ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิงโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 27.145.135.152 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 58:
* ''P. l. bleyenberghi'' หรือที่รู้จักกันในชื่อสิงโตแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ หรือสิงโตกาตองกา พบในทางตะวันตกเฉียงใต้ของแอฟริกา [[ประเทศนามิเบีย]] [[ประเทศบอตสวานา]] [[ประเทศแองโกลา]] [[กาตองกา]] ([[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก|ซาเอียร์]]) [[ประเทศแซมเบีย]] และ[[ประเทศซิมบับเว]]<ref name="EoM"/>
* ''P. l. krugeri'' หรือที่รู้จักกันในชื่อสิงโตแอฟริกาตะวันออกเฉียงใต้ หรือ [[สิงโตเทรนส์เวล]] พบในบริเวณทรานเวลของแอฟริกาตะวันออกเฉียงใต้รวมถึง[[อุทยานแห่งชาติครูเกอร์]]<ref name="EoM"/>
* ''P. l. melanochaita'' หรือที่รู้จักกันในชื่อ[[สิงโตแหลมกูดโฮพ]] สูญพันธุ์จากธรรมชาติราวปี ค.ศ. 1860 ผลจากการวิจัย[[ไมโทคอนเดรีย DNA]] พบว่าไม่ควรแยกสิงโตแหลมกูดโฮพออกมาเป็นชนิดย่อย อาจเป็นไปได้ว่าสิงโตแหลมกูดโฮพเป็นประชากรที่อยู่ใต้สุดของการกระจายพันธุ์ของสิงโตชนิดย่อย ''P. l. krugeri''<ref name="Conservation-Genetics:Preserving-Genetic-Diversity" />
 
==== สิงโตสมัยไพลสโตซีน ====
บรรทัด 89:
 
=== ขนแผงคอ ===
แผงคอของสิงโตเพศผู้ที่โตเต็มวัยเป็นลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของสบีชีส์นี้ ซึ่งไม่พบในสัตว์ในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ส่งผลให้มันแลดูมีขนาดใหญ่ขึ้น ช่วยในแสดงออกของการข่มขู่ได้ดีเยี่ยมเมื่อเผชิญหน้ากับสิงโตตัวอื่นและคู่แข่งที่สำคัญในแอฟริกา [[ไฮยีนาลายจุด]]<ref>
{{cite web| last=Trivedi | first=Bijal P. | title=Are Maneless Tsavo Lions Prone to Male Pattern Baldness? | publisher=National Geographic | year=2005 | url=http://news.nationalgeographic.com/news/2002/04/0412_020412_TVtsavolions.html | accessdate=7 July 2007}}</ref> การที่มีหรือไม่มีแผงคอ รวมถึงสีและขนาดนั้นเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขทางพันธุกรรม การเจริญเติบโต สภาพอากาศ และการสร้าง[[เทสโทสเตอโรน]] มีหลักทั่วไปว่าขนแผงคอสีเข้มกว่าและใหญ่กว่าคือสิงโตที่มีสุขภาพดีกว่า การเลือกคู่ของนางสิงห์นั้นมักจะเลือกสิงโตเพศผู้ที่มีแผงคอหนาแน่นและมีสีเข้มที่สุด<ref name="Trivedi02">{{cite web| last=Trivedi | first =Bijal P. | title=Female Lions Prefer Dark-Maned Males, Study Finds | work=National Geographic News | publisher=National Geographic | date=22 August 2002 | url=http://news.nationalgeographic.com/news/2002/08/0822_020822_TVlion.html| accessdate= 1 September 2007}}</ref> จากการศึกษาใน[[ประเทศแทนซาเนีย]]ยังแสดงให้เห็นว่าขนแผงคอที่ยาวเป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึงการประสบความสำเร็จในการต่อสู้ระหว่างสิงโตเพศผู้ด้วยกันอีกด้วย แผงคอที่เข้มดำอาจบ่งบอกถึงช่วงเจริญพันธุ์ที่ยาวนานกว่าและลูกหลานที่มีโอกาสรอดชีวิตสูง แม้ว่าต้องอดอยากในเดือนที่ร้อนที่สุดของปีก็ตาม<ref name=West>{{Cite journal|last=West |first=Peyton M. |coauthors=Packer, Craig |year=2002 |month=August |title=Sexual Selection, Temperature, and the Lion's Mane |journal=[[Science (journal)|Science]] |volume=297 |issue=5585 |pages= 1339–43 |doi=10.1126/science.1073257 |pmid=12193785}}</ref> ในฝูงที่ประกอบไปด้วยสิงโตเพศผู้ 2-3 ตัว มีทางเป็นไปได้ที่นางสิงห์จะจับคู่ผสมพันธุ์กับเพศผู้ที่มีขนแผงคอใหญ่ที่สุด หนักที่สุด<ref name="Trivedi02"/>
[[ไฟล์:Maneless lion from Tsavo East National Park.png|thumb|[[สิงโตซาโว]] เพศผู้มีขนแผงคอเพียงหรอมแหรม จากอุทยานแห่งชาติซาโวตะวันออก ประเทศเคนยา]]
บรรทัด 95:
นักวิทยาศาสตร์มีความเชื่อว่าสถานะความแตกต่างในระดับชนิดย่อยสามารถแบ่งแยกได้ทาง[[สัณฐานวิทยา (ชีววิทยา)|สัณฐานวิทยา]] ซึ่งรวมถึง ขนาดของขนแผงคอ รูปร่างทางสัณฐานของสิงโตสามารถระบุบถึงความแตกต่างของชนิดย่อยได้ เช่น [[สิงโตบาร์บารี]]และ[[สิงโตแหลมกูดโฮพ]] อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาระบุบว่าปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อสีและขนาดของขนแผงคอสิงโต เช่น [[อุณหภูมิห้อง|อุณหภูมิในสภาพแวดล้อม]]<ref name=West/> เช่น อากาศหนาวเย็นของ[[สวนสัตว์]]ในยุโรปและอเมริกาเหนืออาจมีผลทำให้ขนแผงคอหนาและหนักขึ้น ดังนั้น แผงคอจึงเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้ในการระบุบถึงชนิดย่อย<ref name="Conservation-Genetics:Preserving-Genetic-Diversity">{{Cite journal|last=Barnett |first=Ross |coauthors=Nobuyuki Yamaguchi, Ian Barnes and Alan Cooper |month=August |year=2006 |title=Lost populations and preserving genetic diversity in the lion ''Panthera leo'': Implications for its ''ex situ'' conservation |journal=Conservation Genetics |volume=7 |issue=4 |pages=507–14 |doi=10.1007/s10592-005-9062-0}}</ref><ref name="yamaguchi-haddane">{{Cite journal|last=Yamaguchi |first=Nobuyuki |coauthors=B. Haddane |year=2002 |title=The North African Barbary lion and the Atlas Lion Project |journal=International Zoo News |volume=49 |pages=465–81}}</ref> แต่อย่างไรก็ตาม สิงโตเอเชียเพศผู้มีขนแผงคอบางกว่าสิงโตแอฟริกาโดยเฉลี่ย<ref name="Menon">{{Cite book|last=Menon |first=Vivek |year=2003 |title=A Field Guide to Indian Mammals |location=Delhi |publisher=Dorling Kindersley India |isbn=0-14-302998-3| pages=}}</ref>
 
มีรายงานถึงสิงโตเพศผู้ที่ไม่ปรากฏขนแผงคอใน[[ประเทศเซเนกัล]]และ[[อุทยานแห่งชาติซาโวตะวันออก]]ในประเทศเคนยา และสิงโตขาวเพศผู้ตัวแรกเริ่มจากทิมบาวัตติ (Timbavati) นั้นก็ไม่มีแผงคอด้วยเช่นกัน ฮอร์โมน เทสโทสเตอโรนนั้นมีความเกี่ยวข้องกับการเจริญของขนแผงคอ ดังนั้นสิงโตที่ได้รับการทำหมันนั้นบ่อยครั้งที่มีแผงขอเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย เนื่องจากไปการนำเอาต่อมบ่งเพศที่เป็นแหล่งสร้างเทสโทสเตอโรนออกไป<ref>{{Cite journal| first = Linda | last = Munson | date = March 3, 2006 | title = Contraception in felids | journal = Theriogenology| pmid = 16626799 | volume = 66 | issue = 1 | pages = 126–34 | doi = 10.1016/j.theriogenology.2006.03.06 }}</ref> สิงโตที่ไม่มีขนแผงคออาจพบในประชากรสิงโตที่มีการผสมพันธุ์ในเชื้อสายที่ใกล้ชิด ซึ่งเป็นผลมาจากภาวะการเจริญพันธุ์ต่ำ<ref>{{cite web| last=Trivedi | first =Bijal P. | title=To Boost Gene Pool, Lions Artificially Inseminated | work=National Geographic News | publisher=National Geographic | date=12 June 2002 | url=http://news.nationalgeographic.com/news/2002/06/0612_020612_TVlion.html| accessdate= 20 September 2007}}</ref>
 
[[ภาพวาดฝาผนัง]]ของ[[สิงโตถ้ำยุโรป]]ได้แสดงถึงสัตว์ที่ไม่มีขนแผงคอหรือมีเพียงเล็กน้อยซึ่งชี้ให้เห็นว่าสิงโตชนิดนี้ไม่มีขนแผงคอ<ref name="Koenigswald02">{{Cite book|last=Koenigswald |first=Wighart von |year=2002 |title=Lebendige Eiszeit: Klima und Tierwelt im Wandel |location=Stuttgart |publisher=Theiss |isbn=3-8062-1734-3| pages=}} {{de icon}}</ref>
 
=== สิงโตขาว ===
บรรทัด 124:
สิงโตกินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร มันกินสัตว์ได้แทบทุกชนิด เช่น กระต่าย ไก่ป่า จระเข้ ลิง เม่น กวาง ม้าลาย ควายป่า ละมั่ง เป็นต้น แม้แต่ซากสิงโตด้วยกันเองก็กิน ลูกสิงโตที่อ่อนแอจะถูกกินเพื่อให้ตัวที่แข็งแรงกว่าได้อยู่รอด
 
=== การแข่งขันกับนักล่าอื่นและศัตรูทางธรรมชาติ ===
 
=== การสืบพันธุ์และวงจรชีวิต ===
บรรทัด 135:
[[ไฟล์:Lion cub with mother.jpg|thumb|right|การถูศีรษะและการเลียเป็นพฤติกรรมทางสังคมตามปกติในฝูงสิงโต]]
เมื่อพักผ่อน การขัดเกลาทางสังคมของสิงโตจะเกิดขึ้นผ่านพฤติกรรมต่างๆ และการเคลื่อนไหวของสัตว์ที่แสดงออกมีการพัฒนาเป็นอย่างมาก กริยาท่าทางการสัมผัสที่เป็นปกติสุขและพบได้มากที่สุดคือการถูศีรษะและการเลียเชิงสังคม<ref name="Schaller85">Schaller, p. 85.</ref> ซึ่งเปรียบได้กับการดูแลขนให้เรียบร้อยในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม<ref>{{Cite book|editor=Desmond Morris|last=Sparks |first=J |title=Primate Ethology |chapter=Allogrooming in primates:a review |year=1967 |publisher=Aldine |location=Chicago |isbn=0-297-74828-9}} (2007 edition: 0-202-30826-X)</ref> การถูศีรษะ ดุนด้วยจมูกเบาๆ ที่หน้าผาก หน้า และลำคอของสิงโตตัวอื่นดูเหมือนจะเป็นรูปแบบของการทักทาย<ref>{{Cite book|last=Leyhausen |first=Paul |title=Verhaltensstudien an Katzen|edition= 2nd |year=1960 |publisher=Paul Parey |location=Berlin |isbn=3-489-71836-4 }} {{de icon}}</ref> มักพบเห็นได้บ่อยครั้งหลังจากสิงโตแยกจากตัวอื่น หรือหลังการต่อสู้หรือหลังการเผชิญหน้า ตัวผู้มักถูกับตัวผู้ด้วยกันเอง ขณะที่ลูกสิงโตและสิงโตตัวเมียจะถูกับตัวเมีย<ref name="Schaller858">Schaller, pp. 85–88.</ref> การเลียเชิงสังคมมักจะเกิดขึ้นหลังการถูศีรษะ โดยทั่วไปแล้วจะเกิดขึ้นควบคู่กัน และตัวที่ได้รับมักแสดงความพอใจออกมาอย่างชัดเจน ศีรษะและลำคอจะเป็นส่วนที่ได้รับการเลียมากที่สุด อาจเป็นผลมาจากการบริการสาธารณะ เพราะสิงโตไม่สามารถเลียพื้นที่เหล่านี้เองได้<ref name="Schaller8891">Schaller, pp. 88–91.</ref>
==การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย==
<!--
{{sound|filename=Lion raring-sound1TamilNadu178.ogg|title=Lion roar|description=A lion in captivity roaring}}
Lions have an array of facial expressions and body postures that serve as visual gestures.<ref name="Schaller92102">Schaller, pp. 92–102.</ref> Their repertoire of vocalizations is also large; variations in intensity and pitch, rather than discrete signals, appear central to communication. Lion sounds include snarling, hissing, coughing, miaowing, woofing and roaring. Lions tend to [[roar (animal)|roar]] in a very characteristic manner, starting with a few deep, long roars that trail off into a series of shorter ones.
<ref>[http://roberteklund.info/pdf/Ananthakrishnan_et_al_2011_LionRoars.pdf Ananthakrishnan, Eklund, Peters & Mabiza (2011)]</ref>
<ref>[http://roberteklund.info/pdf/Eklund_et_al_2011_LionRoars.pdf Eklund, Peters, Ananthakrishnan & Mabiza (2011)]</ref>
They most often roar at night; the sound, which can be heard from a distance of {{convert|8|km}}, is used to advertise the animal's presence.<ref name="Schaller10313">Schaller, pp. 103–113.</ref> Lions have the loudest roar of any big cat.-->
 
==การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย==
[[ไฟล์:India Animals.jpg|thumb|[[สิงโตอินเดีย]]ตัวผู้สองตัวในอุทธยานแห่งชาติสัญชัย คานธี (Sanjay Gandhi National Park) มุมไบ ประเทศอินเดีย ประชากรในธรรมชาติของสิงโตอินเดียจำกัดอยู่ในแค่[[อุทยานแห่งชาติป่ากีร์]]ในอินเดียตะวันตก<ref>{{Cite book
|last = Miller
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สิงโต"