ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฮิรตซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูล
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[File:FrequencyAnimation.gif|thumb|236px|บนลงล่าง: ไฟที่กระพริบใน[[ความถี่]] {{nowrap|''f'' {{=}} 0.5 Hz}}, 1.0 Hz และ 2.0 Hz นั่นคือที่เวลา 0.5, 1.0 และ 2.0 วินาทีตามลำดับ ไฟจะกระพริบ 1 ครั้ง เวลาในการกระพริบแต่ละครั้งสามารถหาได้จาก  ''คาบ'' (T)  ซึ่งสูตรคือ {{frac|1|''f''}} ([[แปรผกผัน]]กับ ''f'') นั่นคือเวลา 2, 1 และ 0.5 วินาทีตามลำดับ]]
 
'''เฮิรตซ์''' (อ่านว่า ''เฮิด'') ({{lang-en|Hertz ย่อว่า Hz}})<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน] (สืบค้นคำว่า hertz)</ref> เป็น[[หน่วยอนุพันธ์เอสไอ]] ([[SI]]) ซึ่งเป็นหน่วยของค่า[[ความถี่]] โดย 1 Hz คือ ความถี่ที่เท่ากับ 1 ครั้ง ต่อวินาที (1/s) หรือ :<math>1 Hz = 1/S</math> ดังนั้น 50 Hz หมายถึงมีความถี่เท่ากับ 50 ครั้งต่อ 1 วินาที<ref>"hertz". (1992). ''American Heritage Dictionary of the English Language'', 3rd ed. Boston: Houghton Mifflin.</ref>
 
หน่วยความถี่อื่นๆอื่น ๆ ได้แก่ [[เรเดียน]]ต่อวินาที (radian/second, rad/s) และ [[รอบต่อนาที]] (revolutions per minute, [[RPM]])
 
hertz ชื่อหน่วยเฮิรตซ์มาจากชื่อนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ชื่อ [[ไฮน์ริช เฮิร์ตซ์]] (Heinrich Rudolf Hertz) เป็นนักวิทยาศาสตร์ทางด้าน [[แม่เหล็กไฟฟ้า]]
 
หน่วย hertz เฮิรตซ์ได้กำหนดครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2473]] (ค.ศ. 1930) แล้วเริ่มมาใช้แทน หน่วย รอบต่อวินาที (cycles per second หรือ cps) ในปี พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ต่อมาในปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) หน่วย Hz ได้ใช้ทดแทนการใช้ cps แทบทั้งหมด
 
== หน่วยพหุคูณ ==
บรรทัด 16:
| symbol = Hz
| unit = เฮิรตซ์
| note = หน่วยที่นิยมใช้แสดงเป็น'''ตัวหนา'''
| k = |M=|G=
}}