ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮันส์ ฮ็อลไบน์ (ผู้ลูก)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า ฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก) ไปยัง ฮันส์ ฮ็อลไบน์ (ผู้ลูก): ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์เยอรมัน 2561
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| ชื่อ = ฮันส์ ฮ็อลไบน์ (ผู้ลูก)
| ภาพ = Hans Holbein the Younger, self-portrait.jpg
| คำบรรยายภาพ = [[ภาพเหมือนตนเอง]] ราว ค.ศ. 1542–1543ชอล์ค ชอล์กสีและปากกาเน้นด้วยสีทอง, ปัจจุบันอยู่ที่[[หอศิลป์อุฟฟิซิฟฟีซี]], ในฟลอเรนซ์ ภาพเขียนได้รับการขยาย เขียนตกแต่งใหม่ และเพิ่มสีโดยจิตรกรยุคต่อมา<ref>Rowlands, 239; Buck, 6.</ref>
| ชื่อเมื่อเกิด =
| ชื่ออื่น =
| วันเกิด = [[ประมาณ ค.ศ. 1497]]
| ที่เกิด = [[เอาคส์บวร์ค]] ([[เสรีนครจักรวรรดิ]]) [[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]
| ที่เกิด =
| วันเสียชีวิต = [[ตุลาคมหรือพฤศจิกายน ค.ศ. 1543]] (45 ปี)
| ที่เสียชีวิต = [[ลอนดอน]] [[ราชอาณาจักรอังกฤษ]]
| เชื้อชาติ = [[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]]
| สาขา = [[จิตรกรรม]]
บรรทัด 20:
| อิทธิพลต่อ =
}}
'''ฮันส์ ฮ็อลไบน์ ผู้ลูก''' ({{lang-ende|Hans Holbein theder YoungerJüngere}}; ประมาณ ค.ศ. 1497 - ระหว่างวันที่ 7 ตุลาคม ถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1543) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ของ[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ]]คนสำค้ญของ[[ประเทศเยอรมนี]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพพิมพ์แบบเรอเนสซองซ์ตอนเหนือฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ ฮ็อลไบน์เป็นที่รู้จักจาก[[ภาพเหมือน]]<ref>Zwingenberger, 9.</ref> และงาน[[ภาพพิมพ์แกะไม้]] (woodcut) ในชุด "''Dance of Death"'' ฮันส์ ฮ็อลไบน์ถือกันว่าเป็นช่างเขียนภาพเหมือนคนสำคัญของยุคภาพเหมือน[[สมัยใหม่ตอนต้น]] (Early Modern Period) ซึ่งเป็นช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 15–18 นอกจากภาพเหมือนแล้วฮ็อลไบน์ก็ยังมีงานเขียนที่เกี่ยวกับศาสนา งานเสียดสี และงานโฆษณาชวนเชื่อของ[[การปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์|การปฏิรูปศาสนา]] และมีบทบาทสำคัญในการประวัติศาสตร์ของการออกแบบหนังสือ สร้อย "ผู้ลูก" เพื่อให้ต่างจากบิดาผู้มีชื่อเดียวกัน --คือ [[ฮันส์ ฮ็อลไบน์ (ผู้พ่อ)]] ผู้เป็นจิตรกรมีชื่อของ[[ศิลปะกอทิก|สมัยกอทิก]]ตอนปลาย
 
ฮ็อลไบน์เกิดที่[[เอาก์สบวร์ค]] ทำงานส่วนใหญ่ใน[[บาเซิล]]เมื่อเริ่มเป็นศิลปิน ในระยะแรกก็เขียนจิตรกรรมฝาผนังและศิลปะคริสต์ศาสนางานศาสนา และออกแบบหน้าต่าประดับกระจกสีและหนังสือสำหรับพิมพ์ บางครั้งก็จะเขียนภาพเหมือนและมีชื่อเสียงขึ้นเมื่อเขียนภาพเหมือนของ[[ลัทธิมนุษยนิยมยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา|นักมนุษยนิยม]][[เดสิเดอริอัส อีราสมัสเอรัสมุส]]แห่งรอตเตอร์ดามตเตอร์ดัม เมื่อ[[การปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์]]ขยายไปถึงบาเซิล ฮ็อลไบน์ก็ทำงานให้ลูกค้าฝ่ายปฏิรูป ขณะที่ในขณะเดียวกันก็ทำงานให้กับลูกค้าที่ต้องการภาพทางศาสนาแบบดั้งเดิม งานของฮ็อลไบน์ของปลายสมัยกอทิกมีลักษณะที่เพิ่มคุณค่าของภาพที่มาจากแนวโน้มของศิลปะอิตาลี ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ และจาก[[Renaissance Humanism|ลัทธิมนุษยนิยมยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาศิลปวิทยา]] ผลที่ออกมาคืองานที่มีความงามเป็นเอกลักษณ์ของฮ็อลไบน์เอง
 
ฮ็อลไบน์เดินทางไปยังอังกฤษในปี ค.ศ. 1526 เพื่อไปหางานทำโดยคำรับรองของ[[เดสิเดอริอัส อีราสมัสเอรัสมุส]] อีราสมัสเอรัสมุสได้รับการต้อนรับเข้าสู่กลุ่มนักมนุษยนิยมของเซอร์[[Thomas More|ทอมัส มอร์]] ที่ได้สร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเองอย่างรวดเร็ว หลังจากที่กลับมายังบาเซิลเป็นเวลาสี่ปีฮ็อลไบน์ก็เดินทางไปทำงานต่อในอังกฤษในปี ค.ศ. 1532 ครั้งนี้มาทำงานให้กับ[[แอนน์ โบลีบุลิน]] และ [[Thomas Cromwell|ทอมัส ครอมเวลล์]] เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1535 ฮ็อลไบน์ก็กลายเป็นจิตรกรประจำพระองค์ใน[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8]] ในตำแหน่งที่ว่านี้นอกจากจะเขียนภาพเหมือนและการตกแต่งเทศกาลแล้ว ฮ็อลไบน์ก็ยังออกแบบอัญมณีและเครื่องประดับอันมีค่าอีกด้วย ภาพเหมือนของฮ็อลไบน์ของพระราชวงศานุวงศ์และขุนนางเป็นการบันทึกความหรูหราของราชสำนักอังกฤษในช่วงระยะเวลาที่สมเด็จพระเจ้าเฮนรีทรงแสดงพระบรมราชานุภาพในฐานะประมุขของ[[นิการยเชิร์ชออฟอิงแลนด์คริสตจักรแห่งอังกฤษ]]อย่างเต็มที่
 
งานเขียนของฮ็อลไบน์ถือว่างเป็นงานเขียนที่มีคุณค่ามาตั้งแต่เริ่มเขียน กวีและนักปฏิรูปชาวฝรั่งเศส[[Nicholas Bourbon (the elder)|นีกอลา บูร์บง]] กวีและนักปฏิรูปชาวฝรั่งเศสให้สมญาว่าเป็น "[[อะเพลลีส]]แห่งยุค"<ref>Wilson, 213; Buck, 50, 112. Apelles was a legendary artist of antiquity, whose imitation of nature was thought peerless.</ref> นอกจากนั้นก็ยังถือว่าเป็นจิตรกร "เอกลักษณ์" ของประวัติศาสตร์ศิลปะเพราะไม่ได้เป็นผู้ริเริ่มตระกูลการเขียนใดที่สร้างงานเขียนลักษณะการเขียนของตนเอง<ref name = Wilson281>Wilson, 281.</ref> หลังจากที่ฮ็อลไบน์เสียชีวิต งานบางชิ้นก็สูญหายไปแต่ส่วนมากได้รับการสะสม เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ฮ็อลไบน์ก็เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นปรมาจารย์ของการเขียนภาพเหมือน งานแสดงศิลปะหลายครั้งเมื่อไม่นานมานี้ก็ได้แสดงความสามารถในด้านต่าง ๆ ของฮ็อลไบน์ด้วย ฮ็อลไบน์ใช้เส้นที่อ่อนช้อยในการสร้างงานตั้งแต่เครื่องประดับอันละเอียดอ่อนไปจนกระทั่งงานขนาดใหญ่เช่นจิตรกรรมฝาผนัง งานเขียนของฮ็อลไบน์เรียกได้ว่าเป็นงานแบบ[[ศิลปะสัจนิยม|สัจนิยม]]เพราะความเที่ยงตรงต่อความเป็นจริงของสิ่งที่เขียน ภาพเหมือนที่เขียนมีชื่อเสียงในยุคนั้นว่าเป็นภาพที่คล้ายกับผู้เป็นแบบเป็นอย่างมาก และทำให้ชนปัจจุบันสามารถรู้จักบุคคลในยุคนั้นจากสายตาของฮ็อลไบน์ แต่ฮ็อลไบน์ก็มิได้พึงพอใจอยู่แต่ลักษณะที่เห็นภาพนอกของผู้เป็นแบบ และฝังสัญลักษณ์ นัย และปฏิทรรศน์เข้าไปในภาพด้วยที่ทำให้เป็นที่กังขาต่อผู้คงแก่เรียนต่าง ๆ ตามความเห็นของนักประวัติศาสตร์ศิลป์[[Ellis Waterhouse|เอลลิส วอเทอร์เฮาส์]] นักประวัติศาสตร์ศิลป์ ภาพเหมือนที่เขียนโดยฮ็อลไบน์ "ยังคงเป็นภาพที่ไม่มีผู้ใดเท่าเทียมเพราะความเที่ยงตรงและความประหยัดของการสื่อความหมาย, ความลึกของบุคลิก และความบริสุทธิ์และความงดงามของวิธีการเขียน"<ref>Waterhouse, 17.</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ]]
* [[ภาพเหมือน]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 41 ⟶ 37:
== สมุดภาพ ==
<gallery perrow="5">
ภาพ:Hans Holbein d. J. 076.jpg|"แกตติน''กัททีน เอสเบธเอ็ลส์เบ็ท บินเซนชต็อคเซินชต็อค กับลูกสองคน, ฟิลลิป ฟิลลิพและ แคทเธอริคาทารีนา" (Gattin Elsbeth Binsenstock mit Philipp und Katharina)'', พิพิธภัณฑ์บาเซิล [[ประเทศสวิสเซอร์แลนด์สวิตเซอร์แลนด์]]
ภาพ:Hans Holbein d. J. 010.jpg|"''[[พระแม่มารีและพระบุตร]]และนักบุญนิโคลัสแห่งไมราและนักบุญเออซัส"'' (ค.ศ. 1522), พิพิธภัณฑ์ศิลปะโซโลเธิร์น ทวร์น ประเทศสวิสเซอร์แลนด์สวิตเซอร์แลนด์
ภาพ:Holbein-erasmus.jpg|"''ภาพเหมือน[[อิราสมัสเอรัสมุส]]"''
ภาพ:Hans_Holbein_d._J._074.jpg|"''ภาพเหมือน[[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 8]]" ''
ภาพ:AnneCleves.jpg|"''ภาพเหมือนแอนแห่งคลีฟ"''<br />พระชายาองค์ที่ 4<br />ของพระเจ้าเฮนรีที่ 8
</gallery>