด็จ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เมื่อครั้งที่พระองค์เสด็จเป็นองค์ประธานในการเปิดศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในปี พุทธศักราช ๒๕๕๘ และการขอรับการอนุมัติสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ ด้วยงบประมาณกว่า 21 ล้านบาท เพื่อการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐาน สมแห่งเกียรติยศ โรงเรียนรางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน “OBEC QA”
 
พุทธศักราช 2560 ถึงปัจจุบัน นายราชันย์ ทิพเนตร ผู้อำนวยการโรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี ลำดับที่ 24 ผู้นำแห่งการพัฒนาพัฒนาศักยภาพผู้เรียนเชิงประจักษ์ ด้วยหลัก AKS : Attitude Knowladge Skill ทัศนคติดี มีความรู้คู่ทักษะ สู่การวางรากฐานด้วย ก.ส.เก่งสุด  “Master& Idol ต้นฉบับและแบบอย่าง ”ตามหลักยุทธศาสตร์กุญแจ 7 ดอก ด้วยปณิธานอันแน่วแน่ที่ว่า “ประโยชน์สูงสุดอยู่ที่ตัวนักเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ” เพื่อเตรียมรวมพลังทุกหัวใจ ก้าวเข้าสู่วาระแห่งเกียรติยศ ครบรอบการ 120 ปี : ปีทองของต้นฉบับและแบบอย่าง สมคุณค่า สถานศึกษาผู้เป็นต้นฉบับและแบบอย่างของเมืองสุพรรณบุรี แหล่งสร้างคนดีเพื่อตอบแทนคุณแผ่นดิน
 
โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี ได้พัฒนาเจริญก้าวหน้ามาโดยลำดับ จนถึงปัจจุบันมีอาคารเรียนถาวร 6 หลัง โรงฝึกงาน 6 หลัง อาคารประกอบ 8 หลัง
 
 
เส้น 50 ⟶ 41:
* กรรณสูตรำลึก 110 ปี (พ.ศ. 2551)
* มหกรรมวิชาการ 111 ปี เกียรติ ศักดิ์ศรี กรรณสูตศึกษาลัย (8-9 ธันวาคม พ.ศ. 2552)
* 112 ปี เกียรติ ศักดิ์ศรีเกียรติศักดิ์ศรี กรรณสูตศึกษาลัย (กรรณสูตรำลึก 112 ปี) (10 ธันวาคม พ.ศ. 2553)
* 115 ปี กรรณสูตศึกษาลัย (กรรณสูตรำลึก 115 ปี) (9 ธันวาคม พ.ศ. 2556)
*118 ปี กรรณสูตศึกษาลัย : รวมพลคนกรรณสูต (''ยกเลิกการจัดงาน'' ''เนื่องจากอยู่ในช่วงไว้อาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9'')
*120 ปี กรรณสูตศึกษาลัย : ปีทองของต้นฉบับและแบบอย่าง (9 ธันวาคม พ.ศ. 2561)
 
== สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่โรงเรียน ==