ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โวลต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่ หน่วยวัด
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''โวลต์''' (สัญลักษณ์ : V) คือหน่วยอนุพันธ์ใน[[หน่วยเอสไอ|ระบบเอสไอ]]ของ[[ความต่างศักย์ไฟฟ้า]] ปริมาณที่กำกับด้วยหน่วยโวลต์นั้นคือผลการวัดความเข้มของแหล่งจ่ายไฟฟ้าในแง่ที่ว่าจะสร้างพลังงานได้เท่าใดที่ระดับกระแสค่าหนึ่ง  ๆ โวลต์ซึ่งเป็นชื่อของหน่วยนี้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติให้แก่ [[อาเลสซันโดร วอลตา]] ([[พ.ศ. 2288]] - [[พ.ศ. 2288–2370|2370]]) ผู้คิดค้น[[แบตเตอรี่]]เคมีชนิดแรกที่เรียกว่า[[เซลล์โวลตาอิก]] (Voltaic Pile)
 
โวลท์<ref>http://www.sahasang.com/content-10.%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B9%8C,%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%8C,%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3-4-117-683-1.html</ref>&nbsp;(volt&nbsp;หรือ&nbsp;V)&nbsp;โวลต์คือ&nbsp;หน่วยที่ใช้เรียกเพื่อบอกขนาดของแรงดันไฟฟ้าในบ้าน&nbsp; เช่น&nbsp; 220 V&nbsp; หมายถึง&nbsp; ขนาดของแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ&nbsp; 220&nbsp;โวลท์&nbsp; โวลต์ (ประเทศไทยใช้ไฟระบบนี้)
 
1 โวลต์ (V) = 1,000 มิลลิโวลต์ (mV)
บรรทัด 35:
=== การใช้โวลต์มิเตอร์<ref>https://tungelectronic.wordpress.com/tag/%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C/</ref> ===
[[ไฟล์:การใช้โวลต์มิเตอร์.jpg|thumb]]
เมื่อพิจารณาถ่านไฟฉายขนาด 1.5 โวลต์ หรือแบตเตอรี่รถยนต์ 12 โวลต์ หมายถึง ถ่านไฟฉายมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์ แรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่เซลล์ไฟฟ้าจ่ายให้กระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ตลอดวงจรไฟฟ้า การวัดความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้า เรานิยมใช้เครื่องมือที่เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ โดยมีหน่วยวัด คือ โวลต์ เมื่อเราต้องการวัดแรงดันระหว่างจุด 2 จุดใดๆใด ๆ ในวงจรไฟฟ้า เราสามารถทำได้ด้วยการนำโวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมระหว่างจุด 2 จุดนั้นๆนั้น ๆ เราเรียกการต่อลักษณะนี้ว่าการต่อแบบขนาน
 
การใช้โวลต์มิเตอร์ก็เช่นเดียวกับแอมมิเตอร์ ซึ่งมี 2 แบบคือ ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อต้องการใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง จุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องคำนึงถึงขั้วบวกและขั้วลบด้วย โดยต่อขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วบวกของวงจร และต่อขั้วลบของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วลบของวงจร
 
สำหรับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรที่มีแหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบกระแสสลับ เช่น ไฟฟ้าจากเต้ารับภายในบ้าน โดยใช้โวลต์มิเตอร์แบบเข็มชนิดขดลวดเคลื่อนที่และแม่เหล็กถาวร ไฟฟ้ากระแสสลับต้องถูกแปลงไปเป็นไฟฟ้ากระแสตรงก่อนด้วย [[ตัวเรียงกระแส|"วงจรเรียงกระแส"]] (Rectifierrectifier) แล้วจึงนำไฟฟ้ากระแสตรงนั้นไปวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากับโวลต์มิเตอร์ ส่วนมากแล้วใน[[มัลติมิเตอร์]] (Multimetermultimeter) จะมีการทำวงจร [[Rectifier]] เรียงกระแสมาในตัวอยู่แล้ว
 
การที่กระแสไฟฟ้าไหลอันเนื่องมาจากความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าแต่ละชนิดก็จะไม่เท่ากัน เช่น ถ่านไฟฉายมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 โวลต์ แบตเตอรี่รถยนต์มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ ส่วนสายไฟภายในบ้านมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 220 โวลต์ทั้งนี้ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่ามากขึ้นระดับพลังงานไฟฟ้าก็จะมากขึ้นด้วย ซึ่งจะมีผลและเป็นอันตรายต่อชีวิตของมนุษย์มากขึ้นด้วยเช่นกัน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โวลต์"