ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีแยร์ รอซีเย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Rossier studio mark.jpg|thumb|เครื่องหมายสตูดิโอถ่ายภาพของรอซีเยในฟรีบูร์]]
 
'''ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเย''' ({{lang-fr|Pierre Joseph Rossier}}; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1829 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1886<ref>{{Cite web|url=http://archives.paris.fr/arkotheque/visionneuse/visionneuse.php?arko=YTo2OntzOjQ6ImRhdGUiO3M6MTA6IjIwMTctMTAtMTkiO3M6MTA6InR5cGVfZm9uZHMiO3M6MTE6ImFya29fc2VyaWVsIjtzOjQ6InJlZjEiO2k6NDtzOjQ6InJlZjIiO2k6MjM3MDcwO3M6MTY6InZpc2lvbm5ldXNlX2h0bWwiO2I6MTtzOjIxOiJ2aXNpb25uZXVzZV9odG1sX21vZGUiO3M6NDoicHJvZCI7fQ|title=ทะเบียนข้อมูลโยธาของกรุงปารีส - บันทึกความตาย|last=|first=|date=|website=archives.paris.fr|page=17|archive-url=|archive-date=|dead-url=|access-date=}}</ref>) เป็นช่างภาพยุคบุกเบิกชาวสวิส ถ่ายภาพโดยวิธี[[การถ่ายภาพแบบแอลบูเมน|แอลบูเมน]] รวมถึงการภาพถ่ายสามมิติ และภาพ[[Carte de visite|การ์ตเดอวีซิต]]ที่เป็นภาพถ่ายบุคคล ภาพทิวทัศน์ของเมือง และภาพภูมิทัศน์ เขาได้รับว่าจ้างจากบริษัท ''เนเกรตตีและแซมบรา'' (''Negretti and Zambra'') ในกรุงลอนดอนให้เดินทางมาทวีปเอเชียเพื่อบันทึกภาพกองทัพอังกฤษ-ฝรั่งเศสใน[[สงครามฝิ่นครั้งที่สอง]] แม้ไม่ได้ร่วมคณะทหารไปด้วย แต่เขายังคงอยู่ในทวีปเอเชียหลายปี โดยผลิตผลงานเพื่อการค้าเป็นครั้งแรกให้กับ[[ประเทศจีน]] [[ฟิลิปปินส์]] [[ญี่ปุ่น]] และ[[ประเทศสยาม|สยาม]] เขาถือเป็นช่างภาพอาชีพคนแรกของประเทศญี่ปุ่น ที่นั่นเขาได้สอนฟูรูกาวะ ชุมเป, คาวาโนะ เทโซ, [[อูเอโนะ ฮิโกมะ]], [[มาเอดะ เก็นโซ]], [[โฮริเอะ คูวาจิโร]] และช่างภาพรุ่นแรกคนอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงลดหลั่นไปของญี่ปุ่น ส่วนในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เขาก่อตั้ง[[สตูดิโอถ่ายภาพ]]ในเมือง[[ฟรีบูร์]]และ[[ไอน์ซีเดิล์นไอน์ซีเดิลน์]] และยังคงผลิตภาพถ่ายในสถานที่อื่น ๆ ของประเทศ รอซีเยถือเป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรกของการถ่ายภาพ ไม่เพียงเพราะผลงานภาพถ่ายของเขาเท่านั้น แต่ยังเป็นเพราะการสอนของเขาได้ส่งผลกระทบสำคัญแก่วงการถ่ายภาพญี่ปุ่นในยุคบุกเบิกด้วย
 
==อัตลักษณ์และกำเนิด==
บรรทัด 37:
รอซีเยเดินทางกลับถึงสวิตเซอร์แลนด์ในช่วงต้น ค.ศ. 1862 และได้สมรสกับแคเทอริน บาร์บ เคลิน (ค.ศ. 1843–1867) ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1865 ทั้งคู่มีบุตรชื่อ คริสต็อฟ มารี ปีแยร์ โฌแซ็ฟ ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1866 ต่อมาแคเทอรินเสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1867
 
รอซีเยยังดำเนินกิจการ[[สตูดิโอถ่ายภาพ]]ในฟรีบูร์จนกระทั่ง ค.ศ. 1876 เป็นอย่างน้อย เขายังมีสตูดิโอในในเมือง[[Einsiedeln, Switzerland|ไอน์ซีเดิล์นไอน์ซีเดิลน์]] และระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1860 ถึงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาผลิตภาพถ่ายสามมิติและ[[การ์ตเดอวีซิต]]อันประกอบด้วยภาพบุคคลและภาพทิวทัศน์ของเมืองฟรีบูร์, ไอน์ซีเดิล์นไอน์ซีเดิลน์ และสถานที่อื่น ๆ ในสวิตเซอร์แลนด์ ต่อมาใน ค.ศ. 1871 ''ลาลีแบร์เต'' หนังสือพิมพ์ภาษาฝรั่งเศสจากเมืองฟรีบูร์ลงโฆษณาโดยเสนอภาพถ่ายงานจิตรกรรมทางศาสนาของศิลปินที่ชื่อ เม็ลชียอร์ เพาล์ ฟ็อน เดชวันเดิน ซึ่งรอซีเยเป็นผู้ถ่าย<ref>Bennett OJP, 120.</ref> ใน ค.ศ. 1872 รอซีเยจัดแจงขอหนังสือเดินทางเพื่อเดินทางไปยังฝรั่งเศส คาดว่าเขาอาจถ่ายภาพที่นี่ จากนั้นในช่วงใดช่วงหนึ่งระหว่าง ค.ศ. 1871 ถึง 1884 เขาสมรสอีกครั้ง ภรรยาคนที่ 2 ชื่อ มารี วีร์ฌีนี ออแวร์แน ซึ่งเป็นคนรับใช้ของเจ้าของที่ดินของสตูดิโอเขา ทั้งคู่มีบุตรชายชื่อ โฌแซ็ฟ หลุยส์ ซึ่งเกิดในปารีสเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1884 ต่อมาบุตรคนนี้ไปมีร้านกาแฟในเมือง[[เวอแว]] ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และเสียชีวิตใน ค.ศ. 1927
 
ปีแยร์ รอซีเย เสียชีวิตในปารีสในช่วงใดช่วงหนึ่งระหว่างปี ค.ศ. 1883 ถึง 1898<ref name="Bennett."/>